ศาลชั้นต้น พิพากษา ให้ จำเลย คืน เงิน 990 บาท แก่ โจทก์ พร้อมดอกเบี้ย คำขอ อื่น ให้ ยก ศาลอุทธรณ์ พิพากษา แก้ ให้ เพิกถอน การประเมิน ตาม แบบ แจ้ง การ ประเมิน ภาษี โรงเรือน เกี่ยวกับ รายการ ที่1 ถึง รายการ ที่ 5 และ ให้ เพิกถอน คำ ชี้ขาด ของ จำเลย ที่ 2เกี่ยวกับ รายการ ดังกล่าว ด้วย ให้ จำเลย ทั้ง สอง ร่วมกัน คืน เงินภาษี 28,480 บาท แก่ โจทก์ ภายใน 3 เดือน นับแต่ วัน พิพากษา หากไม่ ชำระ ภายใน กำหนด ให้ เสีย ดอกเบี้ย ร้อยละ เจ็ดครึ่ง ต่อ ปีนับแต่ วันพ้น กำหนด 3 เดือน เป็นต้น ไป จน ถึง วัน ชำระ เสร็จจำเลย ทั้ง สอง ฎีกา
ศาลฎีกา วินิจฉัย ข้อกฎหมาย ว่า 'ข้อเท็จจริง ฟัง ได้ ใน เบื้องต้นว่า โจทก์ เป็น บริษัท จำกัด ทำ การ ผลิต ปูนซิเมนต์ ออก จำหน่ายโดย โรงงาน ของ โจทก์ อยู่ ใน ต่างจังหวัด เมื่อ โจทก์ ผลิต ปูนซิเมนต์ขึ้น แล้ว ก็ ส่ง ปูนซิเมนต์ ผง บางส่วน มา ทำ การ บรรจุ ลง ถุง ที่กรุงเทพมหานคร โดย ลำเลียง ทาง รถไฟ มา ทำ การ บรรจุ ที่ โรงงาน ของโจทก์ ที่ ย่าน พหลโยธิน โรงงาน ของ โจทก์ ที่ ทำ การ บรรจุ ปูนซิเมนต์ลง ถุง นั้น ประกอบ ด้วย 1. ตึก อาคาร เครื่องจักร โรงรับ ปูนซิเมนต์ผง ทาง รถไฟ ซึ่ง เป็น ตึก 5 ชั้น 2. ตึก อาคาร เครื่องจักร โรงห่อปูนซิเมนต์ ถุง ซึ่ง เป็น ตึก 5 ชั้น เช่นกัน 3. ตึก อาคาร เครื่องจักรจ่าย ปูนซิเมนต์ ถุง ทาง รถยนต์ ซึ่ง เป็น ตึก 3 ชั้น 4. ตึก อาคารเครื่องจักร ไซโล ปูน ผง เป็น ตึก ชั้น เดียว 5. ตึก อาคาร เครื่องชั่ง ซึ่ง เป็น ตึก ชั้น เดียว เช่นกัน โดยเฉพาะ ตึก ตาม รายการ ข้อ 1ถึง ข้อ 4 นั้น อยู่ ติดต่อ กัน โดย ครั้งแรก จะ นำ ปูนซิเมนต์ ผงบรรทุก รถไฟ มา จาก ต่างจังหวัด แล้ว ใช้ เครื่องจักร ดูด ปูนซิเมนต์ผง จาก รถไฟ ผ่าน เข้า มา ใน อาคาร ตาม รายการ ข้อ 1 แล้ว ส่ง ไป เก็บไว้ ใน อาคาร เครื่องจักร ไซโล ปูน ผง ใน รายการ ข้อ 4 ต่อจาก นั้นก็ ส่ง ปูน ผง ไป ทำ การ บรรจุ ถุง ที่ อาคาร เครื่องจักร โรงห่อปูนซิเมนต์ ถุง ใน รายการ ข้อ 2 เมื่อ บรรจุ ถุง เรียบร้อย แล้ว ก็ส่ง ไป ยัง อาคาร เครื่องจักร จ่าย ปูนซิเมนต์ ถุง ใน รายการ ข้อ 3เพื่อ ให้ ลูกค้า มา รับ ไป ใน อาคาร ตาม รายการ ข้อ 1 ถึง ข้อ 5นั้น ล้วน ติดตั้ง เครื่องจักร กลไก ต่างๆ ทุก อาคาร โดยเฉพาะ ใน อาคารรายการ ข้อ 1 ถึง ข้อ 4 นั้น เครื่องจักร ทำงาน ต่อเนื่อง กัน
จำเลย ฎีกา ข้อแรก ว่า อาคาร ของ โจทก์ ใน รายการ ข้อ 1 ถึง ข้อ 5นั้น ไม่ ใช่ โรงงาน ผลิต สินค้า เพราะ ไม่ ได้ ติดตั้ง เครื่องจักรประเภท เครื่อง กระทำ หรือ เครื่อง กำเนิด สินค้า แต่ อย่างใด เป็นเพียง โรงงาน บรรจุ สินค้า เท่านั้น ไม่ ได้ รับ ลดหย่อน ค่า รายปีลง เหลือ 1 ใน 3 ดัง ที่ บัญญัติ ไว้ ใน มาตรา 13 แห่ง พระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน พ.ศ. 2475 ศาลฎีกา พิเคราะห์ แล้ว พระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน พ.ศ. 2475 มาตรา 13 บัญญัติ ว่า 'ถ้า เจ้าของโรงเรือน ใด ติดตั้ง ส่วนควบ ที่ สำคัญ มี ลักษณะ เป็น เครื่องจักรกลไก เครื่อง กระทำ หรือ เครื่อง กำเนิด สินค้า เพื่อ ใช้ ดำเนินการอุตสาหกรรม บางอย่าง เช่น โรงสี โรงเลื่อยฯลฯ' ขึ้น ใน โรงเรือน นั้นๆใน การ ประเมิน ท่าน ให้ ลด ค่า รายปี ลง เหลือ หนึ่ง ใน สาม ของค่า รายปี ของ ทรัพย์สิน นั้น รวม ทั้ง ส่วนควบ ดังกล่าว แล้ว ด้วย'ตาม บท บัญญัติ แห่ง กฎหมาย ดังกล่าว หมายความ ว่า ถ้า โรงเรือน ใดติดตั้ง เครื่องจักร กลไก เป็น ส่วนควบ ที่ สำคัญ เพื่อ ใช้ ดำเนินการอุตสาหกรรม ก็ ได้ รับ ลดหย่อน ค่า รายปี ลง เหลือ 1 ใน 3 โดยเครื่องจักร กลไก ที่ นำ มา ติดตั้ง นั้น หา จำเป็น ต้อง เป็น เครื่องกระทำ หรือ เครื่อง กำเนิด สินค้า ด้วย ไม่ โรงเรือน ของ โจทก์ รายการที่ 1 ถึง ที่ 5 นั้น ไม่ ใช่ โรงเรือน ธรรมดา แต่ เป็น โรงเรือน ที่ติดตั้ง เครื่องจักร กลไก ต่างๆ เป็น โรงงาน สำหรับ บรรจุ ปูนซิเมนต์ถุง ถึงแม้ โรงงาน ของ โจทก์ แห่ง นี้ จะ มิได้ ติดตั้ง เครื่องจักรประเภท ใน การ ปฏิบัติ หน้าที่ เวรยาม เพื่อ ประโยชน์ ใน การ ประกอบอุตสาหกรรม ของ โจทก์ ถือ ไม่ ได้ ว่า เป็น โรงเรือน ซึ่ง เจ้าของอยู่ เอง หรือ ให้ ผู้แทน อยู่ เฝ้า รักษา ตาม ความหมาย ของ มาตรา 10เช่นกัน ฉะนั้น โรงเรือน รายการ ที่ 6 และ ที่ 7 จึง ไม่ ได้ รับงดเว้น ภาษี โรงเรือน ที่ ศาลล่าง ทั้ง สอง วินิจฉัย ว่า โรงเรือนรายการ ที่ 6 และ ที่ 7 เป็น โรงเรือน ที่ ได้ รับ งดเว้น ภาษี โรงเรือนนั้น ไม่ ต้อง ด้วย ความ เห็น ของ ศาลฎีกา ฎีกา จำเลย ข้อ นี้ ฟัง ขึ้น
สำหรับ โรงเรือน ตาม รายการ ที่ 1 ถึง ที่ 5 ซึ่ง ได้ รับ ลดหย่อนค่า รายปี ลง เหลือ 1 ใน 3 นั้น โจทก์ จะ ต้อง เสีย ภาษี โรงเรือนเป็น เงิน 14,240 บาท แต่ พนักงาน เก็บ ภาษี ของ จำเลย ที่ 1 ได้เรียก เก็บ ไป เป็น เงิน 42,720 บาท จึง ต้อง คืน ให้ แก่ โจทก์28,480 บาท'
พิพากษา แก้ เป็น ว่า ให้ ยกฟ้อง โจทก์ เฉพาะ โรงเรือน รายการ ที่6 และ 7 ค่า ฤชาธรรมเนียม ใน ชั้น ฎีกา ให้ เป็น พับ นอกจาก ที่ แก้คง ให้ เป็น ไป ตาม คำพิพากษา ศาลอุทธรณ์