พบผลลัพธ์ทั้งหมด 51 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1415/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พินัยกรรมฉบับหลังมีผลเพิกถอนพินัยกรรมฉบับแรกบางส่วน ผู้จัดการมรดกต้องรับผิดต่อทายาทตามกฎหมาย
การแสดงเจตนาที่จะเป็นพินัยกรรมได้ จะต้องมีลักษณะเป็นคำสั่ง คำสั่งนั้นเป็นคำสั่งครั้งสุดท้ายกำหนดการเผื่อตายในเรื่องทรัพย์สินของบุคคลนั้น และในการต่างๆ อันจะให้เกิดเป็นผลบังคับได้ตามกฎหมายเมื่อตนตาย
เจ้ามรดกมีหนังสือถึงโจทก์ซึ่งเป็นบุตร แจ้งให้ทราบว่าตนทำพินัยกรรมลับไว้ที่อำเภอในหนังสือระบุว่า ห้ามมิให้จำเลยขายที่นา และห้ามมิให้จำเลยออกเงินส่วนตัวทำศพเจ้ามรดก มิให้นาตกเป็นของจำเลย ให้แบ่งนาให้โจทก์คนละ 5 ไร่ เหลือจากแบ่งห้ามมิให้จำเลยขายเอาเงินทำศพเจ้ามรดก และไม่ให้นาส่วนที่เหลือตกเป็นของจำเลย เงินสด 10,000 บาท ถ้าทำศพเจ้ามรดกแล้วมีเงินเหลือมอบให้โจทก์ไป ให้โจทก์เป็นผู้เก็บค่าเช่านา ตอนท้ายของหนังสือมีความต่อไปว่า ถ้าจำเลยไม่ปฏิบัติตามจดหมายนี้ ก็ให้โจทก์ไปร้องเรียนนายอำเภอ ขอให้นายอำเภอถอนพินัยกรรมลับด้วย ดังนี้ เอกสารหนังสือของเจ้ามรดกเป็นพินัยกรรม และเข้าแบบพินัยกรรมตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1657 เพราะเจ้ามรดกเขียนเองทั้งฉบับ มีผลเป็นการเพิกถอนพินัยกรรมลับของเจ้ามรดกซึ่งทำไว้ฉบับแรกบางส่วนตามมาตรา 1694
คดีที่มีจำเลยเป็นผู้จัดการมรดก โจทก์ซึ่งเป็นทายาทฟ้องเรียกทรัพย์มรดกของเจ้ามรดกจากจำเลย จำเลยจะยกอายุความมรดก 1 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1754 ขึ้นต่อสู้โจทก์หาได้ไม่ เพราะกฎหมายบัญญัติเรื่องอายุความเกี่ยวกับการจัดการมรดกที่ผู้จัดการมรดกจะต้องรับผิดต่อทายาทไว้โดยเฉพาะแล้วตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1733 วรรค 2 ซึ่งมีกำหนด 5 ปี จำเลยมีสิทธิยกอายุความ 5 ปีนี้เท่านั้นขึ้นต่อสู้โจทก์
จำเลยมิใช่บุคคลภายนอก แต่เป็นผู้จัดการมรดก ต้องถือว่าจำเลยยึดถือที่นามรดกไว้แทนโจทก์ซึ่งเป็นทายาท จำเลยจะอ้างสิทธิว่าได้แย่งการครอบครองจากโจทก์มิได้ จะนำประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1375 มาใช้บังคับไม่ได้
เจ้ามรดกมีหนังสือถึงโจทก์ซึ่งเป็นบุตร แจ้งให้ทราบว่าตนทำพินัยกรรมลับไว้ที่อำเภอในหนังสือระบุว่า ห้ามมิให้จำเลยขายที่นา และห้ามมิให้จำเลยออกเงินส่วนตัวทำศพเจ้ามรดก มิให้นาตกเป็นของจำเลย ให้แบ่งนาให้โจทก์คนละ 5 ไร่ เหลือจากแบ่งห้ามมิให้จำเลยขายเอาเงินทำศพเจ้ามรดก และไม่ให้นาส่วนที่เหลือตกเป็นของจำเลย เงินสด 10,000 บาท ถ้าทำศพเจ้ามรดกแล้วมีเงินเหลือมอบให้โจทก์ไป ให้โจทก์เป็นผู้เก็บค่าเช่านา ตอนท้ายของหนังสือมีความต่อไปว่า ถ้าจำเลยไม่ปฏิบัติตามจดหมายนี้ ก็ให้โจทก์ไปร้องเรียนนายอำเภอ ขอให้นายอำเภอถอนพินัยกรรมลับด้วย ดังนี้ เอกสารหนังสือของเจ้ามรดกเป็นพินัยกรรม และเข้าแบบพินัยกรรมตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1657 เพราะเจ้ามรดกเขียนเองทั้งฉบับ มีผลเป็นการเพิกถอนพินัยกรรมลับของเจ้ามรดกซึ่งทำไว้ฉบับแรกบางส่วนตามมาตรา 1694
คดีที่มีจำเลยเป็นผู้จัดการมรดก โจทก์ซึ่งเป็นทายาทฟ้องเรียกทรัพย์มรดกของเจ้ามรดกจากจำเลย จำเลยจะยกอายุความมรดก 1 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1754 ขึ้นต่อสู้โจทก์หาได้ไม่ เพราะกฎหมายบัญญัติเรื่องอายุความเกี่ยวกับการจัดการมรดกที่ผู้จัดการมรดกจะต้องรับผิดต่อทายาทไว้โดยเฉพาะแล้วตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1733 วรรค 2 ซึ่งมีกำหนด 5 ปี จำเลยมีสิทธิยกอายุความ 5 ปีนี้เท่านั้นขึ้นต่อสู้โจทก์
จำเลยมิใช่บุคคลภายนอก แต่เป็นผู้จัดการมรดก ต้องถือว่าจำเลยยึดถือที่นามรดกไว้แทนโจทก์ซึ่งเป็นทายาท จำเลยจะอ้างสิทธิว่าได้แย่งการครอบครองจากโจทก์มิได้ จะนำประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1375 มาใช้บังคับไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1415/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พินัยกรรมฉบับหลังมีผลเพิกถอนพินัยกรรมฉบับก่อน ผู้จัดการมรดกต้องรับผิดต่อทายาทตามกฎหมาย
การแสดงเจตนาที่จะเป็นพินัยกรรมได้ จะต้องมีลักษณะเป็นคำสั่ง คำสั่งนั้นเป็นคำสั่งครั้งสุดท้ายกำหนดการเผื่อตายในเรื่องทรัพย์สินของบุคคลนั้น และในการต่าง ๆ อันจะให้เกิดเป็นผลบังคับได้ตามกฎหมายเมื่อคนตาย
เจ้ามรดกมีหนังสือถึงโจทก์ซึ่งเป็นบุตร แจ้งให้ทราบว่าตนทำพินัยกรรมลับไว้ที่อำเภอในหนังสือระบุว่า ห้ามมิให้จำเลยขายที่นา และห้ามมิให้จำเลยออกเงินส่วนตัวทำศพเจ้ามรดก มิให้นาตกเป็นของจำเลย ให้แบ่งนาให้โจทก์คนละ 5 ไร่ เหลือจากแบ่งห้ามมิให้จำเลยขายเอาเงินทำศพเจ้ามรดก และไม่ให้นาส่วนที่เหลือตกเป็นของจำเลย เงินสด 10,000 บาท ถ้าทำศพเจ้ามรดกแล้วมีเงินเหลือมอบให้โจทก์ไป ให้โจทก์เป็นผู้เก็บค่าเช่านา ตอนท้ายของหนังสือมีความต่อไปว่า ถ้าจำเลยไม่ปฏิบัติตามจดหมายนี้ ก็ให้โจทก์ไปร้องเรียนนายอำเภอ ขอให้นายอำเภอถอนพินัยกรรมลับด้วย ดังนี้ เอกสารหนังสือของเจ้ามรดกเป็นพินัยกรรม และเข้าแบบพินัยกรรมตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1657 เพราะเจ้ามรดกเขียนเองทั้งฉบับ มีผลเป็นการเพิกถอนพินัยกรรมลับของเจ้ามรดกซึ่งทำไว้ฉบับแรกบางส่วนตามมาตรา 1694
คดีที่มีจำเลยเป็นผู้จัดการมรดก โจทก์ซึ่งเป็นทายาทฟ้องเรียกทรัพย์มรดกของเจ้ามรดกจากจำเลย จำเลยจะยกอายุความมรดก 1 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754 ขึ้นต่อสู้โจทก์หาได้ไม่ เพราะกฎหมายบัญญัติเรื่องอายุความเกี่ยวกับการจัดการมรดกที่ผู้จัดการมรดกจะต้องรับผิดต่อทายาทไว้โดยเฉพาะแล้วตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1733 วรรค 2 ซึ่งมีกำหนด 5 ปี จำเลยมีสิทธิยกอายุความ 5 ปีที่นี้เท่านั้นขึ้นต่อสู้โจทก์
จำเลยมิใช่บุคคลภายนอก แต่เป็นผู้จัดการมรดก ต้องถือว่าจำเลยยึดถือที่นามรดกไว้แทนโจทก์ซึ่งเป็นทายาท จำเลยจะอ้างสิทธิว่าได้แย่งการครอบครองจากโจทก์มิได้ จะนำประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1375 มาใช้บังคับไม่ได้
เจ้ามรดกมีหนังสือถึงโจทก์ซึ่งเป็นบุตร แจ้งให้ทราบว่าตนทำพินัยกรรมลับไว้ที่อำเภอในหนังสือระบุว่า ห้ามมิให้จำเลยขายที่นา และห้ามมิให้จำเลยออกเงินส่วนตัวทำศพเจ้ามรดก มิให้นาตกเป็นของจำเลย ให้แบ่งนาให้โจทก์คนละ 5 ไร่ เหลือจากแบ่งห้ามมิให้จำเลยขายเอาเงินทำศพเจ้ามรดก และไม่ให้นาส่วนที่เหลือตกเป็นของจำเลย เงินสด 10,000 บาท ถ้าทำศพเจ้ามรดกแล้วมีเงินเหลือมอบให้โจทก์ไป ให้โจทก์เป็นผู้เก็บค่าเช่านา ตอนท้ายของหนังสือมีความต่อไปว่า ถ้าจำเลยไม่ปฏิบัติตามจดหมายนี้ ก็ให้โจทก์ไปร้องเรียนนายอำเภอ ขอให้นายอำเภอถอนพินัยกรรมลับด้วย ดังนี้ เอกสารหนังสือของเจ้ามรดกเป็นพินัยกรรม และเข้าแบบพินัยกรรมตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1657 เพราะเจ้ามรดกเขียนเองทั้งฉบับ มีผลเป็นการเพิกถอนพินัยกรรมลับของเจ้ามรดกซึ่งทำไว้ฉบับแรกบางส่วนตามมาตรา 1694
คดีที่มีจำเลยเป็นผู้จัดการมรดก โจทก์ซึ่งเป็นทายาทฟ้องเรียกทรัพย์มรดกของเจ้ามรดกจากจำเลย จำเลยจะยกอายุความมรดก 1 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754 ขึ้นต่อสู้โจทก์หาได้ไม่ เพราะกฎหมายบัญญัติเรื่องอายุความเกี่ยวกับการจัดการมรดกที่ผู้จัดการมรดกจะต้องรับผิดต่อทายาทไว้โดยเฉพาะแล้วตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1733 วรรค 2 ซึ่งมีกำหนด 5 ปี จำเลยมีสิทธิยกอายุความ 5 ปีที่นี้เท่านั้นขึ้นต่อสู้โจทก์
จำเลยมิใช่บุคคลภายนอก แต่เป็นผู้จัดการมรดก ต้องถือว่าจำเลยยึดถือที่นามรดกไว้แทนโจทก์ซึ่งเป็นทายาท จำเลยจะอ้างสิทธิว่าได้แย่งการครอบครองจากโจทก์มิได้ จะนำประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1375 มาใช้บังคับไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 377/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนายกทรัพย์เมื่อตายแล้ว คำว่า 'พินัยกรรม' แสดงเจตนาชัดเจน เอกสารเข้าลักษณะพินัยกรรมตามกฎหมาย
การที่เจ้ามรดกใช้คำว่า 'ขอทำพินัยกรรม' ตามความเข้าใจของสามัญชนทั่วไปย่อมเข้าใจว่าเจตนาจะยกทรัพย์สมบัติให้เมื่อเจ้ามรดกตายแล้วการยกทรัพย์ให้เมื่อยังมีชีวิตอยู่ สามัญชนทั่วไปย่อมไม่ใช้คำว่า พินัยกรรม ทั้งเอกสารก็ไม่มีข้อความที่มุ่งแสดงไปในทางอื่นเช่น ตั้งใจยกทรัพย์ให้ตั้งแต่เจ้ามรดกมีชีวิตอยู่ ข้อความในเอกสารจึงแสดงเจตนาของเจ้ามรดกไปในทางเดียวว่า ให้ยกทรัพย์ให้แก่ผู้มีชื่อตามเอกสารเมื่อเจ้ามรดกตายแล้วเอกสารดังกล่าวจึงเข้าลักษณะพินัยกรรมตามกฎหมาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 377/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนายกทรัพย์เมื่อตายแล้ว คำว่า 'ขอทำพินัยกรรม' เข้าลักษณะพินัยกรรมตามกฎหมาย
การที่เจ้ามรดกใช้คำว่า "ขอทำพินัยกรรม" ตามความเข้าใจของสามัญชนทั่วไป ย่อมเข้าใจว่าเจตนาจะยกทรัพย์สมบัติให้เมื่อเจ้ามรดกตายแล้ว การยกทรัพย์ให้เมื่อยังมีชีวิตอยู่ สามัญชนทั่วไปย่อมไม่ใช้คำว่า พินัยกรรม ทั้งเอกสารก็ไม่มีข้อความที่มุ่งแสดงไปในทางอื่น เช่น ตั้งใจยกทรัพย์ให้ตั้งแต่เจ้ามรดกมีชีวิตอยู่ ข้อความในเอกสารจึงแสดงเจตนาของเจ้ามรดกไปในทางเดียวว่า ให้ยกทรัพย์ให้แก่ผู้มีชื่อตามเอกสารเมื่อเจ้ามรดกตายแล้ว เอกสารดังกล่าวจึงเข้าลักษณะพินัยกรรมตามกฎหมาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 953/2505 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาประนีประนอมยอมความ: ทรัพย์ตกเป็นของอีกฝ่ายเมื่อตาย พินัยกรรมยกทรัพย์ให้ผู้อื่นเป็นโมฆะ
สัญญาประนีประนอมยอมความที่ผู้มีชื่อคนหนึ่งกับจำเลยตกลงเป็นเจ้าของทรัพย์พิพาทร่วมกัน ใครตายก่อนให้ตกเป็นของอีกคนหนึ่งนั้น เป็นสัญญาที่ก่อให้เกิดหนี้โดยมีเงื่อนไขและเป็นสัญยาต่างตอบแทน ฉะนั้น เมื่อผู้มีชื่อตายทรัพย์พิพาทย่อมตกเป็นของจำเลย ผู้มีชื่อที่ตายจะทำพินัยกรรมทรัพย์นั้นให้คนอื่นอีกไม่ได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 953/2505
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาประนีประนอมยอมความมีผลผูกพันเหนือพินัยกรรมเมื่อสัญญาระบุการตกเป็นเจ้าของทรัพย์หลังตาย
สัญญาประนีประนอมยอมความที่ผู้มีชื่อคนหนึ่งกับจำเลยตกลงเป็นเจ้าของทรัพย์พิพาทร่วมกันใครตายก่อนให้ตกเป็นของอีกคนหนึ่งนั้นเป็นสัญญาที่ก่อให้เกิดหนี้โดยมีเงื่อนไขและเป็นสัญญาต่างตอบแทนฉะนั้น เมื่อผู้มีชื่อตาย ทรัพย์พิพาทย่อมตกเป็นของจำเลย ผู้มีชื่อที่ตายจะไปทำพินัยกรรมยกทรัพย์นั้นให้คนอื่นอีกไม่ได้
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 22/2504)
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 22/2504)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 81/2503 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิสูจน์พินัยกรรมปลอม สิทธิรับมรดกของบุตรนอกกฎหมายที่ได้รับการรับรอง
โจทก์อ้างว่า ผู้วายชนม์ได้ทำพินัยกรรมยกทรัพย์มรดกให้แก่โจทก์ จำเลยต่อสู้ว่า พินัยกรรมนั้นปลอม เช่นนี้ เป็นหน้าที่ของโจทก์จะต้องนำสืบให้ได้ความว่า พินัยกรรมที่อ้างนี้ไม่ปลอม
การเชื่อฟังพยานหลักฐานในข้อที่ว่าลายมือชื่อในพินัยกรรมเป็นลายมือ ชื่ออันแท้จริงของผู้ทำพินัยกรรมหรือไม่ นั้น ตามปกติควรเชื่อคำประจักษ์พยานยิ่งกว่าคำผู้เชี่ยวชาญ การพิสูจน์หลักฐาน เพราะประจักษ์พยานเป็นผู้ได้ยินกับหูเห็นด้วยตาของตนเอง ทั้งนี้ ต้องคำนึงถึงเหตุผลต่าง ๆ ประกอบให้พอเชื่อฟังได้ด้วย
การเชื่อฟังพยานหลักฐานในข้อที่ว่าลายมือชื่อในพินัยกรรมเป็นลายมือ ชื่ออันแท้จริงของผู้ทำพินัยกรรมหรือไม่ นั้น ตามปกติควรเชื่อคำประจักษ์พยานยิ่งกว่าคำผู้เชี่ยวชาญ การพิสูจน์หลักฐาน เพราะประจักษ์พยานเป็นผู้ได้ยินกับหูเห็นด้วยตาของตนเอง ทั้งนี้ ต้องคำนึงถึงเหตุผลต่าง ๆ ประกอบให้พอเชื่อฟังได้ด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 81/2503
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิสูจน์พินัยกรรมปลอมและสิทธิรับมรดกของบุตรนอกกฎหมายที่ได้รับการรับรอง
โจทก์อ้างว่า ผู้วายชนม์ได้ทำพินัยกรรมยกทรัพย์มรดกให้แก่โจทก์จำเลยต่อสู้ว่าพินัยกรรมนั้นปลอมเช่นนี้เป็นหน้าที่ของโจทก์จะต้องนำสืบให้ได้ความว่า พินัยกรรมที่อ้างนี้ไม่ปลอม
การเชื่อฟังพยานหลักฐานในข้อที่ว่าลายมือชื่อในพินัยกรรมเป็นลายมือชื่ออันแท้จริงของผู้ทำพินัยกรรมหรือไม่นั้น ตามปกติควรเชื่อคำประจักษ์พยานยิ่งกว่าคำผู้เชี่ยวชาญการพิสูจน์หลักฐานเพราะประจักษ์พยานเป็นผู้ได้ยินกับหูเห็นด้วยตาของตนเองทั้งนี้ ต้องคำนึงถึงเหตุผลต่างๆประกอบให้พอเชื่อฟังได้ด้วย
การเชื่อฟังพยานหลักฐานในข้อที่ว่าลายมือชื่อในพินัยกรรมเป็นลายมือชื่ออันแท้จริงของผู้ทำพินัยกรรมหรือไม่นั้น ตามปกติควรเชื่อคำประจักษ์พยานยิ่งกว่าคำผู้เชี่ยวชาญการพิสูจน์หลักฐานเพราะประจักษ์พยานเป็นผู้ได้ยินกับหูเห็นด้วยตาของตนเองทั้งนี้ ต้องคำนึงถึงเหตุผลต่างๆประกอบให้พอเชื่อฟังได้ด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1513/2495 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พินัยกรรมที่แก้ไขโดยการขีดฆ่าและการเขียนใหม่ ยังสมบูรณ์หากไม่เปลี่ยนแปลงเจตนาเดิม
เอกสารที่มีข้อความว่าผู้ยกทรัพย์สินยอมยกให้เป็นกรรมสิทธิแก่ผู้ใดผู้หนึ่ง ต่อเมื่อผู้ให้วายชนม์ และผู้รับได้ทำการณาปนกิจผู้ให้เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ดังนี้ ย่อมถือได้ว่าเป็นพินัยกรรม์
ในพินัยกรรม์ แม้จะมีการขีดฆ่าถ้อยคำบางตอนออก โดยผู้เขียนเซ็นชื่อกำกับที่ข้างกระดาษเอง ผู้ทำพินัยกรรม์มิได้ลงลายมือชื่อกำกับด้วยนั้น ถ้าเป็นที่เห็นได้ชัดว่าผู้เขียน เขียนพลาดไปจึงได้ขีดฆ่าคำที่กล่าวนั้นออก เอามาเขียนไว้ในข้อต่อมา จะขีดฆ่าคำที่เขียนไว้ออกเสียดังกล่าวแล้วหรือจะไม่ขีดฆ่าออกก็ตาม หากระทำให้ข้อความ ในพินัยกรรมนั้นเปลี่ยนแปลงไปแต่ประการใดไม่ดังนี้ ย่อมไม่เป็นเหตุทำให้พินัยกรรมนั้นไม่สมบูรณ์แต่อย่างใด หากจะว่าไม่สมบูรณ์ ก็ไม่สมบูรณ์เฉพาะข้อความที่ขีดฆ่าออกดังกล่าวเท่านั้น
ในพินัยกรรม์ แม้จะมีการขีดฆ่าถ้อยคำบางตอนออก โดยผู้เขียนเซ็นชื่อกำกับที่ข้างกระดาษเอง ผู้ทำพินัยกรรม์มิได้ลงลายมือชื่อกำกับด้วยนั้น ถ้าเป็นที่เห็นได้ชัดว่าผู้เขียน เขียนพลาดไปจึงได้ขีดฆ่าคำที่กล่าวนั้นออก เอามาเขียนไว้ในข้อต่อมา จะขีดฆ่าคำที่เขียนไว้ออกเสียดังกล่าวแล้วหรือจะไม่ขีดฆ่าออกก็ตาม หากระทำให้ข้อความ ในพินัยกรรมนั้นเปลี่ยนแปลงไปแต่ประการใดไม่ดังนี้ ย่อมไม่เป็นเหตุทำให้พินัยกรรมนั้นไม่สมบูรณ์แต่อย่างใด หากจะว่าไม่สมบูรณ์ ก็ไม่สมบูรณ์เฉพาะข้อความที่ขีดฆ่าออกดังกล่าวเท่านั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1513/2495
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พินัยกรรม: การขีดฆ่าแก้ไขและการสมบูรณ์ของพินัยกรรม
เอกสารที่มีข้อความว่าผู้ยกทรัพย์สินยอมยกให้เป็นกรรมสิทธิ์แก่ผู้ใดผู้หนึ่ง ต่อเมื่อผู้ให้วายชนม์ และผู้รับได้ทำการฌาปนกิจผู้ให้เป็นที่เรียบร้อยแล้วดังนี้ ย่อมถือได้ว่าเป็นพินัยกรรม
ในพินัยกรรม แม้จะมีการขีดฆ่าถ้อยคำบางตอนออก โดยผู้เขียนเซ็นชื่อกำกับที่ข้างกระดาษเอง ผู้ทำพินัยกรรมมิได้ลงลายมือชื่อกำกับด้วยนั้น ถ้าเป็นที่เห็นได้ชัดว่าผู้เขียนเขียนพลาดไปจึงได้ขีดฆ่าคำที่กล่าวนั้นออกเอามาเขียนไว้ในข้อต่อมา จะขีดฆ่าคำที่เขียนไว้ออกเสียดังกล่าวแล้วหรือจะไม่ขีดฆ่าออกก็ตามหากระทำให้ข้อความในพินัยกรรมนั้นเปลี่ยนแปลงไปแต่ประการใดไม่ดังนี้ ย่อมไม่เป็นเหตุทำให้พินัยกรรมนั้นไม่สมบูรณ์แต่อย่างใด หากจะว่าไม่สมบูรณ์ ก็ไม่สมบูรณ์เฉพาะข้อความที่ขีดฆ่าออกดังกล่าวเท่านั้น
ในพินัยกรรม แม้จะมีการขีดฆ่าถ้อยคำบางตอนออก โดยผู้เขียนเซ็นชื่อกำกับที่ข้างกระดาษเอง ผู้ทำพินัยกรรมมิได้ลงลายมือชื่อกำกับด้วยนั้น ถ้าเป็นที่เห็นได้ชัดว่าผู้เขียนเขียนพลาดไปจึงได้ขีดฆ่าคำที่กล่าวนั้นออกเอามาเขียนไว้ในข้อต่อมา จะขีดฆ่าคำที่เขียนไว้ออกเสียดังกล่าวแล้วหรือจะไม่ขีดฆ่าออกก็ตามหากระทำให้ข้อความในพินัยกรรมนั้นเปลี่ยนแปลงไปแต่ประการใดไม่ดังนี้ ย่อมไม่เป็นเหตุทำให้พินัยกรรมนั้นไม่สมบูรณ์แต่อย่างใด หากจะว่าไม่สมบูรณ์ ก็ไม่สมบูรณ์เฉพาะข้อความที่ขีดฆ่าออกดังกล่าวเท่านั้น