พบผลลัพธ์ทั้งหมด 52 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 623/2519 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องผู้เยาว์ & การขาดไร้อุปการะจากละเมิดของผู้อื่น: ศาลแก้ไขความสามารถ/พิจารณาค่าเสียหายได้
โจทก์ที่ 4 เกิดเมื่อ พ.ศ. 2495 เมื่อไม่ปรากฏว่าเกิดวันใด ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 16 บัญญัติให้นับอายุตั้งแต่วันต้นแห่งปีปฏิทินหลวงซึ่งเป็นปีที่เกิด จึงต้องถือว่าโจทก์ที่ 4 เกิดเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2495 เมื่อนับถึงวันเกิดเหตุโจทก์ที่ 4 ยังเป็นผู้เยาว์ จึงมีอำนาจฟ้องเรียกค่าสินไหมทดแทนที่ต้องขาดไร้อุปการะ ขณะฟ้องคดีโจทก์ทั้ง 4 เป็นผู้เยาว์ ก็เป็นเพียงบกพร่องในเรื่องความสามารถ ซึ่งศาลมีอำนาจไต่สวนและแก้ไขให้บริบูรณ์ได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 56 มิใช่ไม่มีอำนาจฟ้อง
เมื่อคดีอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาลฎีกา โจทก์ที่ 4 ผู้เยาว์บรรลุนิติภาวะแล้ว จึงไม่มีเหตุที่ศาลฎีกาจะต้องแก้ไขข้อบกพร่องในเรื่องความสามารถอีก และถือได้ว่าโจทก์ที่ 4 มีอำนาจฟ้องมาแต่ต้น (อ้างฎีกาที่ 1638/2511)
เรื่องอำนาจปกครองตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1537 วรรค 2 นั้นเป็นเรื่องหนึ่ง และเรื่องการอุปการะเลี้ยงดูก็เป็นอีกเรื่องหนึ่ง ซึ่งตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1536 ไม่ใช่แต่เพียงบิดาเท่านั้นที่มีหน้าที่อุปการะเลี้ยงดูบุตร มารดาก็มีหน้าที่เช่นเดียวกัน
การขาดไร้อุปการะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 443 วรรค 3 หมายถึงการขาดสิทธิในอันที่จะได้รับการอุปการะ จำเลยที่ 1 ลูกจ้างของจำเลยที่ 2 กระทำละเมิดในทางการที่จ้าง ทำให้มารดาโจทก์ตาย โจทก์ที่ 4 และที่ 5 ขาดไร้อุปการะตามกฎหมาย จึงชอบที่เรียกค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้นจากจำเลยทั้งสองได้โดยไม่ต้องพิจารณาว่า บิดาโจทก์จะได้อุปการะเลี้ยงดูโจทก์อยู่หรือไม่ (อ้างฎีกาที่ 1742/2499)
การจะให้มีการวินิจฉัยปัญหาใดในคดีเรื่องใดโดยที่ประชุมใหญ่ของศาลฎีกา เป็นอำนาจหน้าที่ของประธานศาลฎีกา คู่ความจะร้องขึ้นมาหาได้ไม่
เมื่อคดีอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาลฎีกา โจทก์ที่ 4 ผู้เยาว์บรรลุนิติภาวะแล้ว จึงไม่มีเหตุที่ศาลฎีกาจะต้องแก้ไขข้อบกพร่องในเรื่องความสามารถอีก และถือได้ว่าโจทก์ที่ 4 มีอำนาจฟ้องมาแต่ต้น (อ้างฎีกาที่ 1638/2511)
เรื่องอำนาจปกครองตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1537 วรรค 2 นั้นเป็นเรื่องหนึ่ง และเรื่องการอุปการะเลี้ยงดูก็เป็นอีกเรื่องหนึ่ง ซึ่งตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1536 ไม่ใช่แต่เพียงบิดาเท่านั้นที่มีหน้าที่อุปการะเลี้ยงดูบุตร มารดาก็มีหน้าที่เช่นเดียวกัน
การขาดไร้อุปการะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 443 วรรค 3 หมายถึงการขาดสิทธิในอันที่จะได้รับการอุปการะ จำเลยที่ 1 ลูกจ้างของจำเลยที่ 2 กระทำละเมิดในทางการที่จ้าง ทำให้มารดาโจทก์ตาย โจทก์ที่ 4 และที่ 5 ขาดไร้อุปการะตามกฎหมาย จึงชอบที่เรียกค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้นจากจำเลยทั้งสองได้โดยไม่ต้องพิจารณาว่า บิดาโจทก์จะได้อุปการะเลี้ยงดูโจทก์อยู่หรือไม่ (อ้างฎีกาที่ 1742/2499)
การจะให้มีการวินิจฉัยปัญหาใดในคดีเรื่องใดโดยที่ประชุมใหญ่ของศาลฎีกา เป็นอำนาจหน้าที่ของประธานศาลฎีกา คู่ความจะร้องขึ้นมาหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2302/2518
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การมีส่วนร่วมในความประมาท และความสามารถในการฟ้องคดีของผู้เยาว์ที่ต้องได้รับความยินยอมจากบิดา
ข้อที่ว่าผู้เสียหายมีส่วนร่วมในการประมาทด้วยหรือไม่ แม้จำเลยจะมิได้ต่อสู้ไว้ในคดีอาญา ก็ไม่ตัดสิทธิจำเลยที่จะยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้ในคดีแพ่ง
ผู้เยาว์ถูกจำเลยขับรถชนได้รับอันตราย มารดาดำเนินคดีแทนผู้เยาว์โดยฟ้องเรียกค่าเสียหาย มิได้ฟ้องในนามของมารดาเองเป็นการส่วนตัว เท่ากับผู้เยาว์เป็นโจทก์ฟ้องคดีนั่นเอง เมื่อผู้เยาว์ยังมิได้รับความยินยอมจากบิดา จึงเป็นการบกพร่องในเรื่องความสามารถตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 56 วรรคสองศาลมีอำนาจสอบสวนในเรื่องความสามารถของคู่แล้วและมีคำสั่งให้แก้ไขข้อบกพร่องได้ หาใช่ว่าฟ้องของโจทก์เสียไป เพราะเป็นการดำเนินคดีโดยผู้ไม่มีอำนาจไม่ การที่ศาลชั้นต้นสั่งให้โจทก์แก้ไขข้อบกพร่องในเรื่องความสามารถจึงชอบแล้ว
(ตามวรรคสอง วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 13/2518)
ผู้เยาว์ถูกจำเลยขับรถชนได้รับอันตราย มารดาดำเนินคดีแทนผู้เยาว์โดยฟ้องเรียกค่าเสียหาย มิได้ฟ้องในนามของมารดาเองเป็นการส่วนตัว เท่ากับผู้เยาว์เป็นโจทก์ฟ้องคดีนั่นเอง เมื่อผู้เยาว์ยังมิได้รับความยินยอมจากบิดา จึงเป็นการบกพร่องในเรื่องความสามารถตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 56 วรรคสองศาลมีอำนาจสอบสวนในเรื่องความสามารถของคู่แล้วและมีคำสั่งให้แก้ไขข้อบกพร่องได้ หาใช่ว่าฟ้องของโจทก์เสียไป เพราะเป็นการดำเนินคดีโดยผู้ไม่มีอำนาจไม่ การที่ศาลชั้นต้นสั่งให้โจทก์แก้ไขข้อบกพร่องในเรื่องความสามารถจึงชอบแล้ว
(ตามวรรคสอง วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 13/2518)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2302/2518 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความสามารถของโจทก์เด็กและสิทธิของจำเลยในการยกประเด็นประมาทร่วมกัน แม้ไม่เคยอ้างในคดีอาญา
ข้อที่ว่าผู้เสียหายมีส่วนรวมในการประมาทด้วยหรือไม่ แม้จำเลยจะมิได้ต่อสู้ไว้ในคดีอาญา ก็ไม่ตัดสิทธิจำเลยที่จะยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้ในคดีแพ่ง
ผู้เยาว์ถูกจำเลยขับรถชนได้รับอันตราย มารดาดำเนินคดีแทนผู้เยาว์โดยฟ้องเรียกค่าเสียหาย มิได้ฟ้องในนามของมารดาเองเป็นการส่วนตัว เท่ากับผู้เยาว์เป็นโจทก์ฟ้องคดีนั่นเอง เมื่อผู้เยาว์ยังมิได้รับความยินยอมจากบิดา จึงเป็นการบกพร่องในเรื่องความสามารถตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 56 วรรคสอง ศาลมีอำนาจสอบสวนในเรื่องความสามารถของคู่ความและมีคำสั่งให้แก้ไขข้อบกพร่องได้ หาใช่ว่าฟ้องของโจทก์เสียไป เพราะเป็นการดำเนินคดีโดยผู้ไม่มีอำนาจไม่ การที่ศาลชั้นต้นสั่งให้โจทก์แก้ไขข้อบกพร่องในเรื่องความสามารถจึงชอบแล้ว
(ตามวรรค 2 วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 13/2518)
ผู้เยาว์ถูกจำเลยขับรถชนได้รับอันตราย มารดาดำเนินคดีแทนผู้เยาว์โดยฟ้องเรียกค่าเสียหาย มิได้ฟ้องในนามของมารดาเองเป็นการส่วนตัว เท่ากับผู้เยาว์เป็นโจทก์ฟ้องคดีนั่นเอง เมื่อผู้เยาว์ยังมิได้รับความยินยอมจากบิดา จึงเป็นการบกพร่องในเรื่องความสามารถตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 56 วรรคสอง ศาลมีอำนาจสอบสวนในเรื่องความสามารถของคู่ความและมีคำสั่งให้แก้ไขข้อบกพร่องได้ หาใช่ว่าฟ้องของโจทก์เสียไป เพราะเป็นการดำเนินคดีโดยผู้ไม่มีอำนาจไม่ การที่ศาลชั้นต้นสั่งให้โจทก์แก้ไขข้อบกพร่องในเรื่องความสามารถจึงชอบแล้ว
(ตามวรรค 2 วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 13/2518)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1616/2518
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจปกครองบุตร: พิจารณาความเหมาะสมของสภาพแวดล้อมและประโยชน์สูงสุดของเด็ก
ตามปกติอำนาจปกครองย่อมอยู่กับบิดาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1537 การที่โจทก์ฟ้องจำเลยซึ่งเป็นภริยาว่า จำเลยทะเลาะกับโจทก์แล้วหนีออกจากบ้านไปอาศัยอยู่ที่อื่น ขอให้บังคับจำเลยให้ส่งบุตรคืนแก่โจทก์ ก็เป็นการฟ้องเพื่อจะใช้อำนาจปกครองนั่นเอง แต่ศาลจะให้อำนาจปกครองอยู่แก่มารดาก็ได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1538(6) หากกรณีส่อแสดงว่าการให้บุตรอยู่กับมารดาจะเป็นการเหมาะสมกว่า(อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 1225/2508) เมื่อได้ความว่าบุตรอายุเพียง2 ปี ยังไร้เดียงสาและได้อยู่กับจำเลยด้วยดีคลอดมา ไม่ปรากฏข้อบกพร่องเสียหาย การให้บุตรอยู่กับจำเลยระยะนี้บุตรจะได้รับความอบอุ่นมากกว่าอยู่กับโจทก์ และจำเลยก็รับว่าไม่รังเกลียดที่จะให้โจทก์เยี่ยมเยียน จึงควรให้บุตรอยู่ในอำนาจปกครองของจำเลยผู้เป็นมารดาไปก่อน หากมีพฤติการณ์เปลี่ยนแปลงไปโจทก์ก็ชอบที่จะเรียกร้องเอาบุตรคืนได้ ชั้นนี้ศาลย่อมพิพากษายกฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2604/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจปกครองและการใช้จ่ายเงินบุตรผู้เยาว์: บิดาใช้อำนาจปกครอง เงินบุตรต้องใช้เพื่อประโยชน์บุตร
บุตรซึ่งยังไม่บรรลุนิติภาวะต้องอยู่ใต้อำนาจปกครองของบิดามารดาแต่อำนาจปกครองโดยแท้จริงคงอยู่ที่บิดา บิดาจึงเป็นผู้ใช้อำนาจปกครองและผู้ใช้อำนาจปกครองเท่านั้นที่มีสิทธิเอาเงินของบุตรมาใช้ได้ตามสมควรตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1545 มารดาหามีสิทธิไม่
บิดาเปิดบัญชีเงินฝากประจำที่ธนาคารให้บุตรผู้เยาว์ โดยมอบหมายให้มารดาเป็นผู้มีอำนาจหน้าที่ถอนเงินจากธนาคารมาใช้จ่ายเพื่อการศึกษาของบุตร แล้วบิดามารดาต่างได้นำเงินเข้าฝากในบัญชีดังกล่าวระคนปนกับเงินได้ของบุตร โดยมีเจตนายกเงินที่นำเข้าฝากนั้นให้แก่บุตรดังนี้ เงินในบัญชีเงินฝากจึงเป็นของบุตรทั้งสิ้น หาใช่เป็นเงินที่บิดามารดาฝากไว้เป็นของตนเอง โดยฝากไว้ในนามของบุตรทำนองลงชื่อบุตรเป็นนามแฝงไม่ แม้จะมีข้อตกลงกับธนาคารว่าผู้ใดจะเป็นผู้ลงชื่อถอนเงินจากธนาคารได้นั้น ก็เป็นเรื่องระเบียบและวิธีการตามธรรมดาของธนาคารซึ่งเป็นอีกเรื่องหนึ่งต่างหาก ทั้งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1545 และ 1546 ก็บัญญัติให้อำนาจและวิธีการแก่ผู้ใช้อำนาจปกครองที่จะนำเงินของบุตรไปใช้จ่ายได้ ย่อมจำเป็นที่จะต้องระบุชื่อผู้มีอำนาจหน้าที่ในการถอนเงินของบุตรจากธนาคารไว้ด้วย มิฉะนั้นจะเกิดความยุ่งยากในกรณีที่จะต้องนำเงินมาใช้จ่ายตามอำนาจ ที่บิดามอบหมายให้มารดาเป็นผู้มีอำนาจหน้าที่ถอนเงินจากธนาคารมาใช้จ่ายเพื่อการศึกษาของบุตรจึงเป็นเรื่องการมอบหมายให้มารดาทำหน้าที่แทนบิดาตามธรรมดานั่นเองมารดาหามีสิทธิถอนเงินของบุตรไปใช้สอยส่วนตัวไม่
พนักงานอัยการเป็นโจทก์ฟ้องคดีอุทลุมในนามของตนเองแทนเด็กตามอำนาจและหน้าที่ในกฎหมาย โดยไม่มีการแต่งตั้งทนายศาลไม่สั่งให้ค่าทนายความ
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 7/2516 แต่ไม่ลงมติ)
บิดาเปิดบัญชีเงินฝากประจำที่ธนาคารให้บุตรผู้เยาว์ โดยมอบหมายให้มารดาเป็นผู้มีอำนาจหน้าที่ถอนเงินจากธนาคารมาใช้จ่ายเพื่อการศึกษาของบุตร แล้วบิดามารดาต่างได้นำเงินเข้าฝากในบัญชีดังกล่าวระคนปนกับเงินได้ของบุตร โดยมีเจตนายกเงินที่นำเข้าฝากนั้นให้แก่บุตรดังนี้ เงินในบัญชีเงินฝากจึงเป็นของบุตรทั้งสิ้น หาใช่เป็นเงินที่บิดามารดาฝากไว้เป็นของตนเอง โดยฝากไว้ในนามของบุตรทำนองลงชื่อบุตรเป็นนามแฝงไม่ แม้จะมีข้อตกลงกับธนาคารว่าผู้ใดจะเป็นผู้ลงชื่อถอนเงินจากธนาคารได้นั้น ก็เป็นเรื่องระเบียบและวิธีการตามธรรมดาของธนาคารซึ่งเป็นอีกเรื่องหนึ่งต่างหาก ทั้งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1545 และ 1546 ก็บัญญัติให้อำนาจและวิธีการแก่ผู้ใช้อำนาจปกครองที่จะนำเงินของบุตรไปใช้จ่ายได้ ย่อมจำเป็นที่จะต้องระบุชื่อผู้มีอำนาจหน้าที่ในการถอนเงินของบุตรจากธนาคารไว้ด้วย มิฉะนั้นจะเกิดความยุ่งยากในกรณีที่จะต้องนำเงินมาใช้จ่ายตามอำนาจ ที่บิดามอบหมายให้มารดาเป็นผู้มีอำนาจหน้าที่ถอนเงินจากธนาคารมาใช้จ่ายเพื่อการศึกษาของบุตรจึงเป็นเรื่องการมอบหมายให้มารดาทำหน้าที่แทนบิดาตามธรรมดานั่นเองมารดาหามีสิทธิถอนเงินของบุตรไปใช้สอยส่วนตัวไม่
พนักงานอัยการเป็นโจทก์ฟ้องคดีอุทลุมในนามของตนเองแทนเด็กตามอำนาจและหน้าที่ในกฎหมาย โดยไม่มีการแต่งตั้งทนายศาลไม่สั่งให้ค่าทนายความ
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 7/2516 แต่ไม่ลงมติ)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2604/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจปกครองและการใช้เงินของบุตรผู้เยาว์: สิทธิของบิดามารดาและเจตนายกเงิน
บุตรซึ่งยังไม่บรรลุนิติภาวะ ต้องอยู่ใต้อำนาจปกครองของบิดามารดาแต่อำนาจปกครองโดยแท้จริงคงอยู่ที่บิดา บิดาจึงเป็นผู้ใช้อำนาจปกครองและผู้ใช้อำนาจปกครองเท่านั้นที่มีสิทธิเอาเงินของบุตรมาใช้ได้ตามสมควรตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1545 มารดาหามีสิทธิไม่
บิดาเปิดบัญชีเงินฝากประจำที่ธนาคารให้บุตรผู้เยาว์ โดยมอบหมายให้มารดาเป็นผู้มีอำนาจหน้าที่ถอนเงินจากธนาคารมาใช้จ่ายเพื่อการศึกษาของบุตร แล้วบิดามารดาต่างได้นำเงินเข้าฝากในบัญชีดังกล่าวระคนปนกับเงินได้ของบุตร โดยมีเจตนายกเงินที่นำเข้าฝากนั้นให้แก่บุตรดังนี้ เงินในบัญชีเงินฝากจึงเป็นของบุตรทั้งสิ้น หาใช่เป็นเงินที่บิดามารดาฝากไว้เป็นของตนเอง โดยฝากไว้ในนามของบุตรทำนองลงชื่อบุตรเป็นนามแฝงไม่ แม้จะมีข้อตกลงกับธนาคารว่าผู้ใดจะเป็นผู้ลงชื่อถอนเงินจากธนาคารได้นั้น ก็เป็นเรื่องระเบียบและวิธีการตามธรรมดาของธนาคารซึ่งเป็นอีกเรื่องหนึ่งต่างหาก ทั้งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1545 และ 1546 ก็บัญญัติให้อำนาจและวิธีการแก่ผู้ใช้อำนาจปกครองที่จะนำเงินของบุตรไปใช้จ่ายได้ ย่อมจำเป็นที่จะต้องระบุชื่อผู้มีอำนาจหน้าที่ในการถอนเงินของบุตรจากธนาคารไว้ด้วย มิฉะนั้นจะเกิดความยุ่งยากในกรณีที่จะต้องนำเงินมาใช้จ่ายตามอำนาจ ที่บิดามอบหมายให้มารดาเป็นผู้มีอำนาจหน้าที่ถอนเงินจากธนาคารมาใช้จ่ายเพื่อการศึกษาของบุตรจึงเป็นเรื่องการมอบหมายให้มารดาทำหน้าที่แทนบิดาตามธรรมดานั่นเองมารดาหามีสิทธิถอนเงินของบุตรไปใช้สอยส่วนตัวไม่
พนักงานอัยการเป็นโจทก์ฟ้องคดีอุทลุมในนามของตนเองแทนเด็กตามอำนาจและหน้าที่ในกฎหมาย โดยไม่มีการแต่งตั้งทนาย ศาลไม่สั่งให้ค่าทนายความ
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 7/2516 แต่ไม่ลงมติ)
บิดาเปิดบัญชีเงินฝากประจำที่ธนาคารให้บุตรผู้เยาว์ โดยมอบหมายให้มารดาเป็นผู้มีอำนาจหน้าที่ถอนเงินจากธนาคารมาใช้จ่ายเพื่อการศึกษาของบุตร แล้วบิดามารดาต่างได้นำเงินเข้าฝากในบัญชีดังกล่าวระคนปนกับเงินได้ของบุตร โดยมีเจตนายกเงินที่นำเข้าฝากนั้นให้แก่บุตรดังนี้ เงินในบัญชีเงินฝากจึงเป็นของบุตรทั้งสิ้น หาใช่เป็นเงินที่บิดามารดาฝากไว้เป็นของตนเอง โดยฝากไว้ในนามของบุตรทำนองลงชื่อบุตรเป็นนามแฝงไม่ แม้จะมีข้อตกลงกับธนาคารว่าผู้ใดจะเป็นผู้ลงชื่อถอนเงินจากธนาคารได้นั้น ก็เป็นเรื่องระเบียบและวิธีการตามธรรมดาของธนาคารซึ่งเป็นอีกเรื่องหนึ่งต่างหาก ทั้งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1545 และ 1546 ก็บัญญัติให้อำนาจและวิธีการแก่ผู้ใช้อำนาจปกครองที่จะนำเงินของบุตรไปใช้จ่ายได้ ย่อมจำเป็นที่จะต้องระบุชื่อผู้มีอำนาจหน้าที่ในการถอนเงินของบุตรจากธนาคารไว้ด้วย มิฉะนั้นจะเกิดความยุ่งยากในกรณีที่จะต้องนำเงินมาใช้จ่ายตามอำนาจ ที่บิดามอบหมายให้มารดาเป็นผู้มีอำนาจหน้าที่ถอนเงินจากธนาคารมาใช้จ่ายเพื่อการศึกษาของบุตรจึงเป็นเรื่องการมอบหมายให้มารดาทำหน้าที่แทนบิดาตามธรรมดานั่นเองมารดาหามีสิทธิถอนเงินของบุตรไปใช้สอยส่วนตัวไม่
พนักงานอัยการเป็นโจทก์ฟ้องคดีอุทลุมในนามของตนเองแทนเด็กตามอำนาจและหน้าที่ในกฎหมาย โดยไม่มีการแต่งตั้งทนาย ศาลไม่สั่งให้ค่าทนายความ
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 7/2516 แต่ไม่ลงมติ)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2081-2087/2514
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจจัดการทรัพย์สินบุตรผู้เยาว์ & นิติสัมพันธ์จากการมอบอำนาจ/มอบกรรมสิทธิ์
บิดาผู้ใช้อำนาจปกครองมีอำนาจจัดการและจำหน่ายทรัพย์สินอันเป็นสังหาริมทรัพย์ของบุตรผู้เยาว์ได้โดยไม่ต้องได้รับความยินยอมของบุตร เว้นแต่ในกิจการใดประโยชน์ของผู้ใช้อำนาจปกครองขัดกับประโยชน์ของผู้เยาว์ จะต้องได้รับอนุญาตของศาลก่อน มิฉะนั้นเป็นโมฆะ
บิดานำหุ้นของบุตรผู้เยาว์ไปโอนตีใช้หนี้ส่วนตัวของบิดาประโยชน์ของบิดาผู้ใช้อำนาจปกครองย่อมขัดกับประโยชน์ของบุตรผู้เยาว์หากทำโดยไม่ได้รับอนุญาตจากศาล แม้บุตรผู้เยาว์จะทำหนังสือให้ความยินยอมด้วย ก็เป็นโมฆะ
ผู้ถือหุ้นทำหนังสือมอบกรรมสิทธิ์ในหุ้นของตนให้บิดา บิดานำหุ้นนั้นไปโอนตีใช้หนี้ให้โจทก์ แต่ทำการโอนหุ้นกันไม่ได้ เพราะขัดกับข้อบังคับของบริษัท ดังนี้ ผู้ถือหุ้นนั้นไม่ต้องรับผิดคืนเงินค่าหุ้นให้โจทก์เพราะไม่มีนิติสัมพันธ์กับโจทก์
ผู้ถือหุ้นทำหนังสือมอบอำนาจให้บิดานำหุ้นของตนไปจำนำประกันเงินกู้ ขายโอนหรือจำหน่ายด้วยประการใด ๆ บิดานำหุ้นนั้นไปโอนตีใช้หนี้ให้โจทก์ ถือได้ว่าเป็นการก่อนิติสัมพันธ์ตามที่ได้รับมอบอำนาจ ซึ่งผูกพันผู้ถือหุ้นซึ่งมอบอำนาจนั้นด้วย เมื่อต่อมาปรากฏว่าโอนหุ้นให้โจทก์ไม่ได้ ผู้ถือหุ้นย่อมต้องรับผิดคืนเงินค่าหุ้นให้โจทก์
บิดานำหุ้นของบุตรผู้เยาว์ไปโอนตีใช้หนี้ส่วนตัวของบิดาประโยชน์ของบิดาผู้ใช้อำนาจปกครองย่อมขัดกับประโยชน์ของบุตรผู้เยาว์หากทำโดยไม่ได้รับอนุญาตจากศาล แม้บุตรผู้เยาว์จะทำหนังสือให้ความยินยอมด้วย ก็เป็นโมฆะ
ผู้ถือหุ้นทำหนังสือมอบกรรมสิทธิ์ในหุ้นของตนให้บิดา บิดานำหุ้นนั้นไปโอนตีใช้หนี้ให้โจทก์ แต่ทำการโอนหุ้นกันไม่ได้ เพราะขัดกับข้อบังคับของบริษัท ดังนี้ ผู้ถือหุ้นนั้นไม่ต้องรับผิดคืนเงินค่าหุ้นให้โจทก์เพราะไม่มีนิติสัมพันธ์กับโจทก์
ผู้ถือหุ้นทำหนังสือมอบอำนาจให้บิดานำหุ้นของตนไปจำนำประกันเงินกู้ ขายโอนหรือจำหน่ายด้วยประการใด ๆ บิดานำหุ้นนั้นไปโอนตีใช้หนี้ให้โจทก์ ถือได้ว่าเป็นการก่อนิติสัมพันธ์ตามที่ได้รับมอบอำนาจ ซึ่งผูกพันผู้ถือหุ้นซึ่งมอบอำนาจนั้นด้วย เมื่อต่อมาปรากฏว่าโอนหุ้นให้โจทก์ไม่ได้ ผู้ถือหุ้นย่อมต้องรับผิดคืนเงินค่าหุ้นให้โจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2081-2087/2514 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจจัดการทรัพย์สินบุตรผู้เยาว์ & หนังสือมอบอำนาจ/มอบกรรมสิทธิ์: ผลผูกพันทางกฎหมาย
บิดาผู้ใช้อำนาจปกครองมีอำนาจจัดการและจำหน่ายทรัพย์สินอันเป็นสังหาริมทรัพย์ของบุตรผู้เยาว์ได้โดยไม่ต้องได้รับความยินยอมของบุตร เว้นแต่ในกิจการใดประโยชน์ของผู้ใช้อำนาจปกครองขัดกับประโยชน์ของผู้เยาว์ จะต้องได้รับอนุญาตของศาลก่อน มิฉะนั้นเป็นโมฆะ
บิดานำหุ้นของบุตรผู้เยาว์ไปโอนตีใช้หนี้ส่วนตัวของบิดาประโยชน์ของบิดาผู้ใช้อำนาจปกครองย่อมขัดกับประโยชน์ของบุตรผู้เยาว์หากทำโดยไม่ได้รับอนุญาตจากศาล แม้บุตรผู้เยาว์จะทำหนังสือให้ความยินยอมด้วย ก็เป็นโมฆะ
ผู้ถือหุ้นทำหนังสือมอบกรรมสิทธิ์ในหุ้นของตนให้บิดา บิดานำหุ้นนั้นไปโอนตีใช้หนี้ให้โจทก์ แต่ทำการโอนหุ้นกันไม่ได้ เพราะขัดกับข้อบังคับของบริษัท ดังนี้ ผู้ถือหุ้นนั้นไม่ต้องรับผิดคืนเงินค่าหุ้นให้โจทก์เพราะไม่มีนิติสัมพันธ์กับโจทก์
ผู้ถือหุ้นทำหนังสือมอบอำนาจให้บิดานำหุ้นของตนไปจำนำประกันเงินกู้ ขายโอนหรือจำหน่ายด้วยประการใด ๆ บิดานำหุ้นนั้นไปโอนตีใช้หนี้ให้โจทก์ ถือได้ว่าเป็นการก่อนิติสัมพันธ์ตามที่ได้รับมอบอำนาจ ซึ่งผูกพันผู้ถือหุ้นซึ่งมอบอำนาจนั้นด้วย เมื่อต่อมาปรากฏว่าโอนหุ้นให้โจทก์ไม่ได้ ผู้ถือหุ้นย่อมต้องรับผิดคืนเงินค่าหุ้นให้โจทก์
บิดานำหุ้นของบุตรผู้เยาว์ไปโอนตีใช้หนี้ส่วนตัวของบิดาประโยชน์ของบิดาผู้ใช้อำนาจปกครองย่อมขัดกับประโยชน์ของบุตรผู้เยาว์หากทำโดยไม่ได้รับอนุญาตจากศาล แม้บุตรผู้เยาว์จะทำหนังสือให้ความยินยอมด้วย ก็เป็นโมฆะ
ผู้ถือหุ้นทำหนังสือมอบกรรมสิทธิ์ในหุ้นของตนให้บิดา บิดานำหุ้นนั้นไปโอนตีใช้หนี้ให้โจทก์ แต่ทำการโอนหุ้นกันไม่ได้ เพราะขัดกับข้อบังคับของบริษัท ดังนี้ ผู้ถือหุ้นนั้นไม่ต้องรับผิดคืนเงินค่าหุ้นให้โจทก์เพราะไม่มีนิติสัมพันธ์กับโจทก์
ผู้ถือหุ้นทำหนังสือมอบอำนาจให้บิดานำหุ้นของตนไปจำนำประกันเงินกู้ ขายโอนหรือจำหน่ายด้วยประการใด ๆ บิดานำหุ้นนั้นไปโอนตีใช้หนี้ให้โจทก์ ถือได้ว่าเป็นการก่อนิติสัมพันธ์ตามที่ได้รับมอบอำนาจ ซึ่งผูกพันผู้ถือหุ้นซึ่งมอบอำนาจนั้นด้วย เมื่อต่อมาปรากฏว่าโอนหุ้นให้โจทก์ไม่ได้ ผู้ถือหุ้นย่อมต้องรับผิดคืนเงินค่าหุ้นให้โจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1889/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องคดีแทนบุตรผู้เยาว์: การพิจารณาเจตนาโจทก์จากคำฟ้องและการใช้อำนาจปกครองตามกฎหมาย
การที่จะถือว่าโจทก์ฟ้องในฐานะส่วนตัวโดยเฉพาะ หรือในฐานะแทนเด็กผู้เป็นบุตรด้วยนั้น จะต้องพิจารณาฟ้องรวมกันทั้งฉบับ
หน้าฟ้องตรงช่องชื่อโจทก์ระบุว่า "นายนวลบิดาเด็กชายยุทธนาพวงมาลัย"ดังนี้นอกจากแสดงว่านายนวลเป็นบิดาเด็กชายยุทธนาแล้ว ยังแสดงว่ามีความหมายหรือความประสงค์อย่างหนึ่งอย่างใดด้วย มิฉะนั้นคงกล่าวง่ายๆ เพียงว่า นายนวลโจทก์
ในฟ้องระบุถึงการกระทำของจำเลยซึ่งกระทำละเมิดต่อเด็กชายยุทธนาทั้งกล่าวด้วยว่าการกระทำโดยประมาทของจำเลยเป็นเหตุให้เด็กชายยุทธนาบุตรโจทก์และโจทก์เสียหาย เรียกค่าเสียหาย 3 ประการ แม้ตามฟ้อง เมื่อกล่าวถึงเด็กชายยุทธนาจะใช้ถ้อยคำว่า "บุตรโจทก์" ต่อท้ายจากคำว่าเด็กชายยุทธนาทุกแห่ง แต่เมื่อพิจารณาประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1537 ที่ว่า อำนาจปกครองอยู่แก่บิดา มาตรา 1541 ที่ว่า ผู้ใช้อำนาจปกครองเป็นผู้แทนโดยชอบธรรมของบุตร อำนาจดังกล่าวเป็นอำนาจตามกฎหมายโดยมิต้องมีการแต่งตั้งหรือมอบหมายแต่อย่างใด ดังนี้ แสดงว่าโจทก์เสนอฟ้องทั้งในฐานะส่วนตัวและแทนเด็กชายยุทธนาบุตรผู้เยาว์ด้วย
หน้าฟ้องตรงช่องชื่อโจทก์ระบุว่า "นายนวลบิดาเด็กชายยุทธนาพวงมาลัย"ดังนี้นอกจากแสดงว่านายนวลเป็นบิดาเด็กชายยุทธนาแล้ว ยังแสดงว่ามีความหมายหรือความประสงค์อย่างหนึ่งอย่างใดด้วย มิฉะนั้นคงกล่าวง่ายๆ เพียงว่า นายนวลโจทก์
ในฟ้องระบุถึงการกระทำของจำเลยซึ่งกระทำละเมิดต่อเด็กชายยุทธนาทั้งกล่าวด้วยว่าการกระทำโดยประมาทของจำเลยเป็นเหตุให้เด็กชายยุทธนาบุตรโจทก์และโจทก์เสียหาย เรียกค่าเสียหาย 3 ประการ แม้ตามฟ้อง เมื่อกล่าวถึงเด็กชายยุทธนาจะใช้ถ้อยคำว่า "บุตรโจทก์" ต่อท้ายจากคำว่าเด็กชายยุทธนาทุกแห่ง แต่เมื่อพิจารณาประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1537 ที่ว่า อำนาจปกครองอยู่แก่บิดา มาตรา 1541 ที่ว่า ผู้ใช้อำนาจปกครองเป็นผู้แทนโดยชอบธรรมของบุตร อำนาจดังกล่าวเป็นอำนาจตามกฎหมายโดยมิต้องมีการแต่งตั้งหรือมอบหมายแต่อย่างใด ดังนี้ แสดงว่าโจทก์เสนอฟ้องทั้งในฐานะส่วนตัวและแทนเด็กชายยุทธนาบุตรผู้เยาว์ด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1889/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องแทนบุตร: การพิจารณาเจตนาจากชื่อโจทก์ในฟ้อง และฐานความรับผิดค่าเสียหาย
การที่จะถือว่าโจทก์ฟ้องในฐานะส่วนตัวโดยเฉพาะ.หรือในฐานะแทนเด็กผู้เป็นบุตรด้วยนั้น จะต้องพิจารณาฟ้องรวมกันทั้งฉบับ.
หน้าฟ้องตรงช่องชื่อโจทก์ระบุว่า 'นายนวลบิดาเด็กชายยุทธนาพวงมาลัย'ดังนี้นอกจากแสดงว่านายนวลเป็นบิดาเด็กชายยุทธนาแล้ว. ยังแสดงว่ามีความหมายหรือความประสงค์อย่างหนึ่งอย่างใดด้วย มิฉะนั้นคงกล่าวง่ายๆ เพียงว่า นายนวลโจทก์.
ในฟ้องระบุถึงการกระทำของจำเลยซึ่งกระทำละเมิดต่อเด็กชายยุทธนา.ทั้งกล่าวด้วยว่าการกระทำโดยประมาทของจำเลยเป็นเหตุให้เด็กชายยุทธนาบุตรโจทก์และโจทก์เสียหาย เรียกค่าเสียหาย 3 ประการ. แม้ตามฟ้อง เมื่อกล่าวถึงเด็กชายยุทธนาจะใช้ถ้อยคำว่า 'บุตรโจทก์' ต่อท้ายจากคำว่าเด็กชายยุทธนาทุกแห่ง แต่เมื่อพิจารณาประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์. มาตรา 1537 ที่ว่า อำนาจปกครองอยู่แก่บิดา มาตรา 1541 ที่ว่า ผู้ใช้อำนาจปกครองเป็นผู้แทนโดยชอบธรรมของบุตร. อำนาจดังกล่าวเป็นอำนาจตามกฎหมาย. โดยมิต้องมีการแต่งตั้งหรือมอบหมายแต่อย่างใด. ดังนี้ แสดงว่าโจทก์เสนอฟ้องทั้งในฐานะส่วนตัวและแทนเด็กชายยุทธนาบุตรผู้เยาว์ด้วย.
หน้าฟ้องตรงช่องชื่อโจทก์ระบุว่า 'นายนวลบิดาเด็กชายยุทธนาพวงมาลัย'ดังนี้นอกจากแสดงว่านายนวลเป็นบิดาเด็กชายยุทธนาแล้ว. ยังแสดงว่ามีความหมายหรือความประสงค์อย่างหนึ่งอย่างใดด้วย มิฉะนั้นคงกล่าวง่ายๆ เพียงว่า นายนวลโจทก์.
ในฟ้องระบุถึงการกระทำของจำเลยซึ่งกระทำละเมิดต่อเด็กชายยุทธนา.ทั้งกล่าวด้วยว่าการกระทำโดยประมาทของจำเลยเป็นเหตุให้เด็กชายยุทธนาบุตรโจทก์และโจทก์เสียหาย เรียกค่าเสียหาย 3 ประการ. แม้ตามฟ้อง เมื่อกล่าวถึงเด็กชายยุทธนาจะใช้ถ้อยคำว่า 'บุตรโจทก์' ต่อท้ายจากคำว่าเด็กชายยุทธนาทุกแห่ง แต่เมื่อพิจารณาประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์. มาตรา 1537 ที่ว่า อำนาจปกครองอยู่แก่บิดา มาตรา 1541 ที่ว่า ผู้ใช้อำนาจปกครองเป็นผู้แทนโดยชอบธรรมของบุตร. อำนาจดังกล่าวเป็นอำนาจตามกฎหมาย. โดยมิต้องมีการแต่งตั้งหรือมอบหมายแต่อย่างใด. ดังนี้ แสดงว่าโจทก์เสนอฟ้องทั้งในฐานะส่วนตัวและแทนเด็กชายยุทธนาบุตรผู้เยาว์ด้วย.