พบผลลัพธ์ทั้งหมด 35 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1516/2503
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความมรดกและการเสียสิทธิในพินัยกรรม: กรณีที่ทายาทครอบครองมรดกเกิน 10 ปี
โจทก์ฟ้องว่า ที่ดินพิพาทเป็นของโจทก์ทั้งหมดโดยผู้ตายทำพินัยกรรมยกให้ จำเลยต่อสู้ว่าเป็นของบุตรสาวผู้ตายทั้งหมดและบุตรสาวผู้ตายได้ทำพินัยกรรมยกให้จำเลยครึ่งหนึ่งโจทก์ครึ่งหนึ่ง ถึงแม้จำเลยจะรับรู้สิทธิของโจทก์ว่ามีอยู่ครึ่งหนึ่งของที่ดินตามพินัยกรรมก็ตาม ก็ต้องคำนวณทุนทรัพย์ที่พิพาทตามราคาที่ดินทั้งหมด ไม่ใช่เพียงครึ่งหนึ่งเพราะพิพาทกันในชั้นมรดกเดิม ไม่ใช่มรดกตอนหลัง
เมื่อเจ้ามรดกตาย มรดกย่อมตกทอดแก่ทายาท นั้น ทายาทก็อาจเสียไปซึ่งสิทธิในมรดกได้ตามกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1599 วรรคท้าย
เจ้าของที่ดินทำพินัยกรรมยกที่ดินให้วัดโจทก์โดยระบุให้ยายและมารดามีสิทธิเก็บกินตลอดชีวิต เมื่อเจ้าของที่ดินตายแล้ว โจทก์มิได้ใช้สิทธิแก่ที่ดินนี้ประการใดปล่อยให้มารดาของเจ้ามรดกครอบครองที่ดินและจดทะเบียนโอนรับมรดกเป็นของตนด้วย ซึ่งเป็นเวลาเกินกว่า 10 ปีแล้ว ดังนี้ สิทธิเรียกร้องของโจทก์ในฐานะผู้รับพินัยกรรมจึงขาดอายุความไปแล้วตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1754 วรรคท้าย ศาลฎีกาประชุมใหญ่มีมติว่า วัดโจทก์หมดสิทธิตามพินัยกรรมแล้ว (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 13/2503)
เมื่อเจ้ามรดกตาย มรดกย่อมตกทอดแก่ทายาท นั้น ทายาทก็อาจเสียไปซึ่งสิทธิในมรดกได้ตามกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1599 วรรคท้าย
เจ้าของที่ดินทำพินัยกรรมยกที่ดินให้วัดโจทก์โดยระบุให้ยายและมารดามีสิทธิเก็บกินตลอดชีวิต เมื่อเจ้าของที่ดินตายแล้ว โจทก์มิได้ใช้สิทธิแก่ที่ดินนี้ประการใดปล่อยให้มารดาของเจ้ามรดกครอบครองที่ดินและจดทะเบียนโอนรับมรดกเป็นของตนด้วย ซึ่งเป็นเวลาเกินกว่า 10 ปีแล้ว ดังนี้ สิทธิเรียกร้องของโจทก์ในฐานะผู้รับพินัยกรรมจึงขาดอายุความไปแล้วตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1754 วรรคท้าย ศาลฎีกาประชุมใหญ่มีมติว่า วัดโจทก์หมดสิทธิตามพินัยกรรมแล้ว (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 13/2503)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1516/2503 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความและสิทธิในมรดก: การขาดอายุความของสิทธิเรียกร้องในพินัยกรรมเมื่อทายาทครอบครองมรดกเกิน 10 ปี
โจทก์ฟ้องว่า ที่ดินพิพาทเป็นของโจทก์ทั้งหมดโดยผู้ตายทำพินัยกรรมการยกให้ จำเลยต่อสู้ว่าเป็นของบุตรสาวผู้ตายทั้งหมดและบุตรสาวผู้ตายได้ทำพินัยกรรมยกให้จำเลยครึ่งหนึ่งโจทก์ครึ่งหนึ่ง ถึงแม้จำเลยจะรับรู้สิทธิของโจทก์ว่ามีอยู่ครึ่งหนึ่ง ของที่ดินตามพินัยกรรมก็ตาม ก็ต้องคำนวนทุนทรัพย์ที่พิพาทตามราคาที่ดินทั้งหมด ไม่ใช่มรดกตอนหลัง
เมื่อเจ้ามรดกตาย มรดกย่อมตกทอดแก่ทายาท นั้น ทายาทก็อาจเสียไปซึ่งสิทธิในมรดกได้ตามกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายแพ่งพาณิชย์ มาตรา 1599 วรรคท้าย
เจ้าของที่ดินทำพินัยกรรมยกที่ดินให้วัดโจทก์โดยระบุให้ยายและมารดามีสิทธิเก็บกินตลอดชีวิต เมื่อเจ้าของที่ดินตายแล้ว โจทก์มิได้ใช้สิทธิแก่ที่ดินนี้ประการใด ปล่อยให้มารดาของเจ้ามรดกครอบครองที่ดินและจดทะเบียนโอนรับมรดกเป็นของตนด้วย ซึ่งเป็นเวลาเกินกว่า 10 ปีแล้ว ดังนี้ สิทธิเรียกร้องของโจทก์ในฐานะผู้รับพินัยกรรมจึงขาดอายุความไปแล้วตามประมวลกฎหมายแพ่งพาณิชย์ มาตรา 11754 วรรคท้าย ศาลฎีกาประชุมใหญ่มีมติว่า วัดโจทก์หมดสิทธิตามพินัยกรรมแล้ว (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 13/2503)
เมื่อเจ้ามรดกตาย มรดกย่อมตกทอดแก่ทายาท นั้น ทายาทก็อาจเสียไปซึ่งสิทธิในมรดกได้ตามกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายแพ่งพาณิชย์ มาตรา 1599 วรรคท้าย
เจ้าของที่ดินทำพินัยกรรมยกที่ดินให้วัดโจทก์โดยระบุให้ยายและมารดามีสิทธิเก็บกินตลอดชีวิต เมื่อเจ้าของที่ดินตายแล้ว โจทก์มิได้ใช้สิทธิแก่ที่ดินนี้ประการใด ปล่อยให้มารดาของเจ้ามรดกครอบครองที่ดินและจดทะเบียนโอนรับมรดกเป็นของตนด้วย ซึ่งเป็นเวลาเกินกว่า 10 ปีแล้ว ดังนี้ สิทธิเรียกร้องของโจทก์ในฐานะผู้รับพินัยกรรมจึงขาดอายุความไปแล้วตามประมวลกฎหมายแพ่งพาณิชย์ มาตรา 11754 วรรคท้าย ศาลฎีกาประชุมใหญ่มีมติว่า วัดโจทก์หมดสิทธิตามพินัยกรรมแล้ว (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 13/2503)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 446/2501 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดละเมิดจากละเลยระเบียบภายในเทศบาล ต้องพิจารณาจากข้อเท็จจริงและเหตุผลประกอบ
ระเบียบของกระทรวงมหาดไทยซึ่งออกโดยอาศัยอำนาจตาม พ.ร.บ.เทศบาลนั้น ถือว่าเป็นระเบียบการภายใน ไม่มีผลบังคับทั่วไป และประชาชนไม่จำต้องรับรู้ ฉะนั้นความรับผิดเพื่อละเมิดอันเกิดจากการที่จำเลยไม่ปฏิบัติตามระเบียบดังกล่าวจะต้องรับผิดหรือไม่ ต้องแล้วแต่ข้อเท็จจริงและเหตุผลเป็นเรื่อง ๆ ไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 892/2486 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาค้ำประกัน, การผ่อนผันชำระหนี้, และการมอบอำนาจฟ้องร้อง: หลักเกณฑ์และข้อยกเว้น
สัญญาค้ำประกันไม่จำต้องระบุสถานที่ทำและไม่ต้องมีชื่อพยานและผู้เขียน
ค้ำประกันหนี้ไนอนาคตและไม่มีกำหนดเวลาชำระหนี้ เจ้าหนี้ผ่อนไห้ลูกหนี้ชำระเปนงวด ๆ และไห้หาประกันมาไหม่อีกได้ไม่ทำไห้ผู้ค้ำประกันเดิมหลุดพ้น
ข้อบังคับของบริสัทไห้อำนาดกัมการคนเดียวลงนามแทนบริสัทได้ ก็ย่อมมีอำนาดลงนามผู้เดียวมอบอำนาดไห้ผู้อื่นฟ้องความได้ตาม ม. 1144 ไม่เกี่ยวกับ ม. 801
ข้อที่ไม่ได้ยกขึ้นว่ากล่าวไนสาลล่าง จะยกขึ้นดีกาไม่ได้
คำแถลงไนสาลล่างนั้นไม่ถือว่าเปนประเด็นที่ยกขึ้นว่ากล่าวไนชั้นั้นเพราะคำแถลงเปนเพียงอธิบายประเด็นแห่งคดี
การที่จะอ้างพยานเปนครั้งแรกไนสาลอุธรน์ได้หรือไม่นั้น หากอ้างได้ก็หยู่ไนดุลพินิจของสาลอุธรน์ที่จะอนุญาตหรือไม่ก็ได้
พรึติการน์ที่ถือว่าไม่ควนอนุญาตไห้พยานหลักถานที่พึ่งค้นพบไนชั้นสาลอุธรน์.
ค้ำประกันหนี้ไนอนาคตและไม่มีกำหนดเวลาชำระหนี้ เจ้าหนี้ผ่อนไห้ลูกหนี้ชำระเปนงวด ๆ และไห้หาประกันมาไหม่อีกได้ไม่ทำไห้ผู้ค้ำประกันเดิมหลุดพ้น
ข้อบังคับของบริสัทไห้อำนาดกัมการคนเดียวลงนามแทนบริสัทได้ ก็ย่อมมีอำนาดลงนามผู้เดียวมอบอำนาดไห้ผู้อื่นฟ้องความได้ตาม ม. 1144 ไม่เกี่ยวกับ ม. 801
ข้อที่ไม่ได้ยกขึ้นว่ากล่าวไนสาลล่าง จะยกขึ้นดีกาไม่ได้
คำแถลงไนสาลล่างนั้นไม่ถือว่าเปนประเด็นที่ยกขึ้นว่ากล่าวไนชั้นั้นเพราะคำแถลงเปนเพียงอธิบายประเด็นแห่งคดี
การที่จะอ้างพยานเปนครั้งแรกไนสาลอุธรน์ได้หรือไม่นั้น หากอ้างได้ก็หยู่ไนดุลพินิจของสาลอุธรน์ที่จะอนุญาตหรือไม่ก็ได้
พรึติการน์ที่ถือว่าไม่ควนอนุญาตไห้พยานหลักถานที่พึ่งค้นพบไนชั้นสาลอุธรน์.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 635/2484
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การต่อสู้เรื่องนิติกรรมอำพรางและการนำสืบเอกสารที่ไม่สมบูรณ์ ศาลอนุญาตให้สืบได้ตามเหตุผลเดิม
จำเลยจะขอนำสืบว่าสัญญากู้นั้นเป็นนิติกรรมอำพรางเพราะมิได้รับเงินไปจากโจทก์เช่นนี้ ขอสืบได้เพราะเป็นการขอสืบว่าเอกสารนั้นไม่สมบูรณ์
คำแถลงสั้น ๆ ในชั้นพิจารรานั้น จะถือว่าฝ่ายนั้นสละข้อต่อสู้เดิมไม่ได้
คำแถลงสั้น ๆ ในชั้นพิจารรานั้น จะถือว่าฝ่ายนั้นสละข้อต่อสู้เดิมไม่ได้