พบผลลัพธ์ทั้งหมด 3 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 848/2486
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตความรับผิดทางอาญาตาม พ.ร.บ.ฝิ่น: ผู้รับใบอนุญาต vs. ผู้จัดการร้าน และการรับสารภาพเฉพาะเจาะจง
ตาม พ.ร.บ.ฝิ่น 2472 มาตรา 22,58 มุ่งเอาผิดเฉพาะแต่ผู้รับใบอนุญาตตั้งร้านฝิ่น หาได้หมายถึงผู้จัดการร้านฝิ่นด้วยไม่ ผู้ฝ่าฝืนตาม มาตรา 14 พ.ร.บ.ฝิ่น 2472 นั้นย่อมหมายเฉพาะผู้สูบฝิ่นเท่านั้น ฟ้องว่ามีฝิ่นและมูลฝิ่น จำเลยให้การรับโดยระบุถึงฝิ่นอย่างเดียวดังนี้ จะถือว่าจำเลยรับถึงมูลฝิ่นด้วยไม่ได้ ประชุมใหญ่ครั้งที่ 16/2486
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 848/2486 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตความรับผิดของผู้จัดการร้านฝิ่นตาม พ.ร.บ.ฝิ่น: การพิสูจน์ความผิดฐานมีฝิ่นและมูลฝิ่น
ตาม พ.ร.บ. ฝิ่น 2472 ม. 22,58 มุ่งเอาผิดฉเพาะแต่ผู้รับไบอนุญาตตั้งร้านฝิ่น หาได้หมายจึงผู้จัดการร้านฝิ่นด้วยไม่
ผู้ฝ่าฝืนตาม ม. 14พ.ร.บ.ฝิ่น 2472 นั้นย่อมหมายฉเพาะผู้สูบฝิ่นเท่านั้น
ฟ้องว่ามีฝิ่นและมูลฝิ่น จำเลยไห้การรับโดยระบุถึงฝิ่นหย่างเดียวดังนี้ จะถือว่าจำเลยรับถึงมูลฝิ่นด้วยไม่ได้.
ผู้ฝ่าฝืนตาม ม. 14พ.ร.บ.ฝิ่น 2472 นั้นย่อมหมายฉเพาะผู้สูบฝิ่นเท่านั้น
ฟ้องว่ามีฝิ่นและมูลฝิ่น จำเลยไห้การรับโดยระบุถึงฝิ่นหย่างเดียวดังนี้ จะถือว่าจำเลยรับถึงมูลฝิ่นด้วยไม่ได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 781/2481
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การลงโทษผู้มีฝิ่นหรือมูลฝิ่นเจือปน: เกณฑ์คำนวณค่าปรับตามราคาฝิ่นที่รัฐบาลกำหนด
ไม่ว่ามีฝิ่นหรือมูลฝิ่นอันผิดด้วยกฎหมายไว้ในครอบครองมาตรา 53 แห่ง พ.ร.บ.ฝิ่นบัญญัติให้ถือเอาราคาฝิ่นที่รัฐบาลขายตั้งเป็นเกณฑ์คำนวณค่าปรับเสมอไป
อ้างฎีกาที่ 790/2474,+23/2476และ389/2476
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยใช้วัตถุ+เจือปนฝิ่นของรัฐบาลทางพิจารณาได้ความว่า จำเลยเอาวัตถุอื่นเจือปนจริงแต่ไม่แน่ว่าเจือปนกับฝิ่นหรือมูลฝิ่นดังนี้ ไม่เรียกว่าทางพิจารณาแตกต่างกับฟ้อง
อ้างฎีกาที่ 790/2474,+23/2476และ389/2476
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยใช้วัตถุ+เจือปนฝิ่นของรัฐบาลทางพิจารณาได้ความว่า จำเลยเอาวัตถุอื่นเจือปนจริงแต่ไม่แน่ว่าเจือปนกับฝิ่นหรือมูลฝิ่นดังนี้ ไม่เรียกว่าทางพิจารณาแตกต่างกับฟ้อง