พบผลลัพธ์ทั้งหมด 742 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 795/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความประมาทในการขับรถ, ค่าเสียหายรายเดือน, ค่าขึ้นศาล, การพิพากษา
เหตุเกิดเมื่อรถเลี้ยวซ้ายเลยหัวโค้งไปแล้ว 10 เมตรเศษ แม้ไฟหน้ารถจำเลยจะดับ ถ้าจำเลยขับรถไม่เร็วเกินไปแล้วรถก็จะไม่ไถลไปทางขวาจนตกถนนและเกิดการกระทบกระแทกโดยแรง จำเลยมิได้แสดงว่าเหตุที่ไฟหน้ารถดับนั้น เป็นเพราะพฤติการณ์ที่จำเลยไม่ต้องรับผิดชอบโดยได้ใช้ความระมัดระวังอันควรคาดหมายได้แล้ว จำเลยจึงไม่มีทางอ้างเอาเหตุที่ไฟหน้ารถดับว่าเป็นเหตุสุดวิสัยได้
โจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายตั้งแต่วันฟ้องต่อไปเป็นรายเดือน เดือนละ 3,000 บาทไม่มีกำหนดเวลากี่เดือน และไม่มีกำหนดว่าจนกว่าจะชำระหนี้เสร็จเพราะมิใช่กรณีดอกเบี้ยค่าเช่า หรือค่าเสียหายระหว่างที่ยังค้างชำระหนี้อยู่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 142(3, 4) การที่ศาลกำหนดค่าเสียหายให้จำเลยชำระเป็นจำนวนแน่นอน จำนวนหนึ่งสำหรับทดแทนความเสียหายของโจทก์ในอนาคตดังนี้จะเป็นการเกินคำขอหาได้ไม่ ส่วนที่ว่าโจทก์มิได้เสียค่าขึ้นศาลในคำขอเช่นนี้มาด้วยนั้น เห็นว่าคำขอให้ชำระค่าเสียหายในอนาคตดังที่โจทก์ขอมาเป็นรายเดือนนั้น โจทก์ต้องเสียค่าขึ้นศาล 50 บาทตามตาราง 1 ข้อ 4 ท้ายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง เป็นอีกส่วนหนึ่งต่างหากจากค่าขึ้นศาลในคำขออื่น ๆ ของโจทก์ โจทก์มิได้เสียค่าขึ้นศาลในส่วนนี้มาในศาลชั้นต้น แต่ก็มิใช่ว่าโจทก์ขัดขืนไม่ยอมเสียค่าฤชาธรรมเนียมอันจะเป็นเหตุให้ศาลไม่รับคำฟ้อง ข้อนี้จึงไม่เป็นข้อที่จำเลยจะอ้างขึ้นให้ศาลฎีกายกคำขอของโจทก์ในส่วนนี้
โจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายตั้งแต่วันฟ้องต่อไปเป็นรายเดือน เดือนละ 3,000 บาทไม่มีกำหนดเวลากี่เดือน และไม่มีกำหนดว่าจนกว่าจะชำระหนี้เสร็จเพราะมิใช่กรณีดอกเบี้ยค่าเช่า หรือค่าเสียหายระหว่างที่ยังค้างชำระหนี้อยู่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 142(3, 4) การที่ศาลกำหนดค่าเสียหายให้จำเลยชำระเป็นจำนวนแน่นอน จำนวนหนึ่งสำหรับทดแทนความเสียหายของโจทก์ในอนาคตดังนี้จะเป็นการเกินคำขอหาได้ไม่ ส่วนที่ว่าโจทก์มิได้เสียค่าขึ้นศาลในคำขอเช่นนี้มาด้วยนั้น เห็นว่าคำขอให้ชำระค่าเสียหายในอนาคตดังที่โจทก์ขอมาเป็นรายเดือนนั้น โจทก์ต้องเสียค่าขึ้นศาล 50 บาทตามตาราง 1 ข้อ 4 ท้ายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง เป็นอีกส่วนหนึ่งต่างหากจากค่าขึ้นศาลในคำขออื่น ๆ ของโจทก์ โจทก์มิได้เสียค่าขึ้นศาลในส่วนนี้มาในศาลชั้นต้น แต่ก็มิใช่ว่าโจทก์ขัดขืนไม่ยอมเสียค่าฤชาธรรมเนียมอันจะเป็นเหตุให้ศาลไม่รับคำฟ้อง ข้อนี้จึงไม่เป็นข้อที่จำเลยจะอ้างขึ้นให้ศาลฎีกายกคำขอของโจทก์ในส่วนนี้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 763-764/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อต่อสู้เรื่องโมฆะของสัญญาจำนอง และสิทธิในการนำสืบข้อเท็จจริงเพื่อพิสูจน์การชำระหนี้
โจทก์ฟ้องขอบังคับจำนอง จำเลยต่อสู้ว่าสัญญาจำนองทำกันหลอก ๆไม่มีการชำระเงินกันจริง เท่ากับปฏิเสธว่าไม่มีมูลหนี้ต่อกัน ชอบที่จำเลยจะนำสืบให้ได้ความจริงตามข้อต่อสู้ของตน ไม่มีความจำเป็นที่ศาลจะต้องสอบถามโจทก์เกี่ยวกับรายละเอียดที่โจทก์อ้างว่าได้จ่ายเงินให้ไปล่วงหน้าครบถ้วนแล้ว เพราะเป็นเรื่องที่คู่ความมีสิทธิที่จะนำสืบกันต่อไป
การนำคดีมาฟ้องศาลขอให้บังคับผู้จำนองใช้หนี้ตามสัญญาจำนอง เป็นสิทธิอันชอบธรรมของผู้รับจำนองที่จะกระทำได้ เมื่อไม่ปรากฏว่าผู้รับจำนองใช้สิทธินี้โดยไม่สุจริต หรือโดยประมาทเลินเล่อ ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้จำนองโดยมิชอบแต่อย่างใด ผู้รับจำนองก็ไม่ต้องรับผิด
การนำคดีมาฟ้องศาลขอให้บังคับผู้จำนองใช้หนี้ตามสัญญาจำนอง เป็นสิทธิอันชอบธรรมของผู้รับจำนองที่จะกระทำได้ เมื่อไม่ปรากฏว่าผู้รับจำนองใช้สิทธินี้โดยไม่สุจริต หรือโดยประมาทเลินเล่อ ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้จำนองโดยมิชอบแต่อย่างใด ผู้รับจำนองก็ไม่ต้องรับผิด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 763-764/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การต่อสู้เรื่องสัญญาจำนองหลอกลวงและการพิสูจน์มูลหนี้: สิทธิในการนำสืบและขอบเขตความรับผิด
โจทก์ฟ้องขอบังคับจำนอง จำเลยต่อสู้ว่าสัญญาจำนองทำกันหลอก ๆ ไม่มีการชำระเงินกันจริง เท่ากับปฏิเสธว่าไม่มีมูลหนี้ต่อกัน ชอบที่จำเลยจะนำสืบให้ได้ความจริงตามข้อต่อสู้ของตน ไม่มีความจำเป็นที่ศาลจะต้องสอบถามโจทก์เกี่ยวกับรายละเอียดที่โจทก์อ้างว่าได้จ่ายเงินให้ไปล่วงหน้าครบถ้วนแล้ว เพราะเป็นเรื่องที่คู่ความมีสิทธิ์ที่จะนำสืบกันต่อไป
การนำคดีมาฟ้องศาลขอให้บังคับผู้จำนองใช้หนี้ตามสัญญาจำนอง เป็นสิทธิ์อันชอบธรรมของผู้รับจำนองที่จะกระทำได้ เมื่อไม่ปรากฏว่าผู้รับจำนองใช้สิทธิ์นี้โดยไม่สุจริตหรือโดยประมาทเลินเล่อ ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้จำนองโดยมิชอบแต่อย่างใด ผู้รับจำนองก็ไม่ต้องรับผิด
การนำคดีมาฟ้องศาลขอให้บังคับผู้จำนองใช้หนี้ตามสัญญาจำนอง เป็นสิทธิ์อันชอบธรรมของผู้รับจำนองที่จะกระทำได้ เมื่อไม่ปรากฏว่าผู้รับจำนองใช้สิทธิ์นี้โดยไม่สุจริตหรือโดยประมาทเลินเล่อ ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้จำนองโดยมิชอบแต่อย่างใด ผู้รับจำนองก็ไม่ต้องรับผิด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 753/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าพนักงานละเว้นการรายงานการหลบหนีของนักโทษ และร่วมกันปลอมเอกสารเพื่อช่วยเหลือ
การบรรยายฟ้องเรื่องปลอมเอกสารที่ถือว่าไม่เคลือบคลุม
จำเลยที่ 1 เป็นพัสดีเรือนจำ จำเลยที่ 2 เป็นผู้คุมชั้น 2 จำเลยที่ 2 คุมนักโทษไปทำงานนอกเรือนจำแล้วนักโทษเกิดหลบหนีไป จำเลยที่ 2 รายงานให้จำเลยที่ 1 ทราบ จำเลยที่ 1 ให้ปกปิดไว้ก่อนเพื่อติดตามตัวเมื่อติดตามไม่ได้ จำเลยทั้งสองมิได้จัดการอย่างไร คงปกปิดไว้มิได้รายงานต่อผู้บัญชาการเรือนจำตามระเบียบ การกระทำของจำเลยทั้งสองจึงถือว่าเป็นการละเว้นปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2502 มาตรา 13
ครั้นเมื่อมีพระราชกฤษฎีกาอภัยโทษ จำเลยทั้งสองได้ร่วมกันลงชื่อนักโทษที่หลบหนีนั้นในบัญชีรายชื่อผู้ได้รับพระราชทานอภัยโทษเสนอต่อคณะกรรมการพิจารณาลดโทษ คณะกรรมการฯ หลงเชื่อว่านักโทษผู้นั้นยังมีตัวอยู่ในเรือนจำจึงลงมติลดโทษให้ 1 ใน 5 การกระทำของจำเลยเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 162(1)
เมื่อถึงเวลาครบกำหนดที่นักโทษผู้นั้นจะพ้นโทษตามหมายจำคุกของศาล จำเลยทั้งสองได้ร่วมกันทำ ดังนี้ (1) สลักหลังหมายจำคุกของนักโทษผู้นั้น รับรองว่าได้ตรวจสอบถูกต้องแล้ว เสนอปล่อยตัวในวันที่1 เมษายน 2507 โดยจำเลยที่ 2 เป็นคนพิมพ์ จำเลยที่ 1 เป็นคนลงนาม (2) ร่วมกันปลอมเอกสารใบสุทธิของนักโทษผู้นั้น โดยจำเลยที่ 2 ลงลายพิมพ์นิ้วมือของตนเองแทนนักโทษและจำเลยที่ 1 ลงนามตรวจรับรอง (3) จำเลยที่ 2 ลงลายพิมพ์นิ้วมือของตนแทนนักโทษในช่องเมื่อพ้นโทษ ในทะเบียนรายตัวผู้ต้องคุมขังของนักโทษผู้นั้น (4) จำเลยทั้งสองได้ร่วมกันทำหนังสือของผู้บัญชาการเรือนจำถึงนายอำเภอสามเงาว่านักโทษผู้นั้นพ้นโทษจะกลับไปอยู่อำเภอสามเงาภูมิลำเนาเดิม แล้วเสนอหนังสือนั้นให้ผู้บัญชาการลงนามโดยจำเลยที่ 2 เป็นคนพิมพ์ จำเลยที่ 1 เป็นคนตรวจรับรอง การกระทำของจำเลยทั้งสองดังกล่าวย่อมมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 161, 264, 265 อีกกระทงหนึ่ง แต่ให้ลงโทษจำเลยทั้งสองตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157 ซึ่งเป็นกระทงหนักที่สุดกระทงเดียว โดยจำคุกคนละ 2 ปี
จำเลยที่ 1 เป็นพัสดีเรือนจำ จำเลยที่ 2 เป็นผู้คุมชั้น 2 จำเลยที่ 2 คุมนักโทษไปทำงานนอกเรือนจำแล้วนักโทษเกิดหลบหนีไป จำเลยที่ 2 รายงานให้จำเลยที่ 1 ทราบ จำเลยที่ 1 ให้ปกปิดไว้ก่อนเพื่อติดตามตัวเมื่อติดตามไม่ได้ จำเลยทั้งสองมิได้จัดการอย่างไร คงปกปิดไว้มิได้รายงานต่อผู้บัญชาการเรือนจำตามระเบียบ การกระทำของจำเลยทั้งสองจึงถือว่าเป็นการละเว้นปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2502 มาตรา 13
ครั้นเมื่อมีพระราชกฤษฎีกาอภัยโทษ จำเลยทั้งสองได้ร่วมกันลงชื่อนักโทษที่หลบหนีนั้นในบัญชีรายชื่อผู้ได้รับพระราชทานอภัยโทษเสนอต่อคณะกรรมการพิจารณาลดโทษ คณะกรรมการฯ หลงเชื่อว่านักโทษผู้นั้นยังมีตัวอยู่ในเรือนจำจึงลงมติลดโทษให้ 1 ใน 5 การกระทำของจำเลยเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 162(1)
เมื่อถึงเวลาครบกำหนดที่นักโทษผู้นั้นจะพ้นโทษตามหมายจำคุกของศาล จำเลยทั้งสองได้ร่วมกันทำ ดังนี้ (1) สลักหลังหมายจำคุกของนักโทษผู้นั้น รับรองว่าได้ตรวจสอบถูกต้องแล้ว เสนอปล่อยตัวในวันที่1 เมษายน 2507 โดยจำเลยที่ 2 เป็นคนพิมพ์ จำเลยที่ 1 เป็นคนลงนาม (2) ร่วมกันปลอมเอกสารใบสุทธิของนักโทษผู้นั้น โดยจำเลยที่ 2 ลงลายพิมพ์นิ้วมือของตนเองแทนนักโทษและจำเลยที่ 1 ลงนามตรวจรับรอง (3) จำเลยที่ 2 ลงลายพิมพ์นิ้วมือของตนแทนนักโทษในช่องเมื่อพ้นโทษ ในทะเบียนรายตัวผู้ต้องคุมขังของนักโทษผู้นั้น (4) จำเลยทั้งสองได้ร่วมกันทำหนังสือของผู้บัญชาการเรือนจำถึงนายอำเภอสามเงาว่านักโทษผู้นั้นพ้นโทษจะกลับไปอยู่อำเภอสามเงาภูมิลำเนาเดิม แล้วเสนอหนังสือนั้นให้ผู้บัญชาการลงนามโดยจำเลยที่ 2 เป็นคนพิมพ์ จำเลยที่ 1 เป็นคนตรวจรับรอง การกระทำของจำเลยทั้งสองดังกล่าวย่อมมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 161, 264, 265 อีกกระทงหนึ่ง แต่ให้ลงโทษจำเลยทั้งสองตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157 ซึ่งเป็นกระทงหนักที่สุดกระทงเดียว โดยจำคุกคนละ 2 ปี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 753/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าพนักงานปลอมแปลงเอกสารและละเว้นการปฏิบัติหน้าที่เพื่อช่วยเหลือผู้ต้องโทษหลบหนี
การบรรยายฟ้องเรื่องปลอมเอกสารที่ถือว่าไม่เคลือบคลุม
จำเลยที่ 1 เป็นพัสดีเรือนจำ จำเลยที่ 2 เป็นผู้คุมชั้น 2 จำเลยที่ 2 คุมนักโทษไปทำงานนอกเรือนจำแล้วนักโทษเกิดหลบหนีไป จำเลยที่ 2 รายงานให้จำเลยที่ 1 ทราบ จำเลยที่ 1 ให้ปกปิดไว้ก่อนเพื่อติดตามตัว เมื่อติดตามไม่ได้ จำเลยทั้งสองมิได้จัดการอย่างไร คงปกปิดไว้มิได้รายงานต่อผู้บัญชาการเรือนจำตามระเบียบ การกระทำของจำเลยทั้งสองจึงถือว่าเป็นการละเว้นปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 157 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2502 มาตรา 13
ครั้นเมื่อมีพระราชกฤษฎีกาอภัยโทษ จำเลยทั้งสองได้ร่วมกันลงชื่อนักโทษที่หลบหนีนั้นในบัญชีรายชื่อผู้ได้รับพระราชทานอภัยโทษเสนอต่อคณะกรรมการพิจารณาลดโทษ คณะกรรมการฯ หลงเชื่อว่านักโทษผู้นั้นยังมีตัวอยู่ในเรือนจำ จึงลงมติลดโทษให้ 1 ใน 5 การกระทำของจำเลยเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 162(1)
เมื่อถึงเวลาครบกำหนดที่นักโทษผู้นั้นจะพ้นโทษตามหมายจำคุกของศาล จำเลยทั้งสองได้ร่วมกันทำดังนี้ (1) สลักหลังหมายจำคุกของนักโทษผู้นั้น รับรองว่าได้ตรวจสอบถูกต้องแล้ว เสนอปล่อยตัวในวันที่ 1 เมษายน 2507 โดยจำเลยที่ 2 เป็นคนพิมพ์ จำเลยที่ 1 เป็นคนลงนาม (2) ร่วมกันปลอมเอกสารใบสุทธิของนักโทษผู้นั้น โดยจำเลยที่ 2 ลงลายพิมพ์นิ้วมือของตนเองแทนนักโทษและจำเลยที่ 1 ลงนามตรวจรับรอง (3) จำเลยที่ 2 ลงลายพิมพ์นิ้วมือของตนแทนนักโทษในช่องเมื่อพ้นโทษ ในทะเบียนรายตัวผู้ต้องคุมขังของนักโทษผู้นั้น (4) จำเลยทั้งสองได้ร่วมกันทำหนังสือของผู้บัญชาการเรือนจำถึงนายอำเภอสามเงาว่านักโทษผู้นั้นพ้นโทษ จะกลับไปอยู่อำเภอสามเงาภูมิลำเนาเดิม แล้วเสนอหนังสือนั้นให้ผู้บัญชาการลงนามโดยจำเลยที่ 2 เป็นคนพิมพ์ จำเลยที่ 1 เป็นคนตรวจรับรอง การกระทำของจำเลยทั้งสองดังกล่าวย่อมมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 161, 264, 265 อีกกระทงหนึ่ง แต่ให้ลงโทษจำเลยทั้งสองตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157 ซึ่งเป็นกระทงหนักที่สุดกระทงเดียว โดยจำคุกคนละ 2 ปี
จำเลยที่ 1 เป็นพัสดีเรือนจำ จำเลยที่ 2 เป็นผู้คุมชั้น 2 จำเลยที่ 2 คุมนักโทษไปทำงานนอกเรือนจำแล้วนักโทษเกิดหลบหนีไป จำเลยที่ 2 รายงานให้จำเลยที่ 1 ทราบ จำเลยที่ 1 ให้ปกปิดไว้ก่อนเพื่อติดตามตัว เมื่อติดตามไม่ได้ จำเลยทั้งสองมิได้จัดการอย่างไร คงปกปิดไว้มิได้รายงานต่อผู้บัญชาการเรือนจำตามระเบียบ การกระทำของจำเลยทั้งสองจึงถือว่าเป็นการละเว้นปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 157 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2502 มาตรา 13
ครั้นเมื่อมีพระราชกฤษฎีกาอภัยโทษ จำเลยทั้งสองได้ร่วมกันลงชื่อนักโทษที่หลบหนีนั้นในบัญชีรายชื่อผู้ได้รับพระราชทานอภัยโทษเสนอต่อคณะกรรมการพิจารณาลดโทษ คณะกรรมการฯ หลงเชื่อว่านักโทษผู้นั้นยังมีตัวอยู่ในเรือนจำ จึงลงมติลดโทษให้ 1 ใน 5 การกระทำของจำเลยเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 162(1)
เมื่อถึงเวลาครบกำหนดที่นักโทษผู้นั้นจะพ้นโทษตามหมายจำคุกของศาล จำเลยทั้งสองได้ร่วมกันทำดังนี้ (1) สลักหลังหมายจำคุกของนักโทษผู้นั้น รับรองว่าได้ตรวจสอบถูกต้องแล้ว เสนอปล่อยตัวในวันที่ 1 เมษายน 2507 โดยจำเลยที่ 2 เป็นคนพิมพ์ จำเลยที่ 1 เป็นคนลงนาม (2) ร่วมกันปลอมเอกสารใบสุทธิของนักโทษผู้นั้น โดยจำเลยที่ 2 ลงลายพิมพ์นิ้วมือของตนเองแทนนักโทษและจำเลยที่ 1 ลงนามตรวจรับรอง (3) จำเลยที่ 2 ลงลายพิมพ์นิ้วมือของตนแทนนักโทษในช่องเมื่อพ้นโทษ ในทะเบียนรายตัวผู้ต้องคุมขังของนักโทษผู้นั้น (4) จำเลยทั้งสองได้ร่วมกันทำหนังสือของผู้บัญชาการเรือนจำถึงนายอำเภอสามเงาว่านักโทษผู้นั้นพ้นโทษ จะกลับไปอยู่อำเภอสามเงาภูมิลำเนาเดิม แล้วเสนอหนังสือนั้นให้ผู้บัญชาการลงนามโดยจำเลยที่ 2 เป็นคนพิมพ์ จำเลยที่ 1 เป็นคนตรวจรับรอง การกระทำของจำเลยทั้งสองดังกล่าวย่อมมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 161, 264, 265 อีกกระทงหนึ่ง แต่ให้ลงโทษจำเลยทั้งสองตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157 ซึ่งเป็นกระทงหนักที่สุดกระทงเดียว โดยจำคุกคนละ 2 ปี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 752/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเบิกเงินเกินบัญชี: ผู้สั่งจ่ายเช็คมีหน้าที่รับผิดชอบหนี้แม้ธนาคารยังไม่เรียกเก็บ
ทำสัญญากู้เบิกเงินเกินบัญชีกับธนาคาร โดยยอมให้บุคคลอีกคนหนึ่งออกเช็คสั่งจ่ายเงินในบัญชีของตนได้ด้วยนั้น กรณีมิใช่เป็นเรื่องตั้งเป็นตัวแทนไปทำสัญญากู้ และข้อตกลงระหว่างผู้ไปทำสัญญากู้กับผู้ที่ตนยอมให้ออกเช็คสั่งจ่ายเงินในบัญชีของตนได้ ก็ไม่มีกฎหมายบังคับให้ต้องทำเป็นหนังสือ
ออกเช็คสั่งจ่ายเงินตามสัญญากู้เบิกเงินเกินบัญชีของบุคคลอื่นตามความตกลงระหว่างกัน ต้องรับผิดใช้เงินคืนให้แก่เจ้าของบัญชี แม้ธนาคารผู้ให้กู้จะยังไม่ได้ทวงถามเจ้าของบัญชีก็ตาม หากผู้ออกเช็คสั่งจ่ายเงินนั้นถึงแก่ความตายก่อนชดใช้เงิน กองมรดกของผู้นั้นก็ต้องรับผิดต่อเจ้าของบัญชี
ข้อกฎหมายที่ยกขึ้นว่ากล่าวไว้แล้วในศาลชั้นต้น แต่มิได้ยกขึ้นว่ากล่าวในชั้นอุทธรณ์ จะยกขึ้นอ้างอิงในชั้นฎีกาไม่ได้
ออกเช็คสั่งจ่ายเงินตามสัญญากู้เบิกเงินเกินบัญชีของบุคคลอื่นตามความตกลงระหว่างกัน ต้องรับผิดใช้เงินคืนให้แก่เจ้าของบัญชี แม้ธนาคารผู้ให้กู้จะยังไม่ได้ทวงถามเจ้าของบัญชีก็ตาม หากผู้ออกเช็คสั่งจ่ายเงินนั้นถึงแก่ความตายก่อนชดใช้เงิน กองมรดกของผู้นั้นก็ต้องรับผิดต่อเจ้าของบัญชี
ข้อกฎหมายที่ยกขึ้นว่ากล่าวไว้แล้วในศาลชั้นต้น แต่มิได้ยกขึ้นว่ากล่าวในชั้นอุทธรณ์ จะยกขึ้นอ้างอิงในชั้นฎีกาไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 752/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดในสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีและการออกเช็คของผู้ที่มิได้เป็นตัวแทน
ทำสัญญากู้เบิกเงินเกินบัญชีกับธนาคาร โดยยอมให้บุคคลอีกคนหนึ่งออกเช็คสั่งจ่ายเงินในบัญชีของตนได้ด้วยนั้น กรณีมิใช่เป็นเรื่องตั้งเป็นตัวแทนไปทำสัญญากู้ และข้อตกลงระหว่างผู้ไปทำสัญญากู้กับผู้ที่ตนยอมให้ออกเช็คสั่งจ่ายเงินในบัญชีของตนได้ ก็ไม่มีกฎหมายบังคับให้ต้องทำเป็นหนังสือ
ออกเช็คสั่งจ่ายเงินตามสัญญากู้เบิกเงินเกินบัญชีของบุคคลอื่นตามความตกลงระหว่างกัน ต้องรับผิดใช้เงินคืนให้แก่เจ้าของบัญชี แม้ธนาคารผู้ให้กู้จะยังไม่ได้ทวงถามเจ้าของบัญชีก็ตาม หากผู้ออกเช็คสั่งจ่ายเงินนั้นถึงแก่ความตายก่อนชดใช้เงิน กองมรดกของผู้นั้นก็ต้องรับผิดต่อเจ้าของบัญชี
ข้อกฎหมายที่ยกขึ้นว่ากล่าวไว้แล้วในศาลชั้นต้น แต่มิได้ยกขึ้นว่ากล่าวในชั้นอุทธรณ์ จะยกขึ้นอ้างอิงในชั้นฎีกาไม่ได้
ออกเช็คสั่งจ่ายเงินตามสัญญากู้เบิกเงินเกินบัญชีของบุคคลอื่นตามความตกลงระหว่างกัน ต้องรับผิดใช้เงินคืนให้แก่เจ้าของบัญชี แม้ธนาคารผู้ให้กู้จะยังไม่ได้ทวงถามเจ้าของบัญชีก็ตาม หากผู้ออกเช็คสั่งจ่ายเงินนั้นถึงแก่ความตายก่อนชดใช้เงิน กองมรดกของผู้นั้นก็ต้องรับผิดต่อเจ้าของบัญชี
ข้อกฎหมายที่ยกขึ้นว่ากล่าวไว้แล้วในศาลชั้นต้น แต่มิได้ยกขึ้นว่ากล่าวในชั้นอุทธรณ์ จะยกขึ้นอ้างอิงในชั้นฎีกาไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 684/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยินยอมรับชำระหนี้ภายหลังผิดสัญญา ทำให้สิทธิในการเพิกถอนนิติกรรมหมดไป
แม้จำเลยที่ 1 ผิดสัญญาแล้ว โจทก์ก็ยังยินยอมปฏิบัติตามสัญญา รับชำระหนี้ส่วนหนึ่งจากจำเลย โดยรับเช็คจากจำเลยที่ 2 ไปเบิกเงินจากธนาคาร ดังนี้ จะถือว่าจำเลยทั้งสองทำการโดยไม่สุจริต สมยอมกันทำการฉ้อกลเพื่อยักย้ายทรัพย์ให้พ้นจากการที่ต้องชำระหนี้หาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 684/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยินยอมรับชำระหนี้บางส่วนของผู้ขาย ทำให้สิทธิเรียกร้องการเพิกถอนการซื้อขายไม้จากผู้ซื้อรายใหม่หมดไป
แม้จำเลยที่ 1 ผิดสัญญาแล้ว โจทก์ก็ยังยินยอมปฏิบัติตามสัญญารับชำระหนี้ส่วนหนึ่งจากจำเลย โดยรับเช็คจากจำเลยที่ 2 ไปเบิกเงินจากธนาคาร ดังนี้ จะถือว่าจำเลยทั้งสองทำการโดยไม่สุจริตสมยอมกันทำการฉ้อฉลเพื่อยักย้ายทรัพย์ให้พ้นจากการที่ต้องชำระหนี้หาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 557/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การไล่ลูกจ้างออกขัดระเบียบกระทรวงการคลัง และอายุความฟ้องร้องค่าจ้าง
ระเบียบของกระทรวงการคลังโดยอนุมัติคณะรัฐมนตรีวางระเบียบไว้ว่าลูกจ้างคนใดต้องหาคดีอาญาและถูกควบคุมตัว ก็ให้กรม กองเจ้าสังกัดต่างๆ สั่งพักงานลูกจ้างนั้นไว้ก่อนไม่ให้ไล่ออกทันที ดังนี้ จำเลยซึ่งเป็นกรมเจ้าสังกัดจะต้องปฏิบัติตามระเบียบระเบียบเดิมของจำเลยที่ขัดกับระเบียบของกระทรวงการคลังเป็นอันถูกยกเลิกไปในตัวการที่จำเลยอุทธรณ์ระเบียบของจำเลยไปกระทรวงการคลังว่า ขัดกับระเบียบของจำเลย แต่กระทรวงการคลังก็ได้ตอบยืนยันไม่ยอมให้ถือระเบียบของจำเลย การที่จำเลยมีคำสั่งในระหว่างอุทธรณ์ระเบียบให้ไล่โจทก์ออกย้อนไปถึงวันโจทก์ถูกกล่าวหาและถูกจับกุมจึงเป็นการไม่ชอบด้วยระเบียบ
เมื่อคดีฟังไม่ได้ว่าโจทก์ได้ทราบคำสั่งให้ไล่ออกของจำเลย นับถึงวันฟ้องเกิน 1 ปี คดีโจทก์จึงยังไม่ขาดอายุความ
เมื่อคดีฟังไม่ได้ว่าโจทก์ได้ทราบคำสั่งให้ไล่ออกของจำเลย นับถึงวันฟ้องเกิน 1 ปี คดีโจทก์จึงยังไม่ขาดอายุความ