พบผลลัพธ์ทั้งหมด 742 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1049/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบังคับสัญญาเช่าและการครอบครองปรปักษ์เมื่อสัญญาเดิมสิ้นสุด
โจทก์ฎีกาว่า แม้จะบังคับให้จำเลยต่อสัญญาเช่าที่ดินให้โจทก์ 10 ปีไม่ได้เพราะต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 538 แต่ศาลน่าจะบังคับให้จำเลยต่อสัญญาเช่าให้โจทก์ 3 ปีได้ เมื่อข้อเท็จจริงในสำนวนปรากฏว่านับแต่สัญญาเช่าเดิมสิ้นอายุ โจทก์ได้ครอบครองที่ดินที่เช่ามาจนถึงเวลานี้เกิน 3 ปีแล้ว ฎีกาของโจทก์จึงไม่มีความจำเป็นที่จะต้องวินิจฉัยต่อไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1049/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบังคับสัญญาเช่าและผลของการครอบครองที่ดินเกิน 3 ปี
โจทก์ฎีกาว่า แม้จะบังคับให้จำเลยต่อสัญญาเช่าที่ดินให้โจทก์ 10 ปีไม่ได้ เพราะต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 538 แต่ศาลน่าจะบังคับให้จำเลยต่อสัญญาเช่าให้โจทก์ 3 ปีได้ เมื่อข้อเท็จจริงในสำนวนปรากฏว่านับแต่สัญญาเช่าเดิมสิ้นอายุโจทก์ได้ครอบครองที่ดินที่เช่ามาจนถึงเวลานี้เกิน 3 ปี แล้วฎีกาของโจทก์จึงไม่มีความจำเป็นที่จะต้องวินิจฉัยต่อไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1008/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาขายฝากไม่จดทะเบียนเป็นโมฆะ ผู้รับเงินต้องคืน
การขายอสังหาริมทรัพย์เมื่อไม่ได้จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ย่อมเป็นโมฆะ
จำเลยรับเงินค่าขายฝากอสังหาริมทรัพย์ไปจากโจทก์ เมื่อการขายฝากเป็นโมฆะ โจทก์ได้คืนที่ดินให้จำเลยแล้ว จำเลยก็ต้องคืนเงินให้โจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 406 เพราะเป็นการรับไว้โดยปราศจากมูลอันจะอ้างกฎหมายได้ และทำให้โจทก์เสียเปรียบ
เมื่อสัญญาขายฝากเป็นโมฆะเพราะไม่ได้จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ศาลก็อาจรับฟังสัญญานั้นอย่างเป็นพยานเอกสารธรรมดาประกอบคำพยานโจทก์ มิใช่รับฟังในฐานะที่เป็นสัญญาขายฝากหรือใบรับได้ ถึงแม้หนังสือขายฝากนั้นจะไม่ได้ปิดอากรแสตมป์ครบถ้วนก็ตาม
จำเลยรับเงินค่าขายฝากอสังหาริมทรัพย์ไปจากโจทก์ เมื่อการขายฝากเป็นโมฆะ โจทก์ได้คืนที่ดินให้จำเลยแล้ว จำเลยก็ต้องคืนเงินให้โจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 406 เพราะเป็นการรับไว้โดยปราศจากมูลอันจะอ้างกฎหมายได้ และทำให้โจทก์เสียเปรียบ
เมื่อสัญญาขายฝากเป็นโมฆะเพราะไม่ได้จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ศาลก็อาจรับฟังสัญญานั้นอย่างเป็นพยานเอกสารธรรมดาประกอบคำพยานโจทก์ มิใช่รับฟังในฐานะที่เป็นสัญญาขายฝากหรือใบรับได้ ถึงแม้หนังสือขายฝากนั้นจะไม่ได้ปิดอากรแสตมป์ครบถ้วนก็ตาม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1008/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาขายฝากไม่จดทะเบียนเป็นโมฆะ ผู้รับเงินต้องคืน
การขายอสังหาริมทรัพย์เมื่อไม่ได้จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ย่อมเป็นโมฆะ
จำเลยรับเงินค่าขายฝากอสังหาริมทรัพย์ไปจากโจทก์ เมื่อการขายฝากเป็นโมฆะ โจทก์ได้คืนที่ดินให้จำเลยแล้วจำเลยก็ต้องคืนเงินให้โจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 406 เพราะเป็นการรับไว้โดยปราศจากมูลอันจะอ้างกฎหมายได้ และทำให้โจทก์เสียเปรียบ
เมื่อสัญญาขายฝากเป็นโมฆะเพราะไม่ได้จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ศาลก็อาจรับฟังสัญญานั้นอย่างเป็นพยานเอกสารธรรมดาประกอบคำพยานโจทก์ มิใช่รับฟังในฐานะที่เป็นสัญญาขายฝากหรือใบรับได้ ถึงแม้หนังสือสัญญาขายฝากนั้นจะไม่ได้ปิดอากรแสตมป์ครบถ้วนก็ตาม
จำเลยรับเงินค่าขายฝากอสังหาริมทรัพย์ไปจากโจทก์ เมื่อการขายฝากเป็นโมฆะ โจทก์ได้คืนที่ดินให้จำเลยแล้วจำเลยก็ต้องคืนเงินให้โจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 406 เพราะเป็นการรับไว้โดยปราศจากมูลอันจะอ้างกฎหมายได้ และทำให้โจทก์เสียเปรียบ
เมื่อสัญญาขายฝากเป็นโมฆะเพราะไม่ได้จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ศาลก็อาจรับฟังสัญญานั้นอย่างเป็นพยานเอกสารธรรมดาประกอบคำพยานโจทก์ มิใช่รับฟังในฐานะที่เป็นสัญญาขายฝากหรือใบรับได้ ถึงแม้หนังสือสัญญาขายฝากนั้นจะไม่ได้ปิดอากรแสตมป์ครบถ้วนก็ตาม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 948/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิดฐานเป็นเจ้าพนักงานประพฤติมิชอบ vs ผู้สนับสนุน – ความผิดเฉพาะกระทบความผิดทั่วไป
ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 149 เมื่อปรากฏว่าจำเลยที่ 2, 3 มิได้เป็นเจ้าพนักงาน คงมีความผิดฐานเป็นผู้สนับสนุนการกระทำผิดเท่านั้น
เมื่อการกระทำของจำเลยเป็นความผิดตามมาตรา 149 ซึ่งเป็นบทเฉพาะแล้ว ย่อมไม่ผิดตามมาตรา 157 ซึ่งเป็นบททั่วไปอีก
เมื่อการกระทำของจำเลยเป็นความผิดตามมาตรา 149 ซึ่งเป็นบทเฉพาะแล้ว ย่อมไม่ผิดตามมาตรา 157 ซึ่งเป็นบททั่วไปอีก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 910-920/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจเจ้าหน้าที่สั่งรื้ออาคาร, เหตุผลทางกฎหมาย, สิทธิผู้เช่า, คำสั่งไม่ชอบด้วยกฎหมาย
ไม่ปรากฏว่ามีกฎหมายบัญญัติให้อำนาจแก่เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นให้มีอำนาจสั่งแก่เจ้าของหรือผู้ครอบครองอาคารรื้อถอนอาคารที่โจทก์เช่าอยู่อาศัยได้โดยเด็ดขาด เป็นที่สุดฉะนั้น ศาลจึงย่อมมีอำนาจวินิจฉัยข้อพิพาทในคดีพิพาทระหว่างผู้เช่าอาคารกับเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นได้
ตามพระราชบัญญัติควมคุมการก่อสร้างอาคาร ฯลฯ มิได้ถือเอาสภาพอันเป็นที่น่ารังเกียจของอาคารพิพาทเป็นลักษณะสำคัญ อันเป็นที่ตั้งแห่งการวินิจฉัยที่จะให้อำนาจเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นสั่งรื้อถอนอาคารพิพาท
คำว่า " ไม่มั่นคงแข็งแรงไม่ปลอดภัย อันอาจเป็นอันตรายต่อชีวิต ร่างกายและทรัพย์สิน" คำว่า "อาจ" ไม่มีความหมายตรงกันกับคำว่า "น่า" เพราะโอกาสที่จะเป็นอันตราย ฯลฯ ตามความหมายแห่งถ้อยคำทั้งสองดังกล่าวนั้นต่างกัน กล่าวคือ ตามพจนานุกรมคำว่า "น่า" แปล-ว่า "ควร ฯลฯ" ซึ่งมีความหมายแน่นอนกว่า "อาจ" ซึ่งแปลงเพียงว่า"เป็นได้ ฯลฯ" เท่านั้น ฉะนั้น เมื่อคดีได้ความว่า อาคารพิพาทอยู่ในสภาพมั่นคงพอที่อยู่อาศัยได้ตามปกติโดยปลอดภัย คำสั่งของจำเลยซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นให้รื้อถอนอาคารพิพาทจึงมิได้ตั้งอยู่บนเหตุผลและไม่มีมูลฐานตามกฎหมาย
คำสั่งของจำเลยที่ 891/2506 สั่งให้บริษัท น. รื้อถอนอาคารของบริษัท น. ที่โจทก์เช่าอยู่ มิได้บังคับโจทก์อย่างใด จึงไม่มีข้อพิพาทเกี่ยวแก่คำสั่งนี้กับโจทก์ ฉะนั้นโจทก์จะยกขึ้นอ้างเป็นมูลฟ้องหาได้ไม่ ส่วนคำสั่งของจำเลยที่ 3643/2506 ได้อ้างถึงคำสั่งของเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นที่ 762/1 และสั่งให้โจทก์ผู้ครอบครองอาคารเลิกใช้อาคาร กับให้จัดการขนย้าย ฯลฯ โจทก์จึงมีสิทธิยกขึ้นเป็นมูลฟ้องได้
คดีมีปัญหาโต้แย้งกันขึ้นว่า จำเลยซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ท้องถิ่น มีอำนาจสั่งให้รื้อถอนอาคารพิพาทหรือไม่ และคำสั่งของจำเลยเป็นคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ซึ่งเกี่ยวกับสิทธิและหน้าที่ของจำเลย ดังนี้ โจทก์มีอำนาจฟ้องให้เพิกถอนคำสั่งของจำเลยได้
ตามพระราชบัญญัติควมคุมการก่อสร้างอาคาร ฯลฯ มิได้ถือเอาสภาพอันเป็นที่น่ารังเกียจของอาคารพิพาทเป็นลักษณะสำคัญ อันเป็นที่ตั้งแห่งการวินิจฉัยที่จะให้อำนาจเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นสั่งรื้อถอนอาคารพิพาท
คำว่า " ไม่มั่นคงแข็งแรงไม่ปลอดภัย อันอาจเป็นอันตรายต่อชีวิต ร่างกายและทรัพย์สิน" คำว่า "อาจ" ไม่มีความหมายตรงกันกับคำว่า "น่า" เพราะโอกาสที่จะเป็นอันตราย ฯลฯ ตามความหมายแห่งถ้อยคำทั้งสองดังกล่าวนั้นต่างกัน กล่าวคือ ตามพจนานุกรมคำว่า "น่า" แปล-ว่า "ควร ฯลฯ" ซึ่งมีความหมายแน่นอนกว่า "อาจ" ซึ่งแปลงเพียงว่า"เป็นได้ ฯลฯ" เท่านั้น ฉะนั้น เมื่อคดีได้ความว่า อาคารพิพาทอยู่ในสภาพมั่นคงพอที่อยู่อาศัยได้ตามปกติโดยปลอดภัย คำสั่งของจำเลยซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นให้รื้อถอนอาคารพิพาทจึงมิได้ตั้งอยู่บนเหตุผลและไม่มีมูลฐานตามกฎหมาย
คำสั่งของจำเลยที่ 891/2506 สั่งให้บริษัท น. รื้อถอนอาคารของบริษัท น. ที่โจทก์เช่าอยู่ มิได้บังคับโจทก์อย่างใด จึงไม่มีข้อพิพาทเกี่ยวแก่คำสั่งนี้กับโจทก์ ฉะนั้นโจทก์จะยกขึ้นอ้างเป็นมูลฟ้องหาได้ไม่ ส่วนคำสั่งของจำเลยที่ 3643/2506 ได้อ้างถึงคำสั่งของเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นที่ 762/1 และสั่งให้โจทก์ผู้ครอบครองอาคารเลิกใช้อาคาร กับให้จัดการขนย้าย ฯลฯ โจทก์จึงมีสิทธิยกขึ้นเป็นมูลฟ้องได้
คดีมีปัญหาโต้แย้งกันขึ้นว่า จำเลยซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ท้องถิ่น มีอำนาจสั่งให้รื้อถอนอาคารพิพาทหรือไม่ และคำสั่งของจำเลยเป็นคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ซึ่งเกี่ยวกับสิทธิและหน้าที่ของจำเลย ดังนี้ โจทก์มีอำนาจฟ้องให้เพิกถอนคำสั่งของจำเลยได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 910-920/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจเจ้าหน้าที่สั่งรื้ออาคาร: ศาลมีอำนาจวินิจฉัยหากไม่มีกฎหมายให้อำนาจเด็ดขาด และคำสั่งต้องมีเหตุผลตามกฎหมาย
ไม่ปรากฏว่ามีกฎหมายบัญญัติให้อำนาจแก่เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นให้มีอำนาจสั่งแก่เจ้าของหรือผู้ครอบครองอาคารรื้อถอนอาคารที่โจทก์เช่าอยู่อาศัยได้โดยเด็ดขาด เป็นที่สุดฉะนั้น ศาลจึงย่อมมีอำนาจวินิจฉัยข้อพิพาทในคดีพิพาทระหว่างผู้เช่าอาคารกับเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นได้
ตามพระราชบัญญัติควบคุมการก่อสร้างอาคาร ฯลฯ มิได้ถือเอาสภาพอันเป็นที่น่ารังเกียจของอาคารพิพาทเป็นลักษณะสำคัญอันเป็นที่ตั้งแห่งการวินิจฉัยที่จะให้อำนาจเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นสั่งรื้อถอนอาคารพิพาท
คำว่า "ไม่มั่นคงแข็งแรงไม่ปลอดภัย อันอาจเป็นอันตรายต่อชีวิต ร่างกายและทรัพย์สิน" คำว่า "อาจ" ไม่มี ความหมายตรงกันกับคำว่า "น่า" เพราะโอกาสที่จะเป็นอันตราย ฯลฯ ตามความหมายแห่งถ้อยคำทั้งสองดังกล่าวนั้นต่างกัน กล่าวคือ ตามพจนานุกรมคำว่า "น่า" แปลว่า"ควร ฯลฯ " ซึ่งมีความหมายแน่นอนกว่า "อาจ" ซึ่งแปลงเพียงว่า " เป็นได้ ฯลฯ" เท่านั้น ฉะนั้น เมื่อคดีได้ความว่า อาคารพิพาทอยู่ใน สภาพมั่นคงพอที่อยู่อาศัยได้ตามปกติโดยปลอดภัย คำสั่งของจำเลย ซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นให้รื้อถอนอาคารพิพาทจึงมิได้ตั้งอยู่บนเหตุผล และไม่มีมูลฐานตามกฎหมาย
คำสั่งของจำเลยที่ 891/2506 สั่งให้บริษัท น. รื้อถอนอาคารของบริษัท น. ที่โจทก์เช่าอยู่ มิได้บังคับโจทก์อย่างใด จึงไม่มีข้อพิพาทเกี่ยวแก่คำสั่งนี้กับโจทก์ฉะนั้นโจทก์จะยกขึ้นอ้างเป็นมูลฟ้องหาได้ไม่ ส่วนคำสั่งของจำเลยที่ 3643/2506 ได้อ้างถึงคำสั่งของเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นที่ 762/1 และสั่งให้โจทก์ผู้ครอบครองอาคารเลิกใช้อาคาร กับให้จัดการขนย้าย ฯลฯ โจทก์จึงมีสิทธิยกขึ้นเป็นมูลฟ้องได้
คดีมีปัญหาโต้แย้งกันขึ้นว่า จำเลยซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ท้องถิ่น มีอำนาจสั่งให้รื้อถอนอาคารพิพาทหรือไม่ และคำสั่งของจำเลยเป็นคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ซึ่งเกี่ยวกับสิทธิและหน้าที่ของจำเลย ดังนี้ โจทก์มีอำนาจฟ้องให้เพิกถอนคำสั่งของจำเลยได้
ตามพระราชบัญญัติควบคุมการก่อสร้างอาคาร ฯลฯ มิได้ถือเอาสภาพอันเป็นที่น่ารังเกียจของอาคารพิพาทเป็นลักษณะสำคัญอันเป็นที่ตั้งแห่งการวินิจฉัยที่จะให้อำนาจเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นสั่งรื้อถอนอาคารพิพาท
คำว่า "ไม่มั่นคงแข็งแรงไม่ปลอดภัย อันอาจเป็นอันตรายต่อชีวิต ร่างกายและทรัพย์สิน" คำว่า "อาจ" ไม่มี ความหมายตรงกันกับคำว่า "น่า" เพราะโอกาสที่จะเป็นอันตราย ฯลฯ ตามความหมายแห่งถ้อยคำทั้งสองดังกล่าวนั้นต่างกัน กล่าวคือ ตามพจนานุกรมคำว่า "น่า" แปลว่า"ควร ฯลฯ " ซึ่งมีความหมายแน่นอนกว่า "อาจ" ซึ่งแปลงเพียงว่า " เป็นได้ ฯลฯ" เท่านั้น ฉะนั้น เมื่อคดีได้ความว่า อาคารพิพาทอยู่ใน สภาพมั่นคงพอที่อยู่อาศัยได้ตามปกติโดยปลอดภัย คำสั่งของจำเลย ซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นให้รื้อถอนอาคารพิพาทจึงมิได้ตั้งอยู่บนเหตุผล และไม่มีมูลฐานตามกฎหมาย
คำสั่งของจำเลยที่ 891/2506 สั่งให้บริษัท น. รื้อถอนอาคารของบริษัท น. ที่โจทก์เช่าอยู่ มิได้บังคับโจทก์อย่างใด จึงไม่มีข้อพิพาทเกี่ยวแก่คำสั่งนี้กับโจทก์ฉะนั้นโจทก์จะยกขึ้นอ้างเป็นมูลฟ้องหาได้ไม่ ส่วนคำสั่งของจำเลยที่ 3643/2506 ได้อ้างถึงคำสั่งของเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นที่ 762/1 และสั่งให้โจทก์ผู้ครอบครองอาคารเลิกใช้อาคาร กับให้จัดการขนย้าย ฯลฯ โจทก์จึงมีสิทธิยกขึ้นเป็นมูลฟ้องได้
คดีมีปัญหาโต้แย้งกันขึ้นว่า จำเลยซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ท้องถิ่น มีอำนาจสั่งให้รื้อถอนอาคารพิพาทหรือไม่ และคำสั่งของจำเลยเป็นคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ซึ่งเกี่ยวกับสิทธิและหน้าที่ของจำเลย ดังนี้ โจทก์มีอำนาจฟ้องให้เพิกถอนคำสั่งของจำเลยได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 875/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาในความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์: การกระทำโดยเชื่อโดยสุจริตว่ามีสิทธิทำประโยชน์ในที่ดิน
การเข้าไปไถนาในที่ดินซึ่งตนเชื่อโดยสุจริตใจว่าตนมีสิทธิโดยชอบที่จะเข้าไปทำได้ แม้จะทำให้คันนาของบุคคลอื่นเสียหาย ก็ถือไม่ได้ว่าได้มีเจตนากระทำผิดอันจะเป็นความผิดทางอาญาฐานทำให้เสียทรัพย์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 875/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาในความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์: การเชื่อโดยสุจริตว่ามีสิทธิในที่ดินเป็นเหตุยกเว้นความรับผิด
การเข้าไปไถนาในที่ดินซึ่งตนเชื่อโดยสุจริตใจว่าตนมีสิทธิโดยชอบที่จะเอาไปทำได้ แม้จะทำให้คันนาของบุคคลอื่นเสียหาย ก็ถือไม่ได้ว่าได้มีเจตนากระทำผิดอันจะเป็นความผิดทางอาญาฐานทำให้เสียทรัพย์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 795/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความประมาทในการขับรถ, เหตุสุดวิสัย, ค่าเสียหายต่อเนื่อง, ค่าขึ้นศาล
เหตุเกิดเมื่อรถเลี้ยวซ้ายเลยหัวโค้งไปแล้ว 10 เมตรเศษแม้ไฟหน้ารถจำเลยจะดับ ถ้าจำเลยขับรถไม่เร็วเกินไปแล้วรถก็จะไม่ไถลไปทางขวาจนตกถนนและเกิดการกระทบกระแทกโดยแรง จำเลยมิได้แสดงว่าเหตุที่ไฟหน้ารถดับนั้นเป็นเพราะพฤติการณ์ที่จำเลยไม่ต้องรับผิดชอบโดยได้ใช้ความระมัดระวังอันควรคาดหมายได้แล้ว จำเลยจึงไม่มีทางอ้างเอาเหตุที่ไฟหน้ารถดับว่าเป็นเหตุสุดวิสัยได้
โจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายตั้งแต่วันฟ้องต่อไปเป็นรายเดือนเดือนละ 3,000 บาท ไม่มีกำหนดเวลากี่เดือน และไม่มีกำหนดว่าจนกว่าจะชำระหนี้เสร็จเพราะมิใช่กรณีดอกเบี้ยค่าเช่าหรือค่าเสียหาย ระหว่างที่ยังค้างชำระหนี้อยู่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142(3,4) การที่ศาลกำหนดค่าเสียหายให้จำเลยชำระเป็น จำนวนแน่นอน จำนวนหนึ่งสำหรับทดแทนความเสียหายของโจทก์ ในอนาคตดังนี้จะเป็นการเกินคำขอหาได้ไม่ ส่วนที่ว่าโจทก์มิได้เสีย ค่าขึ้นศาลในคำขอเช่นนี้มาด้วยนั้น เห็นว่าคำขอให้ชำระค่าเสียหาย ในอนาคตดังที่โจทก์ขอมาเป็นรายเดือนนั้น โจทก์ต้องเสียค่าขึ้นศาล50 บาท ตามตาราง 1 ข้อ 4 ท้ายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง เป็นอีกส่วนหนึ่งต่างหากจากค่าขึ้นศาลในคำขออื่น ๆ ของโจทก์ โจทก์มิได้เสียค่าขึ้นศาลในส่วนนี้มาในศาลชั้นต้น แต่ก็มิใช่ว่า โจทก์ขัดขืนไม่ยอมเสียค่าฤชาธรรมเนียมอันจะเป็นเหตุให้ศาล ไม่รับคำฟ้อง ข้อนี้จึงไม่เป็นข้อที่จำเลยจะอ้างขึ้นให้ศาลฎีกา ยกคำขอของโจทก์ในส่วนนี้
โจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายตั้งแต่วันฟ้องต่อไปเป็นรายเดือนเดือนละ 3,000 บาท ไม่มีกำหนดเวลากี่เดือน และไม่มีกำหนดว่าจนกว่าจะชำระหนี้เสร็จเพราะมิใช่กรณีดอกเบี้ยค่าเช่าหรือค่าเสียหาย ระหว่างที่ยังค้างชำระหนี้อยู่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142(3,4) การที่ศาลกำหนดค่าเสียหายให้จำเลยชำระเป็น จำนวนแน่นอน จำนวนหนึ่งสำหรับทดแทนความเสียหายของโจทก์ ในอนาคตดังนี้จะเป็นการเกินคำขอหาได้ไม่ ส่วนที่ว่าโจทก์มิได้เสีย ค่าขึ้นศาลในคำขอเช่นนี้มาด้วยนั้น เห็นว่าคำขอให้ชำระค่าเสียหาย ในอนาคตดังที่โจทก์ขอมาเป็นรายเดือนนั้น โจทก์ต้องเสียค่าขึ้นศาล50 บาท ตามตาราง 1 ข้อ 4 ท้ายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง เป็นอีกส่วนหนึ่งต่างหากจากค่าขึ้นศาลในคำขออื่น ๆ ของโจทก์ โจทก์มิได้เสียค่าขึ้นศาลในส่วนนี้มาในศาลชั้นต้น แต่ก็มิใช่ว่า โจทก์ขัดขืนไม่ยอมเสียค่าฤชาธรรมเนียมอันจะเป็นเหตุให้ศาล ไม่รับคำฟ้อง ข้อนี้จึงไม่เป็นข้อที่จำเลยจะอ้างขึ้นให้ศาลฎีกา ยกคำขอของโจทก์ในส่วนนี้