พบผลลัพธ์ทั้งหมด 218 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 989/2500 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแย่งทำประโยชน์ในที่ดินร่วมของผู้มีกรรมสิทธิ์ การกระทำละเมิดและการคุ้มครองสิทธิผู้ทำประโยชน์
จำเลยที่ 1 เป็นเจ้าของและปกครองที่พิพาทอยู่ ได้อนุญาตให้โจทก์ใช้ที่ดินเพาะพันธ์ข้าวได้แล้ว โจทก์ก็มีสิทธิโดยชอบด้วยกฎหมายที่จะใช้ดินนั้นได้ เมื่อโจทก์สับถางที่ดินไว้เรียบร้อยแล้ว จำเลยที่ 2 แม้มีกรรมสิทธิ์ร่วมอยู่ด้วยในที่พิพาท กลับเข้าไปแย่งปลูกข้าวในที่ดินนั้นโดยรู้อยู่แล้วว่าโจทก์เข้าทำอยู่ก่อน การกระทำของจำเลยที่ 2 ย่อมเป็นการละเมิดต่อโจทก์.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 989/2500
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิใช้ประโยชน์ที่ดินจากการอนุญาตของเจ้าของ และการละเมิดจากผู้มีกรรมสิทธิร่วม
จำเลยที่ 1 เป็นเจ้าของและปกครองที่พิพาทอยู่ได้อนุญาตให้โจทก์ใช้ที่ดินเพาะพันธุ์ข้าวได้แล้ว โจทก์ก็มีสิทธิโดยชอบด้วยกฎหมายที่จะใช้ที่ดินนั้นได้ เมื่อโจทก์สับถางที่ดินไว้เรียบร้อยแล้วจำเลย ที่ 2 แม้มีกรรมสิทธิ์ร่วมอยู่ด้วยในที่พิพาทกลับเข้าไปแย่งปลูกข้าวในที่ดินนั้นโดยรู้อยู่แล้วว่าโจทก์เข้าทำอยู่ก่อน การกระทำของจำเลยที่ 2 ย่อมเป็นการละเมิดต่อโจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1424/2497
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การครอบครองปรปักษ์ในที่ดินร่วม: สิทธิกรรมสิทธิ์ตามส่วนที่ครอบครอง
เจ้าของร่วมในโฉนดที่ดินซึ่งต่างได้แยกกันครอบครองเพื่อตนโดยสุจริตด้วยความสงบและเปิดเผยเป็นเวลาเกิน 10 ปี ต่างย่อมได้กรรมสิทธิตามส่วนที่ได้ปกครองมา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1424/2497 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าของร่วมแยกครอบครองเกิน 10 ปี ได้กรรมสิทธิ์ในส่วนที่ครอบครอง
เจ้าของร่วมในโฉนดที่ดินซึ่งต่างได้แยกกันครอบครอง เพื่อคนโดยสุจริตด้วยความสงบและเปิดเผยเป็นเวลาเกิน 10 ปี ต่างย่อมได้กรรมสิทธิ์ตามส่วนที่ได้ปกครองมา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1351/2497
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิรวมและการแบ่งที่ดินตามส่วนเดิม แม้มีชื่อในโฉนด แต่ต้องพิจารณาการครอบครองจริง
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1357 เป็นเรื่องของความสันนิษฐานในเบื้องต้นเท่านั้น คู่กรณีย่อมมีสิทธินำสืบหักล้างความสันนิษฐานทั้งนี้เสียได้ว่าความจริงเป็นอย่างไร
โจทก์ฟ้องขอแบ่งที่ดินจากจำเลยตามส่วนที่มีชื่อในโฉนดเมื่อทางพิจารณาได้ความว่าโจทก์จำเลยเป็นเจ้าของที่ดินมีส่วนไม่เท่ากันมาแต่เดิมและต่างครอบครอง เป็นส่วนสัดแต่แรกก่อนออกโฉนดสืบตลอดมาดังนี้ ก็ต้องแบ่งที่ดินตามส่วนที่ผู้ใดเป็นเจ้าของอันแท้จริง เพราะเป็นเรื่องกรรมสิทธิรวม หาใช่เรื่องครอบครองโดยปรปักษ์ไม่
โจทก์ฟ้องขอแบ่งที่ดินจากจำเลยตามส่วนที่มีชื่อในโฉนดเมื่อทางพิจารณาได้ความว่าโจทก์จำเลยเป็นเจ้าของที่ดินมีส่วนไม่เท่ากันมาแต่เดิมและต่างครอบครอง เป็นส่วนสัดแต่แรกก่อนออกโฉนดสืบตลอดมาดังนี้ ก็ต้องแบ่งที่ดินตามส่วนที่ผู้ใดเป็นเจ้าของอันแท้จริง เพราะเป็นเรื่องกรรมสิทธิรวม หาใช่เรื่องครอบครองโดยปรปักษ์ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1351/2497 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิรวมและการสันนิษฐานเรื่องการครอบครองที่ดิน ศาลวินิจฉัยตามส่วนได้เสียจริง
ป.พ.พ.ม.1357 เป็นเรื่องของความสันนิษฐานในเบื้องต้นเท่านั้นคู่กรณีย่อมมีสิทธินำสืบหักล้างความสันนิษฐานทั้งนี้เสียได้ความว่าความจริงเป็นอย่างไร
โจทย์ฟ้องขอแบ่งที่ดินจากจำเลยตามส่วนที่มีชื่อในโฉนด เมื่อทางพิจารณาได้ความว่าโจทก์จำเลยเป็นเจ้าของที่ดินมีส่วนไม่เท่ากันมาแต่เดิมและต่างครอบครองเป็นส่วนสัดแต่แรกก่อนออกโฉนดสืบตลอดมาดังนี้ ก็ต้องแบ่งที่ดินตามส่วนที่ผู้ใดเป็นเจ้าของอันแท้จริง เพราะเป็นเรื่องกรรมสิทธิรวมหาใช่เรื่องครอบครองโดยปรปักษ์ไม่
โจทย์ฟ้องขอแบ่งที่ดินจากจำเลยตามส่วนที่มีชื่อในโฉนด เมื่อทางพิจารณาได้ความว่าโจทก์จำเลยเป็นเจ้าของที่ดินมีส่วนไม่เท่ากันมาแต่เดิมและต่างครอบครองเป็นส่วนสัดแต่แรกก่อนออกโฉนดสืบตลอดมาดังนี้ ก็ต้องแบ่งที่ดินตามส่วนที่ผู้ใดเป็นเจ้าของอันแท้จริง เพราะเป็นเรื่องกรรมสิทธิรวมหาใช่เรื่องครอบครองโดยปรปักษ์ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 780/2497 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิร่วมในที่ดิน: สันนิษฐานว่ามีส่วนได้เสีย และภาระการพิสูจน์ของจำเลย
โจทก์ฟ้องว่า มีกรรมสิทธิในที่ดินร่วมกับจำเลย จำเลยสู้คดีว่าจำเลยเป็นผู้ออกเงินซื้อที่รายนี้แล้วลงชื่อโจทก์เป็นผู้ถือกรรมสิทธิด้วยเพื่อลวงมิให้ญาติอื่นมาแย่งมรดก ดังนี้ในเบื้องต้นต้องสันนิษฐานว่าโจทก์มีกรรมสิทธิอยู่ด้วยส่วนหนึ่งเป็นหน้าที่ของจำเลยต้องนำสืบหักล้างข้อสันนิษฐานนี้
โจทก์ฟ้องขอแบ่งแยกที่ดินบ้านเรือนมีคำขอให้ใช้ราคามาด้วยเป็นจำนวนค่อนข้างสูงจำเลยก็ขอให้ใช้ราคาแทนแบ่ง เมื่อศาลเห็นสมควร ศาลอาจพิพากษาให้แบ่งโดยวิธีให้จำเลยใช้เงินราคาก็ได้
โจทก์ฟ้องขอแบ่งแยกที่ดินบ้านเรือนมีคำขอให้ใช้ราคามาด้วยเป็นจำนวนค่อนข้างสูงจำเลยก็ขอให้ใช้ราคาแทนแบ่ง เมื่อศาลเห็นสมควร ศาลอาจพิพากษาให้แบ่งโดยวิธีให้จำเลยใช้เงินราคาก็ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 780/2497
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิร่วมในที่ดิน: สันนิษฐานว่ามีส่วนได้เสีย, จำเลยมีหน้าที่พิสูจน์หักล้าง
โจทก์ฟ้องว่า มีกรรมสิทธิในที่ดินร่วมกับจำเลย จำเลยสู้คดีว่าจำเลยเป็นผู้ออกเงินซื้อที่รายนี้แล้วลงชื่อโจทก์เป็นผู้ถือกรรมสิทธิด้วยเพื่อลวงมิให้ญาติอื่นมาแย่งมรดก ดังนี้ในเบื้องต้นต้องสันนิษฐานว่าโจทก์มีกรรมสิทธิอยู่ด้วยส่วนหนึ่งเป็นหน้าที่ของจำเลยต้องนำสืบหักล้างข้อสันนิษฐานนี้
โจทก์ฟ้องขอแบ่งแยกที่ดินบ้านเรือนมีคำขอให้ใช้ราคามาด้วยเป็นจำนวนค่อนข้างสูง จำเลยก็ขอให้ใช้ราคาแทนแบ่งเมื่อศาลเห็นสมควร ศาลอาจพิพากษาให้แบ่งโดยวิธีให้จำเลยใช้เงินราคาก็ได้
โจทก์ฟ้องขอแบ่งแยกที่ดินบ้านเรือนมีคำขอให้ใช้ราคามาด้วยเป็นจำนวนค่อนข้างสูง จำเลยก็ขอให้ใช้ราคาแทนแบ่งเมื่อศาลเห็นสมควร ศาลอาจพิพากษาให้แบ่งโดยวิธีให้จำเลยใช้เงินราคาก็ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 289/2495 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าของร่วม vs. เจ้าของทรัพย์สินที่มีส่วนแบ่งชัดเจน, สิทธิในการบังคับขายตามสัญญา, และเบี้ยปรับ
เจ้าของรวมตาม ป.ม.แพ่งฯมาตรา 1357 นั้น ต้องเป็นเจ้าของทรัพย์สสินอันรวมกันไม่ทราบว่าส่วนของใครเท่าไร ตรงไหนในทรัพย์นั้น ๆ กฎหมายจึงสันนิษฐษนไว้ก่อนว่าผู้เป็นเจ้าของรวมมีส่วนเท่ากัน
โฉนดที่ดินมีชื่อบุคคล 2 คนเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ แต่ได้จดทะเบียนบรรยายส่วนของใครไว้ในโฉนดแล้วว่า ของใครไว้ในโฉนดแล้วว่า ของใครอยู่ตอนไหน เป็นจำนวนเนื้อที่เท่าไร ชัดแจ้งแล้ว เช่นนี้ หาใช่ เป็นเจ้าของรวมไม่
เงื่อนไขแห่งนิติกรรมานั้นหมายถึงเหตุการณ์อันใดอันหนึ่งซึ่งจะเกิดขึ้นในอนาคตและไม่แน่นอน
สัญญาจะซื้อขายมีข้อตกลงกันว่าผู้ซื้อขายกันในวันมาทำการจะทะเบียนแบ่งแยกที่ดินนั้น หาใช่เป็นเงื่อนไขไม่
แม้สัญญาจะซื้อขายที่ดินได้กำหนดเบี้ยปรับกันไว้ ในเมื่อผู้ขายผิดสัญญาก็ดี ตามป.ม.วิ.แพ่งมาตรา 380 บัญญัติให้สิทธิแก่เจ้าหนี้เลือกเรียกเอาเบี้ยแรับชำระหนี้แต่อย่างหนึ่งอย่างใดได้ ฉะนั้นถ้าผู้ขายทำผิดสัญญาโดยไม่ยอมขายที่ดินให้แก่ผู้ซื้อ ผู้ซื้อก็ย่อมมีสิทธิฟ้องร้องผู้ขายขอให้ศาลบังคับให้โอนขายตามสัญญาได้
(อ้างฎีกาที่ 131 / 1449)
โฉนดที่ดินมีชื่อบุคคล 2 คนเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ แต่ได้จดทะเบียนบรรยายส่วนของใครไว้ในโฉนดแล้วว่า ของใครไว้ในโฉนดแล้วว่า ของใครอยู่ตอนไหน เป็นจำนวนเนื้อที่เท่าไร ชัดแจ้งแล้ว เช่นนี้ หาใช่ เป็นเจ้าของรวมไม่
เงื่อนไขแห่งนิติกรรมานั้นหมายถึงเหตุการณ์อันใดอันหนึ่งซึ่งจะเกิดขึ้นในอนาคตและไม่แน่นอน
สัญญาจะซื้อขายมีข้อตกลงกันว่าผู้ซื้อขายกันในวันมาทำการจะทะเบียนแบ่งแยกที่ดินนั้น หาใช่เป็นเงื่อนไขไม่
แม้สัญญาจะซื้อขายที่ดินได้กำหนดเบี้ยปรับกันไว้ ในเมื่อผู้ขายผิดสัญญาก็ดี ตามป.ม.วิ.แพ่งมาตรา 380 บัญญัติให้สิทธิแก่เจ้าหนี้เลือกเรียกเอาเบี้ยแรับชำระหนี้แต่อย่างหนึ่งอย่างใดได้ ฉะนั้นถ้าผู้ขายทำผิดสัญญาโดยไม่ยอมขายที่ดินให้แก่ผู้ซื้อ ผู้ซื้อก็ย่อมมีสิทธิฟ้องร้องผู้ขายขอให้ศาลบังคับให้โอนขายตามสัญญาได้
(อ้างฎีกาที่ 131 / 1449)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 289/2495
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าของรวม vs. สัญญาซื้อขาย: การแบ่งแยกกรรมสิทธิ์และเงื่อนไขสัญญา
เจ้าของรวมตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1357 นั้นต้องเป็นเจ้าของทรัพย์สินอันรวมกันอยู่ไม่ทราบว่าส่วนของใครเท่าไร ตรงไหนในทรัพย์นั้นๆ กฎหมายจึงให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้เป็นเจ้าของรวมมีส่วนเท่ากัน
โฉนดที่ดินมีชื่อบุคคล 2 คนเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ แต่ได้จดทะเบียนบรรยายส่วนของใครไว้ในโฉนดแล้วว่าของใครอยู่ตอนไหน เป็นจำนวนเนื้อที่เท่าไรชัดแจ้งแล้วเช่นนี้หาใช่เป็นเจ้าของรวมไม่
เงื่อนไขแห่งนิติกรรมนั้นหมายถึงเหตุการณ์อันใดอันหนึ่งซึ่งจะเกิดขึ้นในอนาคตและ ไม่แน่นอน
สัญญาจะซื้อขายมีข้อตกลงกันว่าผู้ซื้อผู้ขายจะมาทำการโอนซื้อขายกันในวันมาทำการจดทะเบียนแบ่งแยกที่ดินนั้น หาใช่เป็นเงื่อนไขไม่
แม้สัญญาจะซื้อขายที่ดินได้ กำหนดเบี้ยปรับกันไว้ในเมื่อผู้ขายผิดสัญญาก็ดี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 380 บัญญัติให้สิทธิแก่เจ้าหนี้เลือกเรียกเอาเบี้ยปรับหรือเรียกร้องให้ลูกหนี้ชำระหนี้แต่อย่างหนึ่งอย่างใดได้ ฉะนั้นถ้าผู้ขายทำผิดสัญญาโดยไม่ยอมขายที่ดินให้แก่ผู้ซื้อผู้ซื้อก็ย่อมมีสิทธิฟ้องร้องผู้ขายขอให้ศาลบังคับให้โอนขายตามสัญญาได้(อ้างฎีกาที่ 131/2489)
โฉนดที่ดินมีชื่อบุคคล 2 คนเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ แต่ได้จดทะเบียนบรรยายส่วนของใครไว้ในโฉนดแล้วว่าของใครอยู่ตอนไหน เป็นจำนวนเนื้อที่เท่าไรชัดแจ้งแล้วเช่นนี้หาใช่เป็นเจ้าของรวมไม่
เงื่อนไขแห่งนิติกรรมนั้นหมายถึงเหตุการณ์อันใดอันหนึ่งซึ่งจะเกิดขึ้นในอนาคตและ ไม่แน่นอน
สัญญาจะซื้อขายมีข้อตกลงกันว่าผู้ซื้อผู้ขายจะมาทำการโอนซื้อขายกันในวันมาทำการจดทะเบียนแบ่งแยกที่ดินนั้น หาใช่เป็นเงื่อนไขไม่
แม้สัญญาจะซื้อขายที่ดินได้ กำหนดเบี้ยปรับกันไว้ในเมื่อผู้ขายผิดสัญญาก็ดี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 380 บัญญัติให้สิทธิแก่เจ้าหนี้เลือกเรียกเอาเบี้ยปรับหรือเรียกร้องให้ลูกหนี้ชำระหนี้แต่อย่างหนึ่งอย่างใดได้ ฉะนั้นถ้าผู้ขายทำผิดสัญญาโดยไม่ยอมขายที่ดินให้แก่ผู้ซื้อผู้ซื้อก็ย่อมมีสิทธิฟ้องร้องผู้ขายขอให้ศาลบังคับให้โอนขายตามสัญญาได้(อ้างฎีกาที่ 131/2489)