พบผลลัพธ์ทั้งหมด 817 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 300/2501 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การคัดค้านอำนาจสอบสวนต้องยกขึ้นกล่าวในศาลชั้นต้น มิฉะนั้นศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
การคัดค้านว่าพนักงานสอบสวนทำการสอบสวนโดยไม่มีเขตอำนาจนั้น ต้องกล่าวอ้างไว้ในศาลชั้นต้น มิฉะนั้นศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยให้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 299/2501 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าช่วงต้องได้รับอนุญาตจากผู้ให้เช่าตามสัญญา หากไม่ได้ขออนุญาต ถือเป็นผิดสัญญา
เมื่อฟ้องโจทก์อาศัยสัญญาเช่าที่ทำกันใหม่ซึ่งมีข้อความบ่งชัดว่า "ผู้เช่าช่วงจะต้องได้รับอนุญาตจากผู้ให้เช่าเป็นหนังสือก่อนจึงจะให้เช่าช่วงได้" ดังนี้ แม้เจ้าของที่ดินเดิมจะได้ยินยอมให้จำเลยให้คนอื่นเช่าช่วงห้องของจำเลยที่ปลูกในที่ดินนั้นแล้วที่ดินจึงได้โอนมายังโจทก์ก็ตาม จำเลยมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามสัญญาใหม่ที่ทำไว้กับโจทก์ เมื่อไม่ได้รับอนุญาตในเรื่องเช่าช่วง จึงถือว่าจำเลยผิดสัญญาโจทก์มีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้
วัตถุประสงค์ของสัญญาดังกล่าว ชอบด้วยกฎหมายและไม่เกี่ยวแก่ความสงบเรียบร้อยของประชาชน
วัตถุประสงค์ของสัญญาดังกล่าว ชอบด้วยกฎหมายและไม่เกี่ยวแก่ความสงบเรียบร้อยของประชาชน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 299/2501
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าช่วง: การขออนุญาตจากผู้ให้เช่าตามสัญญาใหม่มีผลผูกพันแม้เจ้าของเดิมยินยอมก่อนหน้า
เมื่อฟ้องโจทก์อาศัยสัญญาเช่าที่ทำกันใหม่ซึ่งมีข้อความบ่งชัดว่า'ผู้เช่าช่วงจะต้องได้รับอนุญาตจากผู้ให้เช่าเป็นหนังสือก่อนจึงจะให้เช่าช่วงได้'ดังนี้ แม้เจ้าของที่ดินเดิมจะได้ยินยอมให้จำเลยให้คนอื่นเช่าช่วงห้องของจำเลยที่ปลูกในที่ดินนั้นแล้วที่ดินจึงได้โอนมายังโจทก์ก็ตามจำเลยก็มีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามสัญญาใหม่ที่ทำไว้กับโจทก์เมื่อไม่ได้รับอนุญาตในเรื่องเช่าช่วงจึงถือว่าจำเลยผิดสัญญาโจทก์มีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้
วัตถุประสงค์ของสัญญาดังกล่าวชอบด้วยกฎหมายและไม่เกี่ยวแก่ความสงบเรียบร้อยของประชาชน
วัตถุประสงค์ของสัญญาดังกล่าวชอบด้วยกฎหมายและไม่เกี่ยวแก่ความสงบเรียบร้อยของประชาชน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 191/2501
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกห้างหุ้นส่วนเมื่อหุ้นส่วนเสียชีวิต และสิทธิในการชำระบัญชี
การเป็นหุ้นส่วนกันนั้นเป็นเรื่องเฉพาะตัวของผู้เป็นหุ้นส่วนนั้นๆ เอง ห้างหุ้นส่วนย่อมเลิกกันเมื่อผู้เป็นหุ้นส่วนคนใดคนหนึ่งตายผู้รับมรดกก็ดีหรือผู้จัดการมรดกของผู้เป็นหุ้นส่วนที่ตายจะยืนยันถือสิทธิ์โดยลำพังเข้าไปเป็นหุ้นส่วนแทนที่ผู้ตายต่อไปนั้นไม่ได้ และนัยที่ตรงข้ามผู้เป็นหุ้นส่วนอื่นจะฟ้องขอให้บังคับให้ผู้รับมรดกหรือผู้จัดการมรดกเช่นว่านั้นเข้ามาเป็นหุ้นส่วนแทนที่ผู้ตายต่อไปก็ไม่ได้
โจทก์ฟ้องขอให้ตั้งผู้ชำระบัญชีของห้างหุ้นส่วนผู้จัดการมรดกและผู้รับมรดกจะต้องเข้ามาแทนที่ของหุ้นส่วนผู้ตายเพื่อการชำระบัญชีหลักกฎหมายในเรื่องการที่ต้องเข้ามาแทนที่เพื่อการชำระบัญชีเป็นคนละเรื่องกับการเข้ามาเป็นหุ้นส่วนแทนที่ผู้ตาย
โจทก์เป็นหุ้นส่วนกับผู้ตายจำเลยซึ่งเป็นผู้รับมรดกและผู้จัดการมรดกของผู้ตายปฏิเสธไม่ยอมคิดบัญชี โจทก์ย่อมมีสิทธิฟ้องจำเลยได้
โจทก์ฟ้องและมีคำขอท้ายฟ้องให้ศาลแต่งตั้งผู้ชำระบัญชีจัดการชำระบัญชีของหุ้นส่วนตามกฎหมายลอยๆ เช่นนี้เป็นการเพียงพอแล้วคำขอท้ายฟ้องของโจทก์เช่นว่านี้ไม่ขัดต่อประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา172 และการที่ศาลแต่งตั้งเจ้าพนักงานบังคับคดีเป็นผู้ชำระบัญชีก็ไม่ใช่เป็นเรื่องเกินคำขอแต่ประการใด
โจทก์ฟ้องขอให้ตั้งผู้ชำระบัญชีของห้างหุ้นส่วนผู้จัดการมรดกและผู้รับมรดกจะต้องเข้ามาแทนที่ของหุ้นส่วนผู้ตายเพื่อการชำระบัญชีหลักกฎหมายในเรื่องการที่ต้องเข้ามาแทนที่เพื่อการชำระบัญชีเป็นคนละเรื่องกับการเข้ามาเป็นหุ้นส่วนแทนที่ผู้ตาย
โจทก์เป็นหุ้นส่วนกับผู้ตายจำเลยซึ่งเป็นผู้รับมรดกและผู้จัดการมรดกของผู้ตายปฏิเสธไม่ยอมคิดบัญชี โจทก์ย่อมมีสิทธิฟ้องจำเลยได้
โจทก์ฟ้องและมีคำขอท้ายฟ้องให้ศาลแต่งตั้งผู้ชำระบัญชีจัดการชำระบัญชีของหุ้นส่วนตามกฎหมายลอยๆ เช่นนี้เป็นการเพียงพอแล้วคำขอท้ายฟ้องของโจทก์เช่นว่านี้ไม่ขัดต่อประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา172 และการที่ศาลแต่งตั้งเจ้าพนักงานบังคับคดีเป็นผู้ชำระบัญชีก็ไม่ใช่เป็นเรื่องเกินคำขอแต่ประการใด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 191/2501 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชีเมื่อหุ้นส่วนถึงแก่กรรม ผู้รับมรดกไม่ต้องเป็นหุ้นส่วนแทน
การเป็นหุ้นส่วนกันนั้น เป็นเรื่องเฉพาะตัวของผู้เป็นหุ้นส่วนนั้น ๆ เอง ห้างหุ้นส่วนย่อมเลิกกันเมื่อผู้เป็นหุ้นส่วนคนใดคนหนึ่งตาย ผู้รับมรดกก็ดีหรือผู้จัดการมรดกของผู้เป็นหุ้นส่วนที่ตายจะยืนยันถือสิทธิ์โดยลำพังเข้าไปเป็นหุ้นส่วนแทนที่ผู้ตายต่อไปนั้นไม่ได้ และนัยที่ตรงข้ามผู้เป็นหุ้นส่วนอื่นจะฟ้องขอให้บังคับให้ผู้รับมรดกหรือผู้จัดการมรดกเช่นว่านั้นเข้ามาเป็นหุ้นส่วนแทนที่ผู้ตายต่อไปก็ไม่ได้
โจทก์ฟ้องขอให้ตั้งผู้ชำระบัญชีของห้างหุ้นส่วน ผู้จัดการมรดกและผู้รับมรดกจะต้องเข้ามาแทนที่ของหุ้นส่วนผู้ตายเพื่อการชำระบัญชี หลักกฎหมายในเรื่องการที่ต้องเข้ามาแทนที่เพื่อการชำระบัญชีเป็นคนละเรื่องกับการเข้ามาเป็นหุ้นส่วนแทนที่ผู้ตาย
โจทก์เป็นหุ้นส่วนกับผู้ตาย จำเลยซึ่งเป็นผู้รับมรดกและผู้จัดการมรดกของผู้ตายปฏิเสธไม่ยอมคิดบัญชี โจทก์ย่อมมีสิทธิฟ้องจำเลยได้
โจทก์ฟ้องและมีคำขอท้ายฟ้องให้ศาลแต่งตั้งผู้ชำระบัญชีจัดการชำระบัญชีของหุ้นส่วนตามกฎหมายลอย ๆ เช่นนี้เป็นการเพียงพอแล้ว คำขอท้ายฟ้องของโจทก์เช่นว่านี้ ไม่ขัดต่อ ป.วิ.แพ่ง มาตรา 172 และการที่ศาลแต่งตั้งเจ้าพนักงานบังคับคดีเป็นผู้ชำระบัญชี ก็ไม่ใช่เป็นเรื่องเกินคำขอแต่ประการใด
โจทก์ฟ้องขอให้ตั้งผู้ชำระบัญชีของห้างหุ้นส่วน ผู้จัดการมรดกและผู้รับมรดกจะต้องเข้ามาแทนที่ของหุ้นส่วนผู้ตายเพื่อการชำระบัญชี หลักกฎหมายในเรื่องการที่ต้องเข้ามาแทนที่เพื่อการชำระบัญชีเป็นคนละเรื่องกับการเข้ามาเป็นหุ้นส่วนแทนที่ผู้ตาย
โจทก์เป็นหุ้นส่วนกับผู้ตาย จำเลยซึ่งเป็นผู้รับมรดกและผู้จัดการมรดกของผู้ตายปฏิเสธไม่ยอมคิดบัญชี โจทก์ย่อมมีสิทธิฟ้องจำเลยได้
โจทก์ฟ้องและมีคำขอท้ายฟ้องให้ศาลแต่งตั้งผู้ชำระบัญชีจัดการชำระบัญชีของหุ้นส่วนตามกฎหมายลอย ๆ เช่นนี้เป็นการเพียงพอแล้ว คำขอท้ายฟ้องของโจทก์เช่นว่านี้ ไม่ขัดต่อ ป.วิ.แพ่ง มาตรา 172 และการที่ศาลแต่งตั้งเจ้าพนักงานบังคับคดีเป็นผู้ชำระบัญชี ก็ไม่ใช่เป็นเรื่องเกินคำขอแต่ประการใด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 136/2501
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแต่งตั้งทนายความและการแก้ไขเอกสารแต่งทนายในคดีแพ่ง ศาลมีอำนาจแก้ไขให้ถูกต้องได้
เมื่อพฤติการณ์มีเหตุผลและทำให้น่าเชื่อว่าจำเลยได้แต่งให้ทนายอีกคนหนึ่งเป็นทนายความของจำเลยในคดีไว้แล้วจริงแต่ปรากฏว่าใบแต่งทนายความสำหรับทนายคนนั้นไม่มีอยู่ในสำนวนเมื่อทนายจำเลยคนนั้นลงชื่อในคำฟ้องอุทธรณ์มาศาลก็มีอำนาจที่จะอนุญาตให้แก้ไขจัดทำเสียให้เป็นการถูกต้องได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 27ยังไม่ชอบที่จะยกอุทธรณ์ของจำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 136/2501 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแต่งตั้งทนายความและการแก้ไขเอกสารแต่งทนายตาม ป.วิ.แพ่ง มาตรา 27
เมื่อพฤติการณ์มีเหตุผลและทำให้น่าเชื่อว่าจำเลยได้แต่งให้ทนายอีกคนหนึ่งเป็นทนายความของจำเลยในคดีไว้แล้วจริง แต่ปรากฎว่าใบแต่งทนายความสำหรับทนายคนนั้นไม่มีอยู่ในสำนวนเมื่อทนายจำเลยคนนั้นลงชื่อในคำฟ้องอุทธรณ์มา ศาลก็มีอำนาจที่จะอนุญาตให้แก้ไขจัดทำเสียให้เป็นการถูกต้องได้ตาม ป.วิ.แพ่ง มาตรา 27 ยังไม่ชอบที่จะยกอุทธรณ์ของจำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2016/2500
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบุกรุกที่ดิน: การร้องทุกข์ การงดรอการดำเนินคดี และการนำสืบพฤติการณ์ใหม่เพื่อพิสูจน์การผิดสัญญา
นาแปลงที่จำเลยบุกรุก โจทก์ร่วมได้โอนไปให้บุตรและบุตรไปแจ้ง ส.ค.1 แล้ว โจทก์ร่วมจึงไม่ใช่เจ้าของที่นาดังกล่าว ดังนั้นการร้องทุกข์ของโจทก์ร่วมจึงไม่เป็นการร้องทุกข์ตามกฎหมาย
วันที่ 16 มี.ค. 99 จำเลยเข้าไปบุกรุกยกคันนา นายเชิดผู้เสียหาย (โจทก์ร่วมอีกคนหนึ่ง) ไปแจ้งผู้ใหญ่บ้านผู้ใหญ่บ้านห้ามจำเลยจำเลยว่า "เป็นนาของนายเชิด ผมก็ไม่ทำ" ผู้ใหญ่บ้านถามนายเชิด โจทก์ร่วมว่าจะให้ทำอย่างไรต่อไป นายเชิดว่า" ถ้าเขาหยุดแล้วก็ไม่เอาเรื่อง" ต่อมาวันที่ 3 พ.ค. 99 จำเลยกลับเข้าไปหว่านข้าวในนานั้นอีก นายเชิดจึงไปแจ้งผู้ใหญ่บ้านและอำเภอได้ดำเนินการสอบสวนคดีนี้ แสดงให้เห็นว่าถ้าจำเลยเชื่อฟังนายเชิดก็ไม่เอาเรื่อง ถ้าไม่ฟังก็ต้องเอาเรื่องกันต่อไป ซึ่งเท่ากับให้งดรอการดำเนินคดีของเจ้าพนักงานไว้ชั่วขณะหนึ่งเท่านั้น เมื่อจำเลยกลับเข้าไปทำอีก ผู้เสียหายจึงเอาเรื่องคือให้เจ้าพนักงานดำเนินคดีที่งดรอไว้นั้นเอง ไม่มีทางที่จะให้รับฟังว่าความผิดฐานบุกรุกตอนแรกในวันที่ 16 มี.ค. 99 นั้นเป็นอันสูญสิ้นไปแล้ว
คดีนี้ได้ความว่าจำเลยกระทำผิด 2 คราวคือในวันที่ 16 มี.ค. 99 กับในวันที่ 3 พ.ค. 99 และผู้เสียหายได้ร้องทุกข์ไว้ทั้ง 2 คราว แต่ฟ้องโจทก์ระบุชัดเจนว่าผู้เสียหายร้องทุกข์สำหรับความผิดในตอนแรก (16 มี.ค. 99) เท่านั้น โจทก์จึงไม่ได้กล่าวฟ้องถึงความผิดในตอนหลัง (3 พฤษภาคม 2499) เลย จึงถือว่าโจทก์ไม่ได้ฟ้อง จึงลงโทษจำเลยสำหรับความผิดตอนหลังนี้ไม่ได้ แต่โจทก์มีสิทธิ์ที่จะนำสืบถึงพฤติการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ในตอนหลังคือในวันที่ 3 พฤษภาคม 2499 เพื่อแสดงให้เห็นว่าจำเลยทำผิดคำรับรองในตอนต้น(16 มีนาคม 2499) ซึ่งเป็นข้อความที่เกี่ยวกับประเด็นโดยตรง หาเป็นนอกฟ้องนอกประเด็นไม่ (ประชุมใหญ่ ครั้งที่2/2501)
วันที่ 16 มี.ค. 99 จำเลยเข้าไปบุกรุกยกคันนา นายเชิดผู้เสียหาย (โจทก์ร่วมอีกคนหนึ่ง) ไปแจ้งผู้ใหญ่บ้านผู้ใหญ่บ้านห้ามจำเลยจำเลยว่า "เป็นนาของนายเชิด ผมก็ไม่ทำ" ผู้ใหญ่บ้านถามนายเชิด โจทก์ร่วมว่าจะให้ทำอย่างไรต่อไป นายเชิดว่า" ถ้าเขาหยุดแล้วก็ไม่เอาเรื่อง" ต่อมาวันที่ 3 พ.ค. 99 จำเลยกลับเข้าไปหว่านข้าวในนานั้นอีก นายเชิดจึงไปแจ้งผู้ใหญ่บ้านและอำเภอได้ดำเนินการสอบสวนคดีนี้ แสดงให้เห็นว่าถ้าจำเลยเชื่อฟังนายเชิดก็ไม่เอาเรื่อง ถ้าไม่ฟังก็ต้องเอาเรื่องกันต่อไป ซึ่งเท่ากับให้งดรอการดำเนินคดีของเจ้าพนักงานไว้ชั่วขณะหนึ่งเท่านั้น เมื่อจำเลยกลับเข้าไปทำอีก ผู้เสียหายจึงเอาเรื่องคือให้เจ้าพนักงานดำเนินคดีที่งดรอไว้นั้นเอง ไม่มีทางที่จะให้รับฟังว่าความผิดฐานบุกรุกตอนแรกในวันที่ 16 มี.ค. 99 นั้นเป็นอันสูญสิ้นไปแล้ว
คดีนี้ได้ความว่าจำเลยกระทำผิด 2 คราวคือในวันที่ 16 มี.ค. 99 กับในวันที่ 3 พ.ค. 99 และผู้เสียหายได้ร้องทุกข์ไว้ทั้ง 2 คราว แต่ฟ้องโจทก์ระบุชัดเจนว่าผู้เสียหายร้องทุกข์สำหรับความผิดในตอนแรก (16 มี.ค. 99) เท่านั้น โจทก์จึงไม่ได้กล่าวฟ้องถึงความผิดในตอนหลัง (3 พฤษภาคม 2499) เลย จึงถือว่าโจทก์ไม่ได้ฟ้อง จึงลงโทษจำเลยสำหรับความผิดตอนหลังนี้ไม่ได้ แต่โจทก์มีสิทธิ์ที่จะนำสืบถึงพฤติการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ในตอนหลังคือในวันที่ 3 พฤษภาคม 2499 เพื่อแสดงให้เห็นว่าจำเลยทำผิดคำรับรองในตอนต้น(16 มีนาคม 2499) ซึ่งเป็นข้อความที่เกี่ยวกับประเด็นโดยตรง หาเป็นนอกฟ้องนอกประเด็นไม่ (ประชุมใหญ่ ครั้งที่2/2501)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2016/2500 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบุกรุกที่ดินและการงดรอการดำเนินคดี ความผิดฐานบุกรุกยังคงอยู่แม้จะมีการตกลงไม่ดำเนินคดี
นาแปลงที่จำเลยบุกรุก โจทก์ร่วมได้โอนไปให้บุตรและบุตรไปแจ้ง ส.ค.1 แล้ว โจทก์ร่วมจึงไม่ใช่เจ้าของที่นาดังกล่าว ดังนั้นการร้องทุกข์ของโจทก์ร่วมจึงไม่เป็นการร้องทุกข์ตามกฎหมาย
วันที่ 16 มี.ค.99 จำเลยเข้าไปบุกรุกยกคันนา นายเชิดผู้เสียหาย(โจทก์ร่วมอีกคนหนึ่ง) ไปแจ้งผู้ใหญ่บ้าน ๆ ห้ามจำเลย ๆ ว่า"เป็นนาของนายเชิด ผมก็ไม่ทำ" ผู้ใหญ่บ้านถามนายเชิด โจทก์ร่วมว่าจะให้ทำอย่างไรต่อไป นายเชิดว่า "ถ้าเขาหยุดแล้วก็ไม่เอาเรื่อง" ต่อมาวันที่ 3 พ.ค.99 จำเลยกลับเข้าไปหว่านข้าวในนานั้นอีก นายเชิดจึงไปแจ้งผู้ใหญ่บ้านและนายอำเภอได้ดำเนินการสอบสวนคดีนี้ แสดงให้เห็นว่าถ้าจำเลยเชื่อฟังนายเชิดก็ไม่เอาเรื่อง ถ้าไม่ฟังก็ต้องเอาเรื่องกันต่อไป ซึ่งเท่ากับให้งดรอการดำเนินคดีของเจ้าพนักงานไว้ชั่วขณะหนึ่งเท่านั้น เมื่อจำเลยกลับเข้าไปทำงานอีก ผู้เสียหายจึงเอาเรื่องคือให้เจ้าพนักงานดำเนินคดีที่งดรอไว้นั้นเอง ไม่มีทางที่จะให้รับฟังว่าความผิดฐานบุกรุกตอนแรกในวันที่ 16 มี.ค.99 นั้นเป็นอันสูญสิ้นไปแล้ว
คดีนี้ได้ความว่าจำเลยกระทำผิด 2 คราวคือในวันที่ 16 มี.ค.99 กับในวันที่ 3 พ.ค.99 และผู้เสียหายได้ร้องทุกข์ไว้ทั้ง 2 คราว แต่ฟ้องโจทย์ระบุชัดเจนว่าผู้เสียหายร้องทุกข์สำหรับความผิดในตอนแรก (16 มี.ค.99)เท่านั้น โจทก์จึงไม่ได้กล่าวฟ้องถึงความผิดในตอนหลัง (3 พ.ค.99) เลย จึงถือว่าโจทก์ไม่ได้ฟ้อง จึงลงโทษจำเลยสำหรับความผิดตอนหลังนี้ไม่ได้ แต่โจทก์มีสิทธ์ที่จะนำสืบถึงพฤติการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ในตอนหลังคือ ในวันที่ 3 พ.ค.99 เพื่อแสดงให้เห็นว่าจำเลยทำผิดคำรับรองในตอนต้น ( 16 มี.ค.99 ) ซึ่งเป็นข้อความที่เกี่ยวกับประเด็นโดยตรง หาเป็นนอกฟ้องนอกประเด็นไม่.
( ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 2/2501 )
วันที่ 16 มี.ค.99 จำเลยเข้าไปบุกรุกยกคันนา นายเชิดผู้เสียหาย(โจทก์ร่วมอีกคนหนึ่ง) ไปแจ้งผู้ใหญ่บ้าน ๆ ห้ามจำเลย ๆ ว่า"เป็นนาของนายเชิด ผมก็ไม่ทำ" ผู้ใหญ่บ้านถามนายเชิด โจทก์ร่วมว่าจะให้ทำอย่างไรต่อไป นายเชิดว่า "ถ้าเขาหยุดแล้วก็ไม่เอาเรื่อง" ต่อมาวันที่ 3 พ.ค.99 จำเลยกลับเข้าไปหว่านข้าวในนานั้นอีก นายเชิดจึงไปแจ้งผู้ใหญ่บ้านและนายอำเภอได้ดำเนินการสอบสวนคดีนี้ แสดงให้เห็นว่าถ้าจำเลยเชื่อฟังนายเชิดก็ไม่เอาเรื่อง ถ้าไม่ฟังก็ต้องเอาเรื่องกันต่อไป ซึ่งเท่ากับให้งดรอการดำเนินคดีของเจ้าพนักงานไว้ชั่วขณะหนึ่งเท่านั้น เมื่อจำเลยกลับเข้าไปทำงานอีก ผู้เสียหายจึงเอาเรื่องคือให้เจ้าพนักงานดำเนินคดีที่งดรอไว้นั้นเอง ไม่มีทางที่จะให้รับฟังว่าความผิดฐานบุกรุกตอนแรกในวันที่ 16 มี.ค.99 นั้นเป็นอันสูญสิ้นไปแล้ว
คดีนี้ได้ความว่าจำเลยกระทำผิด 2 คราวคือในวันที่ 16 มี.ค.99 กับในวันที่ 3 พ.ค.99 และผู้เสียหายได้ร้องทุกข์ไว้ทั้ง 2 คราว แต่ฟ้องโจทย์ระบุชัดเจนว่าผู้เสียหายร้องทุกข์สำหรับความผิดในตอนแรก (16 มี.ค.99)เท่านั้น โจทก์จึงไม่ได้กล่าวฟ้องถึงความผิดในตอนหลัง (3 พ.ค.99) เลย จึงถือว่าโจทก์ไม่ได้ฟ้อง จึงลงโทษจำเลยสำหรับความผิดตอนหลังนี้ไม่ได้ แต่โจทก์มีสิทธ์ที่จะนำสืบถึงพฤติการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ในตอนหลังคือ ในวันที่ 3 พ.ค.99 เพื่อแสดงให้เห็นว่าจำเลยทำผิดคำรับรองในตอนต้น ( 16 มี.ค.99 ) ซึ่งเป็นข้อความที่เกี่ยวกับประเด็นโดยตรง หาเป็นนอกฟ้องนอกประเด็นไม่.
( ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 2/2501 )
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2014/2500 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรวมกระทงความผิดทางอาญาและการถอนฟ้องของผู้เสียหาย ศาลฎีกาแก้โทษจำเลยเหลือความผิดฐานฉุดคร่าอนาจารเพียงกระทงเดียว
ศาลอุทธรณ์พิพากษารวมกระทงลงโทษจำเลยสำหรับความผิดตาม ก.ม.ลักษณะอาญา ม. 243 และ 276 เมื่อผู้เสียหายถอนคำร้องทุกข์หรือยอมความกับจำเลยสำหรับความผิดตาม ม.243 แล้ว ศาลฎีกาพิพากษาแก้ว่า จำเลยมีความผิดตาม ม.246 เพียงกระทงเดียว และศาลฎีกา มีอำนาจกำหนดโทษสำหรับความผิดตาม ม.276 ได้.