พบผลลัพธ์ทั้งหมด 159 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 70/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การริบรถยนต์ของกลางในคดีศุลกากร: ศาลใช้บทบัญญัติประมวลกฎหมายอาญามาตรา 33 ได้ แม้โจทก์มิได้อ้าง
คำขอท้ายฟ้องโจทก์อ้างว่า จำเลยกระทำผิดตามพระราชบัญญัติศุลกากร (ฉบับที่ 13) พ.ศ. 2499 มาตรา 4 นั้น เมื่อมาตรา 4 บัญญัติให้เพิ่มความเป็นมาตรา 27 ทวิ ก็เท่ากับโจทก์อ้างและขอให้ลงโทษตามความในมาตรา 4 คือ มาตรา 27 ทวิแล้ว
การกระทำของจำเลยผิดพระราชบัญญัติศุลกากร ฯ มาตรา 27 ทวิ โทษเบากว่ามาตรา 27 และมาตรา 27 ทวิ เพิ่งบัญญัติขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2499 กับความผิดตามมาตรา 27 ทวิ นี้ไม่เป็นผิดตามมาตรา 27 ส่วนพระราชบัญญัติศุลกากรฯ มาตรา 32 ก็ให้ริบทรัพย์ซึ่งเป็นความผิดพระราชบัญญัติศุลกากรซึ่งใช้บังคับในขณะนั้น ที่ประชุมใหญ่เห็นว่าจะริบรถยนต์ของกลางตามพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469 มาตรา 32 ไม่ได้ แต่ริบตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 33 ได้ แม้โจทก์ไม่ได้อ้างมาตรา 33 แต่ก็ขอให้ริบรถยนต์ของกลางมาแล้ว ศาลจึงริบตามบทกฎหมายที่ถูกต้องได้
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 2/2510)
การกระทำของจำเลยผิดพระราชบัญญัติศุลกากร ฯ มาตรา 27 ทวิ โทษเบากว่ามาตรา 27 และมาตรา 27 ทวิ เพิ่งบัญญัติขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2499 กับความผิดตามมาตรา 27 ทวิ นี้ไม่เป็นผิดตามมาตรา 27 ส่วนพระราชบัญญัติศุลกากรฯ มาตรา 32 ก็ให้ริบทรัพย์ซึ่งเป็นความผิดพระราชบัญญัติศุลกากรซึ่งใช้บังคับในขณะนั้น ที่ประชุมใหญ่เห็นว่าจะริบรถยนต์ของกลางตามพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469 มาตรา 32 ไม่ได้ แต่ริบตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 33 ได้ แม้โจทก์ไม่ได้อ้างมาตรา 33 แต่ก็ขอให้ริบรถยนต์ของกลางมาแล้ว ศาลจึงริบตามบทกฎหมายที่ถูกต้องได้
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 2/2510)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 70/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การริบรถยนต์ของกลางในคดีศุลกากร: ศาลฎีกาพิจารณาความผิดตามมาตรา 27 ทวิ และอำนาจริบตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 33
คำขอท้ายฟ้องโจทก์อ้างว่า จำเลยกระทำผิดตามพระราชบัญญัติศุลกากร (ฉบับที่ 13) พ.ศ. 2499 มาตรา 4 นั้นเมื่อมาตรา 4 บัญญัติให้เพิ่มความเป็นมาตรา 27 ทวิ ก็เท่ากับโจทก์อ้างและขอให้ลงโทษตามความในมาตรา 4 คือ มาตรา 27 ทวิแล้ว
การกระทำของจำเลยผิดพระราชบัญญัติศุลกากรฯ มาตรา 27 ทวิโทษเบากว่ามาตรา 27 และมาตรา 27 ทวิ เพิ่งบัญญัติขึ้นเมื่อพ.ศ. 2499 กับความผิดตามมาตรา 27 ทวิ นี้ไม่เป็นผิดตามมาตรา 27ส่วนพระราชบัญญัติศุลกากรฯ มาตรา 32 ก็ให้ริบทรัพย์ซึ่งเป็นความผิดพระราชบัญญัติศุลกากรซึ่งใช้บังคับในขณะนั้นที่ประชุมใหญ่เห็นว่าจะริบรถยนต์ของกลางตามพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469 มาตรา 32 ไม่ได้แต่ริบตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 33 ได้แม้โจทก์ไม่ได้อ้างมาตรา 33 แต่ก็ขอให้ริบรถยนต์ของกลางมาแล้ว ศาลจึงริบตามบทกฎหมายที่ถูกต้องได้ (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 2/2510)
การกระทำของจำเลยผิดพระราชบัญญัติศุลกากรฯ มาตรา 27 ทวิโทษเบากว่ามาตรา 27 และมาตรา 27 ทวิ เพิ่งบัญญัติขึ้นเมื่อพ.ศ. 2499 กับความผิดตามมาตรา 27 ทวิ นี้ไม่เป็นผิดตามมาตรา 27ส่วนพระราชบัญญัติศุลกากรฯ มาตรา 32 ก็ให้ริบทรัพย์ซึ่งเป็นความผิดพระราชบัญญัติศุลกากรซึ่งใช้บังคับในขณะนั้นที่ประชุมใหญ่เห็นว่าจะริบรถยนต์ของกลางตามพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469 มาตรา 32 ไม่ได้แต่ริบตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 33 ได้แม้โจทก์ไม่ได้อ้างมาตรา 33 แต่ก็ขอให้ริบรถยนต์ของกลางมาแล้ว ศาลจึงริบตามบทกฎหมายที่ถูกต้องได้ (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 2/2510)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 764/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบวกโทษที่รอการลงโทษตามมาตรา 58 ต้องมีคำขอในฟ้อง แม้มิใช่บทบัญญัติที่ต้องอ้างในฟ้อง
การที่ศาลจะบอกโทษที่รอการลงโทษไว้ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 58 ได้นั้น ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามิได้บัญญัติไว้โดยตรงว่าให้กล่าวในฟ้อง และมีคำขออย่างไร ต่างกับขอให้เพิ่มโทษ แต่มาตรา 192 ก็ห้ามมิให้พิพากษาหรือสั่งเกินคำขอหรือที่มิได้กล่าวในฟ้อง ฉะนั้น โจทก์ต้องกล่าวมาในฟ้องและมีคำขอมาด้วย แต่มาตรา 58 นี้มิใช่เป็นมาตราที่บัญญัติว่าเป็นการกระทำความผิดอันจำต้องอ้างมาตราในฟ้องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 158(6) ดังนั้น เมื่อโจทก์ได้กล่าวมาในฟ้องและมีคำขอแล้ว โจทก์จะอ้างมาตรา 58 หรือไม่ ศาลก็บวกโทษที่รอการลงโทษไว้เข้ากับโทษในคดีหลังได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 764/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบวกโทษรอการลงโทษตาม ม.58 ต้องมีการขอในฟ้อง หากโจทก์ขอแล้ว ศาลบวกได้ แม้ไม่ได้อ้าง ม.58 โดยตรง
การที่ศาลจะบวกโทษที่รอการลงโทษไว้ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 58 ได้นั้นประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามิได้บัญญัติไว้โดยตรงว่าให้กล่าวในฟ้องและมีคำขออย่างไร ต่างกับขอให้เพิ่มโทษแต่มาตรา 192 ก็ห้ามมิให้พิพากษาหรือสั่งเกินคำขอหรือที่มิได้กล่าวในฟ้อง ฉะนั้น โจทก์ต้องกล่าวมาในฟ้องและมีคำขอมาด้วยแต่มาตรา 58 นี้มิใช่เป็นมาตราที่บัญญัติว่าเป็นการกระทำความผิดอันจำต้องอ้างมาตรามาในฟ้องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158(6) ดังนั้น เมื่อโจทก์ได้กล่าวมาในฟ้องและมีคำขอแล้วโจทก์จะอ้างมาตรา 58 หรือไม่ ศาลก็บวกโทษที่รอการลงโทษไว้เข้ากับโทษในคดีหลังได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1902/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแก้ไขฟ้องคดีเช็ค: แม้ฟ้องอ้างมาตราไม่ครบถ้วน แต่เนื้อหาความผิดชัดเจน ศาลอนุญาตให้แก้ไขได้
หน้าฟ้องข้อหาว่า ผิดพระราชบัญญัติว่าด้วยการใช้เข็ด คำบรรยายฟ้องก็ชัดแจ้งว่าจำเลยออกเช็คสั่งจ่ายเงินโดยมีเจตนาจะมิให้มีการใช้เงินตามเช็ค แก่ในช่องกฎหมายและบทมาตราที่โจทก์ถือว่าจำเลยกระทำความผิดนั้นลงไว้แต่เพียงว่า มาตรา 3(1) (3) (5) ดังนี้ เมื่อมีพฤติการณ์แสดงว่าน่าจะเนื่องจากความพลั้งเผลอ โจทก์จึงมิได้พิมพ์หรือเขียนชื่อพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ.2497 ลงข้างหน้ามาตรา และหากให้โจทก์ทำเสียให้ครบบริบูรณ์ก็ไม่ทำให้จำเลยเสียหายแล้ว ศาลย่อมสั่งให้โจทก์แก้ไขคำขอท้ายฟ้องให้ครบบริบูรณ์ (คดีนี้จำเลยให้การปฏิเสธ แล้วแถลงข้อบกพร่องนี้ก่อนสืบพยานโจทก์)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1902/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแก้ไขฟ้องคดีเช็ค: แม้พิมพ์ชื่อ พ.ร.บ. ผิดพลาด แต่ฟ้องยังชอบด้วยกฎหมาย หากแก้ไขได้โดยไม่ทำให้จำเลยเสียเปรียบ
หน้าฟ้องลงข้อหาว่า ผิดพระราชบัญญัติว่าด้วยการใช้เช็คคำบรรยายฟ้องก็ชัดแจ้งว่าจำเลยออกเช็คสั่งจ่ายเงินโดยมีเจตนาจะมิให้มีการใช้เงินตามเช็ค แต่ในช่องกฎหมายและบทมาตราที่โจทก์ถือว่าจำเลยกระทำความผิดนั้นลงไว้แต่เพียงว่า มาตรา 3(1)(3)(5) ดังนี้ เมื่อมีพฤติการณ์แสดงว่าน่าจะเนื่องจากความพลั้งเผลอ โจทก์จึงมิได้พิมพ์หรือเขียนชื่อพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ.2497 ลงข้างหน้ามาตรา และหากให้โจทก์ทำเสียให้ครบบริบูรณ์ก็ไม่ทำให้จำเลยเสียหายแล้ว ศาลย่อมสั่งให้โจทก์แก้ไขคำขอท้ายฟ้องให้ครบบริบูรณ์ (คดีนี้จำเลยให้การปฏิเสธ แล้วแถลงข้อบกพร่องนี้ก่อนสืบพยานโจทก์)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 729/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำขอท้ายฟ้องถือเป็นการขอให้ลงโทษจำเลย แม้จะไม่ได้ระบุคำว่า 'ลงโทษ' โดยตรง
คำขอท้ายฟ้องของผู้ว่าคดีโจทก์กล่าวว่า โจทก์ถือว่าการกระทำของจำเลยเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 325, 83 ขอศาลได้พิจารณาพิพากษาต่อไป ดังนี้ ถือได้ว่าฟ้องของโจทก์มีคำขอให้ลงโทษจำเลยแล้ว.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 729/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำขอท้ายฟ้องถือเป็นการขอให้ลงโทษจำเลย แม้ไม่ได้ระบุชัดเจน หากอ้างบทมาตราที่กำหนดโทษ
คำขอท้ายฟ้องของผู้ว่าคดีโจทก์ กล่าวว่า โจทก์ถือว่าการกระทำของจำเลยเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 375,83 ขอศาลได้พิจารณาพิพากษาต่อไป ดังนี้ ถือได้ว่าฟ้องของโจทก์มีคำขอให้ลงโทษจำเลยแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 864/2502
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิดฐานพยายามฆ่าและการสมคบกระทำผิด แม้ไม่ได้อ้างบทมาตรา แต่โจทก์บรรยายฟ้องแล้ว ศาลรับฟังลงโทษได้
จำเลยยิงปืนตรงไปทางผู้เสียหาย แต่กระสุนปืนไม่ถูกผู้เสียหายเพราะผู้เสียหายหลบเสียก่อนนั้น เป็นการกระทำไปตลอดแล้ว หากแต่ไม่บรรลุผลตามที่จำเลยเจตนาเท่านั้น การกระทำของจำเลยจึงเป็นความผิดฐานพยายามฆ่าคน
โจทก์ได้บรรยายในฟ้องว่า ได้มีการสมคบกันกระทำผิดแม้โจทก์จะไม่ได้อ้างบทมาตราที่บัญญัติถึงการร่วมกระทำความผิด ศาลก็รับฟังลงโทษจำเลยในฐานสมคบกันกระทำความผิดนั้นได้
โจทก์ได้บรรยายในฟ้องว่า ได้มีการสมคบกันกระทำผิดแม้โจทก์จะไม่ได้อ้างบทมาตราที่บัญญัติถึงการร่วมกระทำความผิด ศาลก็รับฟังลงโทษจำเลยในฐานสมคบกันกระทำความผิดนั้นได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 864/2502 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พยายามฆ่าและสมคบทำผิด แม้ไม่ได้อ้างบทมาตรา แต่โจทก์บรรยายฟ้องแล้ว ศาลรับฟังลงโทษได้
จำเลยยิงปืนตรงไปทางผู้เสียหายแต่กระสุนปืนไม่ถูกผู้เสียหาย เพราะผู้เสียหายหลบเสียก่อนนั้น เป็นการกระทำไปตลอดแล้ว หากแต่ไม่บรรลุผลตามที่จำเลยเจตนาเท่านั้น กระกระทำของจำเลยจึงเป็นความผิดฐานพยายามฆ่าคน
โจทก์ได้บรรยายในฟ้องว่า ได้มีการสมคบกันกระทำผิด แม้โจทก์จะไม่ได้อ้างบทมาตราที่บัญญัติถึงการร่วมกระทำความผิดศาลก็รับฟังลงโทษจำเลยในฐานสมคบกันกระทำความผิดนั้นได้
โจทก์ได้บรรยายในฟ้องว่า ได้มีการสมคบกันกระทำผิด แม้โจทก์จะไม่ได้อ้างบทมาตราที่บัญญัติถึงการร่วมกระทำความผิดศาลก็รับฟังลงโทษจำเลยในฐานสมคบกันกระทำความผิดนั้นได้