พบผลลัพธ์ทั้งหมด 24 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1535/2520 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเสียภาษีของบริษัทต่างชาติมีสาขาในไทย: ดอกเบี้ยเงินกู้, การจำหน่ายกำไร, และอากรแสตมป์
โจทก์ไปจดทะเบียนเป็นบริษัทจำกัดที่สหรัฐอเมริกา และมีสาขาที่กรุงเทพ ดังนี้โจทก์และสาขามีฐานะตามกฎหมายเป็นนิติบุคคลเดียวกัน ประมวลรัษฎากรมาตรา 76 ทวิ ให้ถือว่าโจทก์ประกอบกิจการในประเทศไทย เมื่อบริษัท ส. ในประเทศไทยกู้เงินจากโจทก์ที่สหรัฐอเมริกาและส่งดอกเบี้ยเงินกู้ไปให้ ดอกเบี้ยที่ส่งออกไปจากประเทศไทยดังกล่าวไม่ว่าด้วยวิธีการใด ๆ เมื่อโจทก์ได้รับเงินนั้นแล้วถือว่าโจทก์ได้รับเงินได้ในประเทศไทย โจทก์จึงมีหน้าที่และความรับผิดในการยื่นรายการและเสียภาษีตามประมวลรัษฎากร
ประมวลรัษฎากร มาตรา 66 วรรคสองให้นิติบุคคลซึ่งตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศและกระทำกิจการในประเทศไทย เสียภาษีในกำไรสุทธิ การคำนวณกำไรสุทธิให้บัญญัติเช่นเดียวกับมาตรา 65 และ 65 ทวิ ถ้าไม่สามารถคำนวณกำไรสุทธิได้ ให้นำบทบัญญัติเรื่องการประเมินภาษีตามมาตรา 71 (1) มาบังคับโดยอนุโลม แต่บทบัญญัติในมาตรา 65 และ 65 ทวิ ดังกล่าวไม่ได้ให้อำนาจเจ้าพนักงานประเมินที่จะทำการคำนวณกำไรสุทธิดอกเบี้ยเงินกู้ของโจทก์โดยวิธีเทียบเคียงกับกำไรสุทธิตาม ภ.ง.ด.5 ของสาขากรุงเทพฯ แต่ละปี ดังนั้น ที่เจ้าพนักงานประเมินอาศัยอำนาจตามมาตรา 71 วรรคสอง ทำการคำนวณกำไรสุทธิดอกเบี้ยเงินกู้โดยวิธีดังกล่าวจึงไม่ถูกต้องและไม่ชอบด้วยกฎหมาย
ดอกเบี้ยเงินกู้ดังกล่าวเป็นเงินได้ของโจทก์ในประเทศไทย การส่งดอกเบี้ยเงินกู้ออกไปจากประเทศไทยในกรณีนี้ ถ้าเงินดอกเบี้ยนั้นเป็นเงินกำไรก็เป็นจำหน่ายเงินกำไรออกไปจากประเทศไทย ซึ่งแม้ธนาคารโจทก์สาขากรุงเทพฯ จะเป็นผู้ส่งหรือบริษัทจะเป็นผู้ส่งโดยผ่านธนาคารพาณิชย์ใดก็ตาม แต่เมื่อธนาคารโจทก์เป็นผู้รับเงินดังกล่าวในต่างประเทศ ก็ถือว่าธนาคารโจทก์เป็นผู้จำหน่ายเงินนั้น โจทก์จึงต้องเสียภาษีเงินได้อัตราร้อยละ 15 ตามประมวลรัษฎากรมาตรา 70 ทวิ โจทก์ได้รับดอกเบี้ยเงินกู้รวม 4 ปี คิดเป็นเงินไทย 28,621,195.78 บาท เจ้าพนักงานประเมินมิได้คิดภาษีจากจำนวนเงินดังกล่าว ได้คำนวณกำไรสุทธิให้ก่อนเป็นเงิน 16,145,964.22 บาท แล้วคิดภาษีจากเงินจำนวนนี้ เมื่อโจทก์ไม่ได้โต้แย้งการคำนวณกำไรสุทธิดังกล่าว จึงต้องคิดภาษีไปตามนี้
เมื่อโจทก์ซึ่งมีสาขาในประเทศไทยได้รับดอกเบี้ยเงินกู้รายนี้จากประเทศไทยก็เป็นการรับเงินในประเทศไทย โจทก์ซึ่งเป็นผู้รับเงินจะต้องเสียอากรแสตมป์ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 105 เมื่อโจทก์ไม่ได้ออกใบรับตามความในมาตรา 105 ก็ต้องเสียเงินเพิ่มอากร 6 เท่าของเงินอากร ตามมาตรา 114 กรณีไม่ต้องด้วยมาตรา 111 หรือข้อยกเว้นไม่ต้องเสียภาษีอากรตามบัญชีอัตราอากรแสตมป์ข้อ 28 ญ เพราะบทมาตราดังกล่าวเป็นเป็นเรื่องการทำตราสารและออกใบรับเงินในต่างประเทศต่างกับกรณีนี้
ประมวลรัษฎากร มาตรา 66 วรรคสองให้นิติบุคคลซึ่งตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศและกระทำกิจการในประเทศไทย เสียภาษีในกำไรสุทธิ การคำนวณกำไรสุทธิให้บัญญัติเช่นเดียวกับมาตรา 65 และ 65 ทวิ ถ้าไม่สามารถคำนวณกำไรสุทธิได้ ให้นำบทบัญญัติเรื่องการประเมินภาษีตามมาตรา 71 (1) มาบังคับโดยอนุโลม แต่บทบัญญัติในมาตรา 65 และ 65 ทวิ ดังกล่าวไม่ได้ให้อำนาจเจ้าพนักงานประเมินที่จะทำการคำนวณกำไรสุทธิดอกเบี้ยเงินกู้ของโจทก์โดยวิธีเทียบเคียงกับกำไรสุทธิตาม ภ.ง.ด.5 ของสาขากรุงเทพฯ แต่ละปี ดังนั้น ที่เจ้าพนักงานประเมินอาศัยอำนาจตามมาตรา 71 วรรคสอง ทำการคำนวณกำไรสุทธิดอกเบี้ยเงินกู้โดยวิธีดังกล่าวจึงไม่ถูกต้องและไม่ชอบด้วยกฎหมาย
ดอกเบี้ยเงินกู้ดังกล่าวเป็นเงินได้ของโจทก์ในประเทศไทย การส่งดอกเบี้ยเงินกู้ออกไปจากประเทศไทยในกรณีนี้ ถ้าเงินดอกเบี้ยนั้นเป็นเงินกำไรก็เป็นจำหน่ายเงินกำไรออกไปจากประเทศไทย ซึ่งแม้ธนาคารโจทก์สาขากรุงเทพฯ จะเป็นผู้ส่งหรือบริษัทจะเป็นผู้ส่งโดยผ่านธนาคารพาณิชย์ใดก็ตาม แต่เมื่อธนาคารโจทก์เป็นผู้รับเงินดังกล่าวในต่างประเทศ ก็ถือว่าธนาคารโจทก์เป็นผู้จำหน่ายเงินนั้น โจทก์จึงต้องเสียภาษีเงินได้อัตราร้อยละ 15 ตามประมวลรัษฎากรมาตรา 70 ทวิ โจทก์ได้รับดอกเบี้ยเงินกู้รวม 4 ปี คิดเป็นเงินไทย 28,621,195.78 บาท เจ้าพนักงานประเมินมิได้คิดภาษีจากจำนวนเงินดังกล่าว ได้คำนวณกำไรสุทธิให้ก่อนเป็นเงิน 16,145,964.22 บาท แล้วคิดภาษีจากเงินจำนวนนี้ เมื่อโจทก์ไม่ได้โต้แย้งการคำนวณกำไรสุทธิดังกล่าว จึงต้องคิดภาษีไปตามนี้
เมื่อโจทก์ซึ่งมีสาขาในประเทศไทยได้รับดอกเบี้ยเงินกู้รายนี้จากประเทศไทยก็เป็นการรับเงินในประเทศไทย โจทก์ซึ่งเป็นผู้รับเงินจะต้องเสียอากรแสตมป์ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 105 เมื่อโจทก์ไม่ได้ออกใบรับตามความในมาตรา 105 ก็ต้องเสียเงินเพิ่มอากร 6 เท่าของเงินอากร ตามมาตรา 114 กรณีไม่ต้องด้วยมาตรา 111 หรือข้อยกเว้นไม่ต้องเสียภาษีอากรตามบัญชีอัตราอากรแสตมป์ข้อ 28 ญ เพราะบทมาตราดังกล่าวเป็นเป็นเรื่องการทำตราสารและออกใบรับเงินในต่างประเทศต่างกับกรณีนี้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1535/2520
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ภาษีเงินได้นิติบุคคลต่างประเทศประกอบกิจการในไทย การจำหน่ายเงินกำไรออกนอกประเทศ และอากรแสตมป์
โจทก์จดทะเบียนเป็นบริษัทจำกัดที่สหรัฐอเมริกาและมีสาขาที่กรุงเทพดังนี้โจทก์และสาขามีฐานะตามกฎหมายเป็นนิติบุคคลเดียวกัน ประมวลรัษฏากรมาตรา 76ทวิ ให้ถือว่าโจทก์ประกอบกิจการในประเทศไทย เมื่อบริษัท ส. ในประเทศไทยกู้เงินจากโจทก์ที่สหรัฐอเมริกาและส่งดอกเบี้ยเงินกู้ไปให้ ดอกเบี้ยที่ส่งออกไปจากประเทศไทยดังกล่าวไม่ว่าด้วยวิธีการใดๆเมื่อโจทก์ได้รับเงินนั้นแล้วถือว่าโจทก์ได้รับเงินได้ในประเทศไทย โจทก์จึงมีหน้าที่และความรับผิดในการยื่นรายการและเสียภาษีตามประมวลรัษฎากร
ประมวลรัษฎากร มาตรา 66 วรรคสองให้นิติบุคคลซึ่งตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศและกระทำกิจการในประเทศไทยเสียภาษีในกำไรสุทธิ การคำนวณกำไรสุทธิให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับมาตรา 65 และ 65ทวิ ถ้าไม่สามารถคำนวณกำไรสุทธิได้ให้นำบทบัญญัติเรื่องการประเมินภาษีตามมาตรา 71(1) มาบังคับโดยอนุโลม แต่บทบัญญัติในมาตรา 65 และ 65ทวิดังกล่าวไม่ได้ให้อำนาจเจ้าพนักงานประเมินที่จะทำการคำนวณกำไรสุทธิดอกเบี้ยเงินกู้ของโจทก์โดยวิธีเทียบเคียงกับกำไรสุทธิตาม ภ.ง.ด.5ของสาขากรุงเทพฯแต่ละปี ดังนั้นที่เจ้าพนักงานประเมินอาศัยอำนาจตามมาตรา 71 วรรคสองทำการคำนวณกำไรสุทธิดอกเบี้ยเงินกู้โดยใช้วิธีดังกล่าวจึงไม่ถูกต้องและไม่ชอบด้วยกฎหมาย
ดอกเบี้ยเงินกู้ดังกล่าวเป็นเงินได้ของโจทก์ในประเทศไทยการส่งดอกเบี้ยเงินกู้ออกไปจากประเทศไทยในกรณีนี้ ถ้าเงินดอกเบี้ยนั้นเป็นเงินกำไรก็เป็นการจำหน่ายเงินกำไรออกไปจากประเทศไทย ซึ่งแม้ธนาคารโจทก์สาขากรุงเทพฯจะเป็นผู้ส่งหรือบริษัทจะเป็นผู้ส่งโดยผ่านธนาคารพาณิชย์ใดก็ตามแต่เมื่อธนาคารโจทก์เป็นผู้รับเงินดังกล่าวในต่างประเทศก็ถือว่าธนาคารโจทก์เป็นผู้จำหน่ายเงินนั้น โจทก์จึงต้องเสียภาษีเงินได้อัตราร้อยละ 15 ตามประมวลรัษฎากรมาตรา 70ทวิ โจทก์ได้รับดอกเบี้ยเงินกู้รวม 4 ปีคิดเป็นเงินไทย 28,621,195.78 บาท เจ้าพนักงานประเมินมิได้คิดภาษีจากจำนวนเงินดังกล่าว ได้คำนวณกำไรสุทธิให้ก่อนเป็นเงิน 16,145,964.22 บาท แล้วคิดภาษีจากเงินจำนวนนี้ เมื่อโจทก์ไม่ได้โต้แย้งการคำนวณกำไรสุทธิดังกล่าวจึงต้องคิดภาษีไปตามนี้
เมื่อโจทก์ซึ่งมีสาขาในประเทศไทยได้รับดอกเบี้ยเงินกู้รายนี้จากประเทศไทยก็เป็นการรับเงินในประเทศไทย โจทก์ซึ่งเป็นผู้รับเงินจะต้องเสียอากรแสตมป์ตามประมวลรัษฏากรมาตรา 105 เมื่อโจทก์ไม่ได้ออกใบรับตามความในมาตรา 105 ก็ต้องเสียเงินเพิ่มอากร 6 เท่าของเงินอากรตามมาตรา 114 กรณีไม่ต้องด้วยมาตรา 111 หรือข้อยกเว้นไม่ต้องเสียภาษีอากรตามบัญชีอัตราอากรแสตมป์ข้อ 28 ญเพราะมาตราดังกล่าวเป็นเรื่องการทำตราสารและออกใบรับเงินในต่างประเทศต่างกับบทกรณีนี้
ประมวลรัษฎากร มาตรา 66 วรรคสองให้นิติบุคคลซึ่งตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศและกระทำกิจการในประเทศไทยเสียภาษีในกำไรสุทธิ การคำนวณกำไรสุทธิให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับมาตรา 65 และ 65ทวิ ถ้าไม่สามารถคำนวณกำไรสุทธิได้ให้นำบทบัญญัติเรื่องการประเมินภาษีตามมาตรา 71(1) มาบังคับโดยอนุโลม แต่บทบัญญัติในมาตรา 65 และ 65ทวิดังกล่าวไม่ได้ให้อำนาจเจ้าพนักงานประเมินที่จะทำการคำนวณกำไรสุทธิดอกเบี้ยเงินกู้ของโจทก์โดยวิธีเทียบเคียงกับกำไรสุทธิตาม ภ.ง.ด.5ของสาขากรุงเทพฯแต่ละปี ดังนั้นที่เจ้าพนักงานประเมินอาศัยอำนาจตามมาตรา 71 วรรคสองทำการคำนวณกำไรสุทธิดอกเบี้ยเงินกู้โดยใช้วิธีดังกล่าวจึงไม่ถูกต้องและไม่ชอบด้วยกฎหมาย
ดอกเบี้ยเงินกู้ดังกล่าวเป็นเงินได้ของโจทก์ในประเทศไทยการส่งดอกเบี้ยเงินกู้ออกไปจากประเทศไทยในกรณีนี้ ถ้าเงินดอกเบี้ยนั้นเป็นเงินกำไรก็เป็นการจำหน่ายเงินกำไรออกไปจากประเทศไทย ซึ่งแม้ธนาคารโจทก์สาขากรุงเทพฯจะเป็นผู้ส่งหรือบริษัทจะเป็นผู้ส่งโดยผ่านธนาคารพาณิชย์ใดก็ตามแต่เมื่อธนาคารโจทก์เป็นผู้รับเงินดังกล่าวในต่างประเทศก็ถือว่าธนาคารโจทก์เป็นผู้จำหน่ายเงินนั้น โจทก์จึงต้องเสียภาษีเงินได้อัตราร้อยละ 15 ตามประมวลรัษฎากรมาตรา 70ทวิ โจทก์ได้รับดอกเบี้ยเงินกู้รวม 4 ปีคิดเป็นเงินไทย 28,621,195.78 บาท เจ้าพนักงานประเมินมิได้คิดภาษีจากจำนวนเงินดังกล่าว ได้คำนวณกำไรสุทธิให้ก่อนเป็นเงิน 16,145,964.22 บาท แล้วคิดภาษีจากเงินจำนวนนี้ เมื่อโจทก์ไม่ได้โต้แย้งการคำนวณกำไรสุทธิดังกล่าวจึงต้องคิดภาษีไปตามนี้
เมื่อโจทก์ซึ่งมีสาขาในประเทศไทยได้รับดอกเบี้ยเงินกู้รายนี้จากประเทศไทยก็เป็นการรับเงินในประเทศไทย โจทก์ซึ่งเป็นผู้รับเงินจะต้องเสียอากรแสตมป์ตามประมวลรัษฏากรมาตรา 105 เมื่อโจทก์ไม่ได้ออกใบรับตามความในมาตรา 105 ก็ต้องเสียเงินเพิ่มอากร 6 เท่าของเงินอากรตามมาตรา 114 กรณีไม่ต้องด้วยมาตรา 111 หรือข้อยกเว้นไม่ต้องเสียภาษีอากรตามบัญชีอัตราอากรแสตมป์ข้อ 28 ญเพราะมาตราดังกล่าวเป็นเรื่องการทำตราสารและออกใบรับเงินในต่างประเทศต่างกับบทกรณีนี้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 771/2520
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเสียภาษีการค้าและอากรแสตมป์ของผู้ทำการแทนผู้ประกอบการค้าในสัญญาจ้างทำของ
บริษัท ค. เป็นบริษัทในต่างประเทศได้ร่วมกับอีกบริษัทหนึ่งทำสัญญารับเหมาก่อสร้างโรงกลั่นน้ำมันกับกระทรวงกลาโหมโจทก์เป็นผู้ลงนามในสัญญากับกระทรวงกลาโหมแทนบริษัท ค. บริษัท ค. ได้มอบให้โจทก์เป็นผู้มีอำนาจเต็มและมีสิทธิทำการทุกอย่างในขอบเขตเรื่องการก่อสร้างโรงกลั่นน้ำมัน โจทก์ได้มีหนังสือถึงกระทรวงกลาโหมชี้แจงข้อความเกี่ยวกับการก่อสร้าง ได้ลงนามกู้เงินจากธนาคารมาใช้ในการก่อสร้างโดยเปิดบัญชีไว้ 4 บัญชี ทุกบัญชีโจทก์มีอำนาจสั่งจ่ายครั้นก่อสร้างเสร็จกระทรวงกลาโหมจ่ายเงินค่าจ้างแก่ธนาคารที่โจทก์เปิดบัญชีไว้แล้วธนาคารจึงจ่ายต่อไปให้แก่ผู้รับเหมาเมื่อมีเงินเหลือธนาคารก็จ่ายให้โจทก์และโอนเข้าบัญชีอื่นๆ ที่โจทก์มีอำนาจสั่งจ่าย แม้บริษัท ค. จะมีสำนักงานไว้ ณ สถานที่ก่อสร้างก็เพื่อติดต่อเกี่ยวกับคนงานที่มาก่อสร้างเท่านั้น มิใช่บริษัท ค. ใช้สถานที่นั้นเป็นสาขาประกอบการค้าในประเทศไทย โจทก์จึงเป็นผู้ทำการแทนบริษัท ค. เป็นผู้ประกอบการค้ามีหน้าที่ยื่นแบบแสดงรายการการค้าและเสียภาษีการค้าตามรายรับเงินค่าจ้างของบริษัท ค.
ธนาคารที่โจทก์เปิดบัญชีไว้เป็นผู้รับเงินค่าจ้างของบริษัท ค. จากกระทรวงกลาโหมมาจ่ายให้บริษัท ค. ผู้รับจ้าง เงินที่รับมานั้นจึงเป็นค่าจ้างทำของซึ่งจะต้องเสียค่าอากรแสตมป์ตามจำนวนเงินแบ่งสินจ้างเมื่อโจทก์เป็นผู้กระทำการแทนบริษัท ค. ในประเทศไทย การที่พนักงานเจ้าหน้าที่เรียกให้โจทก์เสียค่าอากรแสตมป์ในเงินค่าจ้างซึ่งเสมือนเสียจากผู้รับจ้างนั่นเองโจทก์ต้องเป็นผู้เสียค่าอากรแสตมป์นี้
ธนาคารที่โจทก์เปิดบัญชีไว้เป็นผู้รับเงินค่าจ้างของบริษัท ค. จากกระทรวงกลาโหมมาจ่ายให้บริษัท ค. ผู้รับจ้าง เงินที่รับมานั้นจึงเป็นค่าจ้างทำของซึ่งจะต้องเสียค่าอากรแสตมป์ตามจำนวนเงินแบ่งสินจ้างเมื่อโจทก์เป็นผู้กระทำการแทนบริษัท ค. ในประเทศไทย การที่พนักงานเจ้าหน้าที่เรียกให้โจทก์เสียค่าอากรแสตมป์ในเงินค่าจ้างซึ่งเสมือนเสียจากผู้รับจ้างนั่นเองโจทก์ต้องเป็นผู้เสียค่าอากรแสตมป์นี้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2471/2518 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีภาษีอากร: เอกชนไม่มีอำนาจฟ้องคดีไม่ออกใบรับเงิน ต้องเป็นพนักงานอัยการเท่านั้น
ความผิดฐานไม่ออกใบรับให้แก่ผู้ซื้อตามประมวลรัษฎากร มาตรา 105 และความผิดฐานไม่ออกใบรับเมื่อผู้มีส่วนได้เสียเรียกร้องตามมาตรา 106 เป็นความผิดที่เจ้าหน้าที่ของรัฐบาลคือพนักงานอัยการเท่านั้นจะฟ้องได้ เอกชนมิใช่ผู้เสียหายตามกฎหมายที่จะมีอำนาจฟ้องจึงเป็นโจทก์ฟ้องในความผิดดังกล่าวไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2471/2518
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีความผิดตามประมวลรัษฎากรเกี่ยวกับใบรับเงิน: เอกชนไม่มีสิทธิฟ้อง
ความผิดฐานไม่ออกใบรับให้แก่ผู้ซื้อตามประมวลรัษฎากร มาตรา 105 และความผิดฐานไม่ออกใบรับเมื่อผู้มีส่วนได้เสียเรียกร้องตามมาตรา 106 เป็นความผิดที่เจ้าหน้าที่ของรัฐบาลคือพนักงานอัยการเท่านั้นจะฟ้องได้ เอกชนมิใช่ผู้เสียหายตามกฎหมายที่จะมีอำนาจฟ้องจึงเป็นโจทก์ฟ้องในความผิดดังกล่าวไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2390/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ใบรับเงินชั่วคราวและการส่งมอบเงินให้เจ้าของสิทธิ: จำเลยไม่ต้องรับผิดอากร หากมีการออกใบรับเงินตัวจริงและปิดอากรถูกต้อง
จำเลยเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการของห้างหุ้นส่วนจำกัดโซไซท์เสตทได้ออกใบรับในการรับเงินไว้มีข้อความว่า "ใบรับเงินชั่วคราว วันที่ 28 ตุลาคม 2507 ข้าพเจ้านายจิง แซ่โค้ว(จำเลย)ผู้แทนของห้างหุ้นส่วนจำกัดโซไซท์เสตท สามแยก กรุงเทพฯ ได้รับเงินที่นำมาลงทุนซื้อยาเบอร์เล่ย์เป็นจำนวนรวมทั้งสิ้น 959,890 บาท 10 สตางค์ คืนจากกรรมการผู้จัดการบริษัทแพร่เกษตรภัณฑ์ จำกัดไว้เป็นที่ถูกต้องเรียบร้อยแล้วส่วนใบรับตัวจริงจะส่งมาให้ภายหลัง ลงชื่อนายจิงแซ่โค้วผู้แทนห้างหุ้นส่วนจำกัดโซไซท์เสตท" เป็นแต่เพียงเอกสารหลักฐานที่แสดงว่าจำเลยในฐานะผู้แทนของห้างหุ้นส่วนจำกัดโซไซท์เสตทได้รับเงินลงทุนซื้อยาของห้างหุ้นส่วนจำกัดโซไซท์เสตทคืนมาจากบริษัทแพร่เกษตรภัณฑ์ จำกัด ไว้แทนห้างหุ้นส่วนจำกัดโซไซท์เสตทเป็นการชั่วคราว จำเลยมิได้รับเงินไว้เป็นของตนเอง เมื่อจำเลยเอาเงินรายนี้ไปส่งมอบให้ห้างหุ้นส่วนจำกัดโซไซท์เสตทซึ่งเป็นเจ้าของเงินที่แท้จริงแล้ว ห้างหุ้นส่วนจำกัดโซไซท์เสตทได้ออกใบรับเงินตัวจริงส่งมาให้บริษัทแพร่เกษตรภัณฑ์จำกัดอีกฉบับหนึ่งใน3 วันต่อมาและได้ปิดแสตมป์บริบูรณ์แล้ว ซึ่งแสดงว่าจำเลยได้ส่งมอบเงินที่รับแทนมาเสร็จสิ้นแล้ว เมื่อห้างหุ้นส่วนจำกัดโซไซท์เสตทผู้รับเงินแท้จริงไม่ได้ปฏิบัติการฝ่าฝืนประมวลรัษฎากร จำเลยก็ไม่ต้องรับผิดชำระเงินอากรและเงินเพิ่มอากรสำหรับใบรับเงินชั่วคราวอีก (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 2765/2515) (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 9/2517)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2390/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ใบรับเงินชั่วคราวและการชำระอากร: ผู้รับแทนเงินไม่ต้องรับผิดหากส่งมอบเงินให้เจ้าของเงินและมีการชำระอากรถูกต้อง
จำเลยเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการของห้างหุ้นส่วนจำกัดโซไซท์เสตทได้ออกใบรับในการรับเงินไว้มีข้อความว่า "ใบรับเงินชั่วคราววันที่ 28 ตุลาคม 2507 ข้าพเจ้านายจิง แซ่โค้ว (จำเลย)ผู้แทนของห้างหุ้นส่วนจำกัดโซไซท์เสตท สามแยก กรุงเทพฯได้รับเงินที่นำมาลงทุนซื้อยาเบอร์เล่ย์เป็นจำนวนรวมทั้งสิ้น959,890 บาท 10 สตางค์ คืนจากกรรมการผู้จัดการบริษัทแพร่เกษตรภัณฑ์ จำกัดไว้เป็นที่ถูกต้องเรียบร้อยแล้วส่วนใบรับตัวจริงจะส่งมาให้ภายหลัง ลงชื่อนายจิง แซ่โค้วผู้แทนห้างหุ้นส่วนจำกัดโซไซท์เสตท" เป็นแต่เพียงเอกสารหลักฐานที่แสดงว่าจำเลยในฐานะผู้แทนของห้างหุ้นส่วนจำกัดโซไซท์เสตทได้รับเงินลงทุนซื้อยาของห้างหุ้นส่วนจำกัดโซไซท์เสตทคืนมาจากบริษัทแพร่เกษตรภัณฑ์ จำกัด ไว้แทนห้างหุ้นส่วนจำกัดโซไซท์เสตทเป็นการชั่วคราว จำเลยมิได้รับเงินไว้เป็นของตนเอง เมื่อจำเลยเอาเงินรายนี้ไปส่งมอบให้ห้างหุ้นส่วนจำกัดโซไซท์เสตทซึ่งเป็นเจ้าของเงินที่แท้จริงแล้ว ห้างหุ้นส่วนจำกัดโซไซท์เสตทได้ออกใบรับเงินตัวจริงส่งมาให้บริษัทแพร่เกษตรภัณฑ์จำกัดอีกฉบับหนึ่งใน3 วันต่อมาและได้ปิดแสตมป์บริบูรณ์แล้ว ซึ่งแสดงว่าจำเลยได้ส่งมอบเงินที่รับแทนมาเสร็จสิ้นแล้ว เมื่อห้างหุ้นส่วนจำกัดโซไซท์เสตทผู้รับเงินแท้จริงไม่ได้ปฏิบัติการฝ่าฝืนประมวลรัษฎากร จำเลยก็ไม่ต้องรับผิดชำระเงินอากรและเงินเพิ่มอากรสำหรับใบรับเงินชั่วคราวอีก (อ้างคำพิพากษาฎีกา ที่ 1765/2515) (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 9/2517)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 804/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การออกใบรับเงินตามประมวลรัษฎากรเมื่อชำระด้วย L/C การซื้อขายในประเทศ
การรถไฟแห่งประเทศไทยซื้อสินค้าจากโจทก์ผู้ขาย ซึ่งอยู่ในประเทศไทย การทำสัญญาซื้อขายตลอดจนการชำระราคาก็ทำในประเทศไทย ตามวิธีการที่ให้การรถไฟชำระเงินโดยเปิดเลตเตอร์อ๊อฟเครดิตต่อธนาคารในประเทศไทยตามข้อตกลงที่ได้กำหนดกันไว้ในสัญญาซื้อขาย โจทก์จึงมีหน้าที่ต้องออกใบรับเงินตามความในมาตรา 105 แห่งประมวลรัษฎากร หลักฐานการรับเงินเลตเตอร์อ๊อฟเครดิตตามวิธีการและประเพณีของธนาคารที่บริษัทในต่างประเทศตัวแทนโจทก์ทำให้ไว้แก่ธนาคารในต่างประเทศผู้จ่ายเงินไม่ถือว่าเป็นใบรับตามความในมาตรา 105 นั้น และไม่ได้รับความยกเว้นไม่ต้องเสียอากรตามประมวลรัษฎากร.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 248/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนังสือรับสภาพหนี้และการกำหนดเวลาชำระหนี้ที่ไม่ชัดเจน ทำให้เจ้าหนี้มีสิทธิเรียกร้องหนี้ได้ทันที
จำเลยทำหลักฐานเป็นรูปจดหมายให้ไว้แก่โจทก์ขอรับรองและขอบคุณโจทก์สำหรับเงินกู้ที่โจทก์ให้จำเลยกู้จึงเป็นเพียงหนังสือรับสภาพว่าเป็นเงินที่โจทก์ให้จำเลยยืมอันเป็นหลักฐานแห่งการกู้ยืมตามมาตรา 653 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์อย่างหนึ่งเท่านั้นหาใช่เป็นลักษณะแห่งตราสารการกู้ยืมเงินอันจะพึงต้องปิดอากรแสตมป์ไม่ (อ้างฎีกาที่ 531/2505)
การที่ในจดหมายของบริษัทจำเลยกำหนดเวลาชำระหนี้ขึ้นเองว่า จะชำระให้แก่โจทก์ต่อเมื่อการขายผลิตผลของตนมีผลพอเพียงที่จะชำระหนี้ได้นั้น ไม่มีระยะเวลาชำระหนี้ที่ได้กำหนดลงไว้ทั้งจะอนุมานจากพฤติการณ์ทั้งปวงก็ไม่ได้ว่าเมื่อใดบริษัทจำเลยจึงจะขายผลิตผลได้พอเพียงที่จะชำระหนี้ได้ เพราะเป็นเหตุการณ์ในอนาคตที่ยากจะมองเห็นผลสำเร็จได้ว่าต้องกินเวลาช้านานเพียงใดการชำระเงินคืนให้โจทก์ที่บริษัทจำเลยทำให้นั้นเท่ากับไม่ได้กำหนดเวลาชำระหนี้ลงไว้ ดังนั้น แม้จำเลยจะขาดทุนก็ไม่สามารถจะยกเอาเหตุนี้มาปัดความรับผิดต่อโจทก์ได้
การที่ในจดหมายของบริษัทจำเลยกำหนดเวลาชำระหนี้ขึ้นเองว่า จะชำระให้แก่โจทก์ต่อเมื่อการขายผลิตผลของตนมีผลพอเพียงที่จะชำระหนี้ได้นั้น ไม่มีระยะเวลาชำระหนี้ที่ได้กำหนดลงไว้ทั้งจะอนุมานจากพฤติการณ์ทั้งปวงก็ไม่ได้ว่าเมื่อใดบริษัทจำเลยจึงจะขายผลิตผลได้พอเพียงที่จะชำระหนี้ได้ เพราะเป็นเหตุการณ์ในอนาคตที่ยากจะมองเห็นผลสำเร็จได้ว่าต้องกินเวลาช้านานเพียงใดการชำระเงินคืนให้โจทก์ที่บริษัทจำเลยทำให้นั้นเท่ากับไม่ได้กำหนดเวลาชำระหนี้ลงไว้ ดังนั้น แม้จำเลยจะขาดทุนก็ไม่สามารถจะยกเอาเหตุนี้มาปัดความรับผิดต่อโจทก์ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 248/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนังสือรับสภาพหนี้และการกำหนดเวลาชำระหนี้ที่ไม่ชัดเจน ไม่ถือเป็นตราสารหนี้ที่ต้องปิดอากรแสตมป์
จำเลยทำหลักฐานเป็นรูปจดหมายให้ไว้แก่โจทก์ขอรับรองและขอบคุณโจทก์สำหรับเงินกู้ที่โจทก์ให้จำเลยกู้ จึงเป็นเพียงหนังสือรับสภาพว่าเป็นเงินที่โจทก์ให้จำเลยยืม อันเป็นหลักฐานแห่งการกู้ยืมตามมาตรา 653 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์อย่างหนึ่งเท่านั้น หาใช่เป็นลักษณะแห่งตราสารการกู้ยืมเงินอันจะพึงต้องปิดอากรแสตมป์ไม่ (อ้างฎีกาที่ 531/2505)
การที่ในจดหมายของบริษัทจำเลยกำหนดเวลาชำระหนี้ขึ้นเองว่า จะชำระให้แก่โจทก์ต่อเมื่อการขายผลิตผลของตนมีผลพอเพียงที่จะชำระหนี้ได้นั้น ไม่มีระยะเวลาชำระหนี้ที่ได้กำหนดลงไว้ ทั้งจะอนุมานจากพฤติการณ์ทั้งปวงก็ไม่ได้ว่าเมื่อใดบริษัทจำเลยจึงจะขายผลิตผลได้พอเพียงที่จะชำระหนี้ได้ เพราะเป็นเหตุการณ์ในอนาคตที่ยากจะมองเห็นผลสำเร็จได้ว่าต้องกินเวลาช้านานเพียงใด การชำระเงินคืนให้โจทก์ที่บริษัทจำเลยทำให้นั้นเท่ากับไม่ได้กำหนดเวลาชำระหนี้ลงไว้ ดังนั้น แม้จำเลยจะขาดทุนก็ไม่สามารถจะยกเอาเหตุนี้มาปัดความรับผิดต่อโจทก์ได้.
การที่ในจดหมายของบริษัทจำเลยกำหนดเวลาชำระหนี้ขึ้นเองว่า จะชำระให้แก่โจทก์ต่อเมื่อการขายผลิตผลของตนมีผลพอเพียงที่จะชำระหนี้ได้นั้น ไม่มีระยะเวลาชำระหนี้ที่ได้กำหนดลงไว้ ทั้งจะอนุมานจากพฤติการณ์ทั้งปวงก็ไม่ได้ว่าเมื่อใดบริษัทจำเลยจึงจะขายผลิตผลได้พอเพียงที่จะชำระหนี้ได้ เพราะเป็นเหตุการณ์ในอนาคตที่ยากจะมองเห็นผลสำเร็จได้ว่าต้องกินเวลาช้านานเพียงใด การชำระเงินคืนให้โจทก์ที่บริษัทจำเลยทำให้นั้นเท่ากับไม่ได้กำหนดเวลาชำระหนี้ลงไว้ ดังนั้น แม้จำเลยจะขาดทุนก็ไม่สามารถจะยกเอาเหตุนี้มาปัดความรับผิดต่อโจทก์ได้.