พบผลลัพธ์ทั้งหมด 160 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 941/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์ร่วมในเรือนและข้าวเปลือกที่ทำมาหากินร่วมกันระหว่างสามีภริยาที่ไม่จดทะเบียนสมรส
โจทก์กับจำเลยซึ่งเป็นสามีภริยากันโดยมิได้จดทะเบียนสมรส ได้ร่วมกันปลูกเรือนในที่ดินของบิดาจำเลย ระหว่างอยู่กินเป็นสามีภริยากัน ย่อมเป็นเจ้าของเรือนร่วมกัน
ปัญหาที่ว่า เรือนซึ่งโจทก์จำเลยปลูกทำลงไว้ในที่ดินของบิดาจำเลย จะเป็นส่วนควบของที่ดินและตกเป็นกรรมสิทธิ์ของบิดาจำเลยหรือไม่นั้น ไม่ใช่ปัญหาเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน เพราะการที่ทรัพย์สินใดจะเป็นกรรมสิทธิ์ของเอกชนคนใด ย่อมเป็นเรื่องเฉพาะตัวของบุคคลนั้น หาได้เป็นประโยชน์แก่สาธารณชนทั่วไปไม่ เมื่อมิได้หยิบยกขึ้นว่ากล่าวมาในศาลชั้นต้น ย่อมยกขึ้นอุทธรณ์ฎีกามิได้
โจทก์ฟ้องขอแบ่งข้าวเปลือกซึ่งทำนาร่วมกันจากจำเลยกึ่งหนึ่ง จำเลยต่อสู้ว่าโจทก์ได้เก็บเกี่ยวข้าวในนาของมารดาโจทก์ ซึ่งจำเลยร่วมทำด้วยไป เป็นการแบ่งข้าวเปลือกกันแล้ว เมื่อไม่ปรากฏว่าได้มีการตกลงแบ่งกันเช่นนั้น ทั้งโจทก์ก็มิได้รับว่าจำเลยได้ร่วมทำนาของมารดาโจทก์ด้วย จำเลยจะใช้วิธีการต่างคนต่างเก็บเกี่ยวข้าวกันไป เป็นการหักกลบลบกันไปเช่นนั้นหาได้ไม่ เพราะไม่ปรากฏว่าได้มีการตกลงกันเช่นนั้น
ปัญหาที่ว่า เรือนซึ่งโจทก์จำเลยปลูกทำลงไว้ในที่ดินของบิดาจำเลย จะเป็นส่วนควบของที่ดินและตกเป็นกรรมสิทธิ์ของบิดาจำเลยหรือไม่นั้น ไม่ใช่ปัญหาเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน เพราะการที่ทรัพย์สินใดจะเป็นกรรมสิทธิ์ของเอกชนคนใด ย่อมเป็นเรื่องเฉพาะตัวของบุคคลนั้น หาได้เป็นประโยชน์แก่สาธารณชนทั่วไปไม่ เมื่อมิได้หยิบยกขึ้นว่ากล่าวมาในศาลชั้นต้น ย่อมยกขึ้นอุทธรณ์ฎีกามิได้
โจทก์ฟ้องขอแบ่งข้าวเปลือกซึ่งทำนาร่วมกันจากจำเลยกึ่งหนึ่ง จำเลยต่อสู้ว่าโจทก์ได้เก็บเกี่ยวข้าวในนาของมารดาโจทก์ ซึ่งจำเลยร่วมทำด้วยไป เป็นการแบ่งข้าวเปลือกกันแล้ว เมื่อไม่ปรากฏว่าได้มีการตกลงแบ่งกันเช่นนั้น ทั้งโจทก์ก็มิได้รับว่าจำเลยได้ร่วมทำนาของมารดาโจทก์ด้วย จำเลยจะใช้วิธีการต่างคนต่างเก็บเกี่ยวข้าวกันไป เป็นการหักกลบลบกันไปเช่นนั้นหาได้ไม่ เพราะไม่ปรากฏว่าได้มีการตกลงกันเช่นนั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2105/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์ในเรือนเป็นส่วนควบของที่ดิน การซื้อขายเรือนไม่จำเป็นต้องจดทะเบียนตาม ม.456
ผู้ร้องซื้อที่ดินซึ่งเรือนพิพาทปลูกอยู่เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2508 โดยทำนิติกรรมซื้อขายต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ในครั้งนั้นจำเลยตั้งใจจะรื้อเรือนพิพาทไปปลูกที่อื่น จึงไม่ได้ขายเรือนพิพาทให้ผู้ร้องด้วย ครั้นต่อมาจำเลยไม่มีเงินจะรื้อถอน จึงได้ขายให้ผู้ร้องเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2508 ดังนี้ เรือนพิพาทตกเป็นส่วนควบของที่ดินของผู้ร้อง และตกเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้ร้องไปในตัวในทันทีที่ได้ทำสัญญาซื้อขายเรือนพิพาทกันหาจำต้องไปทำการโอนจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 456 ไม่ (อ้างฎีกาที่ 561/2488, 1124/2502)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2105/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เรือนเป็นส่วนควบของที่ดิน กรรมสิทธิ์ตกเป็นของผู้ซื้อที่ดินเมื่อซื้อเรือน แม้ไม่จดทะเบียน
ผู้ร้องซื้อที่ดินซึ่งเรือนพิพาทปลูกอยู่เมื่อวันที่ 25มกราคม 2508 โดยทำนิติกรรมซื้อขายต่อพนักงานเจ้าหน้าที่. ในครั้งนั้นจำเลยตั้งใจจะรื้อเรือนพิพาทไปปลูกที่อื่น. จึงไม่ได้ขายเรือนพิพาทให้ผู้ร้องด้วย. ครั้นต่อมาจำเลยไม่มีเงินจะรื้อถอน. จึงได้ขายให้ผู้ร้องเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2508. ดังนี้ เรือนพิพาทตกเป็นส่วนควบของที่ดินของผู้ร้อง. และตกเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้ร้องไปในตัวในทันทีที่ได้ทำสัญญาซื้อขายเรือนพิพาทกันหาจำต้องไปทำการโอนจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 456 ไม่.(อ้างฎีกาที่ 561/2488,1124/2502).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1816/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าซื้อผิดนัดชำระเงิน: สิทธิจำเลยในการยึดรถคืนและการชดใช้ค่าตัวถัง
โจทก์เช่าซื้อรถจากจำเลย การที่โจทก์มิได้ชำระเงินงวด 1 ตามสัญญาถือว่าโจทก์ผิดนัดผิดสัญญา. ฝ่ายจำเลยย่อมมีสิทธิริบเงินดาวน์ และยึดรถพิพาทคืนตามข้อตกลงโดยชอบด้วยกฎหมาย. แม้โจทก์จะได้รับความเสียหาย. จำเลยก็ไม่ต้องรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทน.
แม้เอกสาร ล.1 จะระบุว่า 'ใบสั่งขาย' แต่ข้อความที่ปรากฏมีชัดว่าเป็นการเช่าซื้อ ก็ย่อมเป็นสัญญาเช่าซื้อ.
สัญญาเช่าซื้อรถระบุว่า ถ้าผิดนัดชำระเงินงวดใดงวดหนึ่งยอมให้ยึดรถคืน. ดังนี้เมื่อผู้เช่าซื้อผิดนัดชำระเงินงวดที่ 1 ผู้ให้เช่าซื้อก็มีสิทธิยึดรถคืนได้ (อ้างฎีกาที่ 1192/2501). และการยึดรถพิพาทคืน ย่อมรวมถึงตัวถังรถซึ่งเป็นส่วนควบด้วย แต่ผู้ให้เช่าซื้อต้องชดใช้ราคาตัวถังรถให้แก่ผู้เช่าซื้อ เมื่อหักค่าเสื่อมราคาจากราคาค่าต่อตัวถังแล้ว.
แม้เอกสาร ล.1 จะระบุว่า 'ใบสั่งขาย' แต่ข้อความที่ปรากฏมีชัดว่าเป็นการเช่าซื้อ ก็ย่อมเป็นสัญญาเช่าซื้อ.
สัญญาเช่าซื้อรถระบุว่า ถ้าผิดนัดชำระเงินงวดใดงวดหนึ่งยอมให้ยึดรถคืน. ดังนี้เมื่อผู้เช่าซื้อผิดนัดชำระเงินงวดที่ 1 ผู้ให้เช่าซื้อก็มีสิทธิยึดรถคืนได้ (อ้างฎีกาที่ 1192/2501). และการยึดรถพิพาทคืน ย่อมรวมถึงตัวถังรถซึ่งเป็นส่วนควบด้วย แต่ผู้ให้เช่าซื้อต้องชดใช้ราคาตัวถังรถให้แก่ผู้เช่าซื้อ เมื่อหักค่าเสื่อมราคาจากราคาค่าต่อตัวถังแล้ว.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1816/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าซื้อผิดนัดชำระเงิน ผู้ให้เช่าซื้อมีสิทธิริบรถและเงินดาวน์ แต่ต้องชดใช้ค่าตัวถังหลังหักค่าเสื่อม
โจทก์เช่าซื้อรถจากจำเลย การที่โจทก์มิได้ชำระเงินงวด 1 ตามสัญญาถือว่าโจทก์ผิดนัดผิดสัญญา ฝ่ายจำเลยย่อมมีสิทธิริบเงินดาวน์ และยึดรถพิพาทคืนตามข้อตกลงโดยชอบด้วยกฎหมาย แม้โจทก์จะได้รับความเสียหาย จำเลยก็ไม่ต้องรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทน
แม้เอกสาร ล.1 จะระบุว่า 'ใบสั่งขาย' แต่ข้อความที่ปรากฏมีชัดว่าเป็นการเช่าซื้อ ก็ย่อมเป็นสัญญาเช่าซื้อ
สัญญาเช่าซื้อรถระบุว่า ถ้าผิดนัดชำระเงินงวดใดงวดหนึ่งยอมให้ยึดรถคืน ดังนี้เมื่อผู้เช่าซื้อผิดนัดชำระเงินงวดที่ 1 ผู้ให้เช่าซื้อก็มีสิทธิยึดรถคืนได้ (อ้างฎีกาที่ 1192/2501) และการยึดรถพิพาทคืน ย่อมรวมถึงตัวถังรถซึ่งเป็นส่วนควบด้วย แต่ผู้ให้เช่าซื้อต้องชดใช้ราคาตัวถังรถให้แก่ผู้เช่าซื้อ เมื่อหักค่าเสื่อมราคาจากราคาค่าต่อตัวถังแล้ว
แม้เอกสาร ล.1 จะระบุว่า 'ใบสั่งขาย' แต่ข้อความที่ปรากฏมีชัดว่าเป็นการเช่าซื้อ ก็ย่อมเป็นสัญญาเช่าซื้อ
สัญญาเช่าซื้อรถระบุว่า ถ้าผิดนัดชำระเงินงวดใดงวดหนึ่งยอมให้ยึดรถคืน ดังนี้เมื่อผู้เช่าซื้อผิดนัดชำระเงินงวดที่ 1 ผู้ให้เช่าซื้อก็มีสิทธิยึดรถคืนได้ (อ้างฎีกาที่ 1192/2501) และการยึดรถพิพาทคืน ย่อมรวมถึงตัวถังรถซึ่งเป็นส่วนควบด้วย แต่ผู้ให้เช่าซื้อต้องชดใช้ราคาตัวถังรถให้แก่ผู้เช่าซื้อ เมื่อหักค่าเสื่อมราคาจากราคาค่าต่อตัวถังแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1816/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าซื้อผิดนัดชำระเงิน ผู้ให้เช่าซื้อมีสิทธิริบรถและริบเงินดาวน์ได้ แต่ต้องชดใช้ค่าตัวถังรถ
โจทก์เช่าซื้อรถจากจำเลย การที่โจทก์มิได้ชำระเงินงวด 1 ตามสัญญาถือว่าโจทก์ผิดนัดผิดสัญญา ฝ่ายจำเลยย่อมมีสิทธิริบเงินดาวน์ และยึดรถพิพาทคืนตามข้อตกลงโดยชอบด้วยกฎหมาย แม้โจทก์จะได้รับความเสียหาย จำเลยก็ไม่ต้องรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทน
แม้เอกสาร ล.1 จะระบุว่า "ใบสั่งขาย" แต่ข้อความที่ปรากฏมีชัดว่าเป็นการเช่าซื้อ ก็ย่อมเป็นสัญญาเช่าซื้อ
สัญญาเช่าซื้อรถระบุว่า ถ้าผิดนัดชำระเงินงวดใดงวดหนึ่งยอมให้ยึดรถคืน ดังนี้เมื่อผู้เช่าซื้อผิดนัดชำระเงินงวดที่ 1 ผู้ให้เช่าซื้อก็มีสิทธิยึดรถคืนได้ (อ้างฎีกาที่ 1192/2501) และการยึดรถพิพาทคืน ย่อมรวมถึงตัวถังรถซึ่งเป็นส่วนควบด้วย แต่ผู้ให้เช่าซื้อต้องชดใช้ราคาตัวถังรถให้แก่ผู้เช่าซื้อ เมื่อหักค่าเสื่อมราคาจากราคาค่าต่อตัวถังแล้ว
แม้เอกสาร ล.1 จะระบุว่า "ใบสั่งขาย" แต่ข้อความที่ปรากฏมีชัดว่าเป็นการเช่าซื้อ ก็ย่อมเป็นสัญญาเช่าซื้อ
สัญญาเช่าซื้อรถระบุว่า ถ้าผิดนัดชำระเงินงวดใดงวดหนึ่งยอมให้ยึดรถคืน ดังนี้เมื่อผู้เช่าซื้อผิดนัดชำระเงินงวดที่ 1 ผู้ให้เช่าซื้อก็มีสิทธิยึดรถคืนได้ (อ้างฎีกาที่ 1192/2501) และการยึดรถพิพาทคืน ย่อมรวมถึงตัวถังรถซึ่งเป็นส่วนควบด้วย แต่ผู้ให้เช่าซื้อต้องชดใช้ราคาตัวถังรถให้แก่ผู้เช่าซื้อ เมื่อหักค่าเสื่อมราคาจากราคาค่าต่อตัวถังแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 688/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์ในเรือนพิพาทเมื่อที่ดินถูกซื้อขาย: สิทธิเหนือพื้นดินสำคัญกว่าการจดทะเบียนซื้อขายเรือนก่อน
โจทก์ซื้อเรือนพิพาทก่อนจำเลย โดยโจทก์จดทะเบียนการซื้อขายฝากต่อกรมการอำเภอ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 456 และประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 71(2) ส่วนจำเลยจดทะเบียนการซื้อขายที่ดินและเรือนพิพาทต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ สำนักงานที่ดินดังนี้ตราบใดที่เรือนพิพาทยังปลูกอยู่บนที่ดินที่จำเลยซื้อมา เรือนย่อมเป็นส่วนควบกับที่ดินการที่จะก่อตั้งกรรมสิทธิ์ในเรือนแยกออกต่างหากจากที่ดินจะทำได้ก็โดยการก่อตั้งสิทธิเหนือพื้นดินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1410 โจทก์เพียงแต่จดทะเบียนนิติกรรมซื้อขายเรือน หาได้จดทะเบียนก่อตั้งสิทธิเหนือพื้นดินโดยให้โจทก์เป็นเจ้าของเรือนพิพาทอันเป็นสิ่งปลูกสร้างบนที่ดินไม่จำเลยซื้อที่ดินพร้อมด้วยโรงเรือนซึ่งเป็นส่วนควบกับที่ดินและได้จดทะเบียนสิทธิโดยสุจริตแล้วสิทธิของจำเลยในเรือนพิพาทจึงดีกว่าของโจทก์
เมื่อจำเลยยกประเด็นเรื่องทรัพยสิทธิ คือ สิทธิเหนือพื้นดินขึ้นสู้ในคำให้การแล้วคดีจึงมีประเด็นในเรื่องนี้
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 13/2511)
เมื่อจำเลยยกประเด็นเรื่องทรัพยสิทธิ คือ สิทธิเหนือพื้นดินขึ้นสู้ในคำให้การแล้วคดีจึงมีประเด็นในเรื่องนี้
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 13/2511)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 688/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์ในเรือนบนที่ดิน: สิทธิเหนือพื้นดินสำคัญกว่าการจดทะเบียนซื้อขายฝาก
โจทก์ซื้อเรือนพิพาทก่อนจำเลย โดยโจทก์จดทะเบียนการซื้อขายฝากต่อกรมการอำเภอ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 456 และประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 71 (2) ส่วนจำเลยจดทะเบียนการซื้อขายที่ดินและเรือนพิพาทต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ สำนักงานที่ดิน ดังนี้ ตราบใดที่เรือนพิพาทยังปลูกอยู่บนที่ดินจำเลยซื้อมา เรือนย่อมเป็นส่วนควบกับที่ดิน การที่จะก่อตั้งกรรมสิทธิ์ในเรือนแยกออกต่างหากจากที่ดิน จะทำได้ก็โดยการก่อตั้งสิทธิเหนือพื้นดินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1410 โจทก์เพียงแต่จดทะเบียนนิติกรรมซื้อขายเรือน หาได้จดทะเบียนก่อตั้งสิทธิเหนือพื้นดินโดยให้โจทก์เป็นเจ้าของเรือนพิพาทอันเป็นสิ่งปลูกสร้างบนที่ดินไม่ จำเลยซื้อที่ดินพร้อมด้วยโรงเรือนซึ่งเป็นส่วนควบกับที่ดิน และได้จดทะเบียนสิทธิโดยสุจริตแล้ว สิทธิของจำเลยในเรือนพิพาทจึงดีกว่าของโจทก์
เมื่อจำเลยยกประเด็นเรื่องทรัพยสิทธิ คือ สิทธิเหนือพื้นดินขึ้นสู้ในคำให้การแล้วคดีจึงมีประเด็นในเรื่องนี้
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 13/2511)
เมื่อจำเลยยกประเด็นเรื่องทรัพยสิทธิ คือ สิทธิเหนือพื้นดินขึ้นสู้ในคำให้การแล้วคดีจึงมีประเด็นในเรื่องนี้
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 13/2511)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 688/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์ในเรือนเมื่อที่ดินเปลี่ยนมือ: สิทธิเหนือพื้นดินสำคัญกว่าการจดทะเบียนซื้อขายเรือนก่อน
โจทก์ซื้อเรือนพิพาทก่อนจำเลย โดยโจทก์จดทะเบียนการซื้อขายฝากต่อกรมการอำเภอ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 456 และประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 71(2). ส่วนจำเลยจดทะเบียนการซื้อขายที่ดินและเรือนพิพาทต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ สำนักงานที่ดิน. ดังนี้ตราบใดที่เรือนพิพาทยังปลูกอยู่บนที่ดินที่จำเลยซื้อมา เรือนย่อมเป็นส่วนควบกับที่ดิน. การที่จะก่อตั้งกรรมสิทธิ์ในเรือนแยกออกต่างหากจากที่ดิน จะทำได้ก็โดยการก่อตั้งสิทธิเหนือพื้นดินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1410. โจทก์เพียงแต่จดทะเบียนนิติกรรมซื้อขายเรือน หาได้จดทะเบียนก่อตั้งสิทธิเหนือพื้นดินโดยให้โจทก์เป็นเจ้าของเรือนพิพาทอันเป็นสิ่งปลูกสร้างบนที่ดินไม่. จำเลยซื้อที่ดินพร้อมด้วยโรงเรือนซึ่งเป็นส่วนควบกับที่ดิน และได้จดทะเบียนสิทธิโดยสุจริตแล้ว. สิทธิของจำเลยในเรือนพิพาทจึงดีกว่าของโจทก์.
เมื่อจำเลยยกประเด็นเรื่องทรัพยสิทธิ คือ สิทธิเหนือพื้นดินขึ้นสู้ในคำให้การแล้วคดีจึงมีประเด็นในเรื่องนี้. (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 13/2511).
เมื่อจำเลยยกประเด็นเรื่องทรัพยสิทธิ คือ สิทธิเหนือพื้นดินขึ้นสู้ในคำให้การแล้วคดีจึงมีประเด็นในเรื่องนี้. (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 13/2511).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 370-371/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยึดตึกที่สร้างบนที่ดินเช่า: สิทธิในทรัพย์สินระหว่างสัญญาเช่ายังไม่ครบอายุ
ผู้ร้องทำสัญญาให้จำเลยเช่าที่ดินปลูกตึกแถวที่โจทก์นำยึดมีกำหนด 15 ปีโดยจดทะเบียนการเช่ามีข้อสัญญาว่า หากผู้เช่าผิดสัญญาไม่ชำระค่าเช่า 3 ครั้งติดๆ กันยอมยกสิ่งปลูกสร้างให้เป็นกรรมสิทธิ์ ดังนี้ ก่อนเจ้าพนักงานบังคับคดีนำยึดตึกแถวพิพาทจำเลยยังไม่ผิดนัดชำระค่าเช่าจำเลยยังไม่ผิดสัญญาตึกพิพาทยังเป็นของผู้ร้องผู้ให้เช่าอยู่ไม่ใช่ทรัพย์สินที่โอนกันไม่ได้ตามกฎหมายหรือตามกฎหมายย่อมไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี
จำเลยปลูกสร้างตึกพิพาทลงในที่ดินโดยอาศัยสิทธิตามสัญญาเช่า ซึ่งมีกำหนดระยะเวลา 15 ปีจึงจะตกเป็นกรรมสิทธิ์ของเจ้าของที่ดินเมื่อสัญญาเช่ายังไม่ครบอายุตึกพิพาทยังไม่เป็นส่วนควบของที่ดิน
จำเลยปลูกสร้างตึกพิพาทลงในที่ดินโดยอาศัยสิทธิตามสัญญาเช่า ซึ่งมีกำหนดระยะเวลา 15 ปีจึงจะตกเป็นกรรมสิทธิ์ของเจ้าของที่ดินเมื่อสัญญาเช่ายังไม่ครบอายุตึกพิพาทยังไม่เป็นส่วนควบของที่ดิน