พบผลลัพธ์ทั้งหมด 12 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 744/2501 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การควบคุมตัวผู้ต้องหาอย่างเกินความจำเป็นและทำให้ได้รับความอับอาย ถือเป็นความผิดทางอาญา
การควบคุมตัวผู้ต้องหาในคดีการพนันโดยใส่กุญแจมือล่ามโซ่เพื่อให้ผู้ต้องหาอับอายนั้นเป็นการมิชอบด้วย วิ.อาญา มาตรา 86 และย่อมเป็นผิดตาม ก.ม.ลักษณะอาญา มาตรา 145
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 744/2501
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การควบคุมตัวผู้ต้องหาเกินความจำเป็นทำให้เกิดความอับอาย เป็นการกระทำที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
การควบคุมตัวผู้ต้องหาในคดีการพนันโดยใส่กุญแจมือล่ามโซ่เพื่อให้ผู้ต้องหาอับอายนั้นเป็นการมิชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 86 และย่อมเป็นผิดตาม กฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 145
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1863/2500 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สถานะเจ้าพนักงานก่อนมี พ.ร.บ.มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2499 มีผลต่อความผิด ม.145 ก.ม.ลักษณะอาญา
จำเลยเป็นเลขาธิการมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ถูกฟ้องก่อนที่ใช้ พ.ร.บ. มหาวิทยาลัยธรรมศาตร์ (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2499 ว่าเป็นเจ้าพนักงานกระทำการอันไม่ควรทำ ละเว้นการอันไม่ควรละเว้น โดยเจตนาจะให้เกิดการเสียหายแก่โจทก์ซึ่งอ้างว่าผิดตามกฎหมายลักษณะอาญา ม.145 นั้น ไม่เป็นผิดเพราะก่อนใช้ พ.ร.บ.ธรรมศาสตร์ 2499 ถือว่าจำเลยเป็นพนักงานของนิติบุคคลธรรมดาไม่ใช่เจ้าพนักงานตาม มาตรา 145.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1863/2500
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สถานะเจ้าพนักงานมีผลต่อความผิดตามมาตรา 145 อาญา ต้องพิจารณาช่วงเวลาที่กระทำผิด
จำเลยเป็นเลขาธิการมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ถูกฟ้องก่อนที่ใช้พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2499 ว่าเป็นเจ้าพนักงานกระทำการอันไม่ควรทำ ละเว้นการอันไม่ควรละเว้นโดยเจตนาจะให้เกิดการเสียหายแก่โจทก์ ซึ่งอ้างว่าผิดตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 145 นั้นไม่เป็นผิด เพราะก่อนใช้พระราชบัญญัติธรรมศาสตร์ มาตรา 2499 ถือว่าจำเลยเป็นพนักงานของนิติบุคคลธรรมดาไม่ใช่เจ้าพนักงานตาม มาตรา 145
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1109/2499
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฐานะเจ้าพนักงาน: การพิจารณาจากกฎหมายข้าราชการ และกฎหมายเฉพาะของมหาวิทยาลัย
ฟ้องขอให้ลงโทษตามกฎหมายอาญา มาตรา 145 จะต้องได้ความว่าจำเลยเป็นเจ้าพนักงาน โดยปกติผู้ที่จะเป็นเจ้าพนักงานจะต้องเป็นข้าราชการตามกฎหมายเว้นแต่จะมีกฎหมาย บัญญัติไว้เป็นพิเศษให้เป็นเจ้าพนักงาน จำเลยเป็นผู้รักษาการในตำแหน่งเลขาธิการมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ตั้งแต่ พ.ศ.2494 ในปัจจุบันเป็นเลขาธิการก็ตามตามตำแหน่งนี้ก็ไม่อยู่ในความหมายของ พระราชบัญญัติข้าราชการพลเรือนมาตรา 23 ส่วนในพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ.2495มาตรา 50 ถึง 54 บัญญัติให้สิทธิต่างๆ แก่เจ้าหน้าที่มหาวิทยาลัยบางประการเหมือนกับข้าราชการพลเรือนสามัญทุกประการก็ตาม แต่ก็มิได้มีบทบัญญัติใดให้ผู้ที่ทำงานในมหาวิทยาลัยเป็นเจ้าพนักงาน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 291/2497 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจับกุมและทำร้ายร่างกาย: การกระทำของเจ้าพนักงานตามหน้าที่ชอบด้วยกฎหมาย
ตำรวจจับราษฎรฐานมีสุราเถื่อน แล้วได้ทำร้ายราษฎรผู้นั้นมีบาดเจ็บอีก ดังนี้ เมื่อปรากฎว่าราษฎรผู้นั้นเป็นเจ้าของสุราเถื่อนที่ถูกจับนั้น จริงก็จะฟ้องตำรวจผู้นั้นได้เพียงฐานทำร้ายร่างกายเท่านั้น การกระทำของตำรวจผู้จับยังไม่เข้าลักษณะเป็นความผิดตาม ก.ม.ลักษณะอาญามาตรา 145,
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 291/2497
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจับกุมสุราเถื่อนและการทำร้ายร่างกาย: ไม่เข้าข่ายความผิดฐานใช้อำนาจในทางทุจริต
ตำรวจจับราษฎร ฐานมีสุราเถื่อนแล้วได้ทำร้ายราษฎรผู้นั้นมีบาดเจ็บอีกดังนี้ เมื่อปรากฏว่าราษฎรผู้นั้นเป็นเจ้าของสุราเถื่อนที่ถูกจับนั้น จริงก็จะฟ้องตำรวจผู้นั้นได้เพียงฐานทำร้ายร่างกายเท่านั้นการกระทำของตำรวจผู้จับยังไม่เข้าลักษณะเป็นความผิดตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 145
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 409/2492 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิดฐานสมรู้ร่วมคิดของราษฎรเมื่อเจ้าพนักงานกระทำผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่
การที่เจ้าพนักงานสมคบกับราษฎรร่วมกันกระทำผิดฐานใช้อำนาจ และตำแหน่งหน้าที่ในทางทุจจริต ราษฎรย่อมมีผิดฐานสมรู้
คดีโจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษฐานเป็นตัวการ ทางพิจารณาได้ความว่ามีผิดฐานสมรู้ ศาลก็ลงโทษได้.
(อ้างฎีกา 620/2490)
คดีโจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษฐานเป็นตัวการ ทางพิจารณาได้ความว่ามีผิดฐานสมรู้ ศาลก็ลงโทษได้.
(อ้างฎีกา 620/2490)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 409/2492
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิดฐานสมรู้ร่วมคิดเจ้าพนักงานทุจริต แม้ฟ้องเป็นตัวการ ศาลลงโทษฐานสมรู้ได้
การที่เจ้าพนักงานสมคบกับราษฎรร่วมกันกระทำผิดฐานใช้อำนาจและตำแหน่งหน้าที่ในทางทุจริต ราษฎรย่อมมีผิดฐานสมรู้
คดีโจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษฐานเป็นตัวการ ทางพิจารณาได้ความว่ามีผิดฐานสมรู้ ศาลก็ลงโทษได้
(อ้างฎีกา 620/2490)
คดีโจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษฐานเป็นตัวการ ทางพิจารณาได้ความว่ามีผิดฐานสมรู้ ศาลก็ลงโทษได้
(อ้างฎีกา 620/2490)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 56/2490
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การหมิ่นประมาทต้องเจาะจงตัวบุคคล คำกล่าวทั่วไปถึงพรรคการเมืองไม่ถือว่าเป็นการหมิ่นประมาทต่อสมาชิก
การที่จะเป็นความผิดฐานหมิ่นประมาทตามกฎหมายนั้นถ้อยคำที่กล่าวจะต้องมุ่งเจาะจงตัวบุคคลใดบุคคลหนึ่งโดยเฉพาะ
กล่าวความว่า คำโฆษณาของพวกและพรรคประชาธิปัตย์เป็นการหลอกลวงราษฎรให้หลงเชื่อ ดังนี้ แม้โจทก์จะแสดงได้ว่าโจทก์เป็นพรรคประชาธิปัตย์ด้วยคนหนึ่ง ก็ไม่ถือว่าโจทก์เป็นผู้เสียหายในคดีหมิ่นประมาทเพราะถ้อยคำนั้นมิได้มุ่งหมายถึงโจทก์โดยเฉพาะ
ฟ้องรัฐมนตรีหาว่าใช้อำนาจในตำแหน่งหน้าที่ทางทุจริตและผิดพระราชบัญญัติการเลือกตั้งโดยออกคำสั่งกล่าวถึงการกระทำของคณะประชาธิปัตย์บางคนกระทำการไม่ชอบต่างๆ แต่มิได้เจาะจงตัวผู้ใดนั้นไม่ถือว่าเป็นการเจาะจงตัวบุคคลหนึ่งบุคคลใดในคณะประชาธิปัตย์ ฉะนั้นคนหนึ่งคนใดในคณะนั้น จึงไม่ใช่ผู้เสียหายไม่มีอำนาจฟ้อง
กล่าวความว่า คำโฆษณาของพวกและพรรคประชาธิปัตย์เป็นการหลอกลวงราษฎรให้หลงเชื่อ ดังนี้ แม้โจทก์จะแสดงได้ว่าโจทก์เป็นพรรคประชาธิปัตย์ด้วยคนหนึ่ง ก็ไม่ถือว่าโจทก์เป็นผู้เสียหายในคดีหมิ่นประมาทเพราะถ้อยคำนั้นมิได้มุ่งหมายถึงโจทก์โดยเฉพาะ
ฟ้องรัฐมนตรีหาว่าใช้อำนาจในตำแหน่งหน้าที่ทางทุจริตและผิดพระราชบัญญัติการเลือกตั้งโดยออกคำสั่งกล่าวถึงการกระทำของคณะประชาธิปัตย์บางคนกระทำการไม่ชอบต่างๆ แต่มิได้เจาะจงตัวผู้ใดนั้นไม่ถือว่าเป็นการเจาะจงตัวบุคคลหนึ่งบุคคลใดในคณะประชาธิปัตย์ ฉะนั้นคนหนึ่งคนใดในคณะนั้น จึงไม่ใช่ผู้เสียหายไม่มีอำนาจฟ้อง