พบผลลัพธ์ทั้งหมด 69 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 692-693/2502 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตความผิดฐานกรรโชก: การบังคับให้ส่งทรัพย์โดยขู่ฟ้องร้อง
กล่าวฟ้องใจความว่า จำเลยบังคับให้ผู้เสียหายสัญญาว่าจะส่งทรัพย์ให้ มิฉะนั้นจะดำเนินการฟ้องร้องให้ได้รับโทษ เช่นนี้อาจเป็นผิดฐานกรรโชกตามกฎหมายลักษณะอาญา ม.303 และประมวลกฎหมายอาญา ม.337 หรือไม่ก็ได้ แล้วแต่พฤติการณ์ ของรูปคดี ถ้าข้อเท็จจริงเป็นเรื่องจำเลยพูดไกล่เกลี่ย ก็ไม่ผิดฐานกรรโชก แต่ถ้าพ้นเขตของการไกล่เกลี่ยโดยเป็นไปในทางบังคับให้เขาสัญญาว่าจะส่งทรัพย์ให้ ถ้าไม่ส่งจะดำเนินคดี เช่นนี้ เป็นการขู่เข็ญขืนใจโดยชัด ย่อมเป็นผิดฐานกรรโชก แม้ว่า จำเลยมีสิทธิตามกฎหมายในการจะฟ้องเรียกเงินจากผู้เสียหายก็ตาม หรือแม้ว่าจำเลยเป็นเจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่จับกุมฟ้องร้องดำเนินคดี และจำเลยบังคับผู้เสียหายเช่นกล่าวข้างต้นจนพ้นเขตของการไกล่เกลี่ย และการที่ผู้เสียหายต้องสัญญาว่าจะส่งทรัพย์ก็เพื่อมิให้ถูกดำเนินคดีฟ้องร้อง เพราะถูกขู่เข็ญขืนใจก็เป็นผิดฐานกรรโชกด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 692-693/2502
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิดฐานกรรโชก: การบังคับให้ผู้อื่นสัญญาว่าจะส่งทรัพย์โดยข่มขู่ว่าจะฟ้องดำเนินคดี
กล่าวฟ้องใจความว่า จำเลยบังคับให้ผู้เสียหายสัญญาว่าจะส่งทรัพย์ให้ มิฉะนั้น จะดำเนินการฟ้องร้องให้ได้รับโทษ เช่นนี้อาจเป็นผิดฐานกรรโชกตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 303 และประมวลกฎหมายอาญามาตรา 337 หรือไม่ก็ได้ แล้วแต่พฤติการณ์ของรูปคดี ถ้าข้อเท็จจริงเป็นเรื่องจำเลยพูดไกล่เกลี่ยก็ไม่ผิดฐานกรรโชก แต่ถ้าพ้นเขตของการไกล่เกลี่ยโดยเป็นไปในทางบังคับให้เขาสัญญาว่าจะส่งทรัพย์ให้ ถ้าไม่ส่งจะดำเนินคดี เช่นนี้ เป็นการขู่เข็ญขืนใจโดยชัด ย่อมเป็นผิดฐานกรรโชก แม้ว่าจำเลยมีสิทธิตามกฎหมายในการจะฟ้องเรียกเงินจากผู้เสียหายก็ตาม หรือแม้ว่าจำเลยเป็นเจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่จับกุมฟ้องร้องดำเนินคดี และจำเลยบังคับผู้เสียหายเช่นกล่าวข้างต้นจนพ้นเขตของการไกล่เกลี่ย และการที่ผู้เสียหายต้องสัญญาว่าจะส่งทรัพย์ก็เพื่อมิให้ถูกดำเนินคดีฟ้องร้อง เพราะถูกขู่เข็ญขืนใจก็เป็นผิดฐานกรรโชกด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 51/2502
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิจารณาโทษอาญา: เลือกใช้บทกฎหมายที่มีโทษเบากว่าเพื่อประโยชน์แก่จำเลย
กฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 136 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2484มาตรา 3 วางอัตราโทษให้จำคุกตลอดชีวิตหรือตั้งแต่ 1ปี ถึง 20 ปีและปรับตั้งแต่ 500-10,000 บาท ส่วนประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 148 มีระวางโทษจำคุกไม่เกิน 10 ปี และปรับไม่เกิน 20,000 บาทดังนี้จะเห็นว่าทั้งอัตราโทษจำคุกขั้นสูงและขั้นต่ำของประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 148 เป็นกฎหมายที่มีส่วนเป็นคุณแก่จำเลยเพราะอัตราโทษจำคุกเบากว่า กฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 136
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 51/2502 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิจารณาโทษอาญา: ก.ม.ลักษณะอาญา vs. ประมวล ก.ม.อาญา – เลือกบทลงโทษที่เบากว่า
ก.ม. ลักษณะอาญาม. 136 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2484 ม.3 วางอัตราโทษให้จำคุกตลอดชีวิต หรือตั้งแต่ 1 ปีถึง 20 ปี และปรับตั้งแต่ 500 - 10,000 บาท ส่วนประมวล ก.ม. อาญาม.148 มีระวางโทษจำคุกไม่เกิน 10 ปี และปรับไม่เกิน 20,000 บาท ดังนี้ จะเห็นว่าทั้งอัตราโทษจำคุกคั่นสูงและคั่นต่ำของประมวล ก.ม. อาญา ม.148เป็นกฎหมายที่มีส่วนเป็นคุณแก่จำเลยเพราะอัตราโทษจำคุกเบากว่า ก.ม. ลักษณะอาญา ม.136.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 395/2501
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ตำรวจใช้อำนาจในตำแหน่งหน้าที่ทุจริตเรียกรับเงินจากผู้ต้องสงสัย คดีลักทรัพย์เกลื่อนกลืน
การที่จำเลยหยิบเอาเงินไป เนื่องจากที่ใช้อำนาจในตำแหน่งหน้าที่ในทางทุจริตตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 148ความผิดเรื่องลักทรัพย์เกลื่อนกลืนเข้าไปในกรณีนั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 395/2501 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ตำรวจใช้อำนาจในตำแหน่งหน้าที่เรียกรับเงินจากผู้ต้องสงสัย ศาลตัดสินผิดฐานทุจริต
การที่จำเลยหยิบเอาเงินไป เนื่องจากที่ใช้อำนาจในตำแหน่งหน้าที่ในทางทุจริตตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 148 ความผิดเรื่องลักทรัพย์เกลื่อนกลืนเข้าไปในกรณีนั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2003-2005/2500
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าอาวาสมีอำนาจหน้าที่เสมือนเจ้าพนักงาน การกระทำผิดจึงเข้าข่ายความผิดของเจ้าพนักงาน
การที่ พระราชบัญญัติคณะสงฆ์บัญญัติไว้ว่า พระภิกษุซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งตามบทแห่งพระราชบัญญัตินี้ ให้ถือว่าเป็นเจ้าพนักงานตามกฎหมายลักษณะอาญานั้น บ่งชัดถึงอำนาจและหน้าที่ กล่าวคือเมื่อมีอำนาจในวัดเหมือนกับเจ้าพนักงานแล้ว หากกระทำผิดในหน้าที่ก็จะต้องเป็นผิดฐานเจ้าพนักงานกระทำความผิดด้วย
การลดโทษที่มีเหตุอันเข้าลักษณะทั้งกฎหมายเก่าและกฎหมายใหม่นั้น เมื่อได้ทำผิดขณะใช้กฎหมายเก่า ก็ควรอ้างกฎหมายเก่าคือ กฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 59 เป็นเหตุลดโทษ (ตามแบบอย่างฎีกาที่ 1879/2500)
การลดโทษที่มีเหตุอันเข้าลักษณะทั้งกฎหมายเก่าและกฎหมายใหม่นั้น เมื่อได้ทำผิดขณะใช้กฎหมายเก่า ก็ควรอ้างกฎหมายเก่าคือ กฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 59 เป็นเหตุลดโทษ (ตามแบบอย่างฎีกาที่ 1879/2500)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2003-2005/2500 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฐานความผิดของพระภิกษุผู้ดำรงตำแหน่ง เจ้าอาวาสในฐานะเจ้าพนักงาน
การที่ พ.ร.บ. คณะสงฆ์บัญญัติไว้ว่า พระภิกษุซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งตามบทแห่ง พ.ร.บ.นี้ ให้ถือว่าเป็นเจ้าพนักงานตามกฎหมายลักษณะอาญานั้น บ่งชัดถึงอำนาจและหน้าที่ กล่าวคือ เมือมีอำนาจในวัดเหมือนกับเจ้าพนักงานแล้ว หากกระทำผิดในหน้าที่ก็จะต้องเป็นผิดฐานเจ้าพนักงานกระทำความผิดด้วย
การลดโทษ ที่มีเหตุอันเข้าลักษณะทั้งกฎหมายเก่าและกฎหมายใหม่นั้น เมือได้ทำผิดขณะใช้กฎหมายเก่า ก็ควรอ้างกฎหมายเก่า คือ ก.ม. ลักษณะอาญา มาตรา 59 เป็นเหตุลดโทษ.
( ตามแบบอย่างฎีกา ที่ 1879/2500 )
การลดโทษ ที่มีเหตุอันเข้าลักษณะทั้งกฎหมายเก่าและกฎหมายใหม่นั้น เมือได้ทำผิดขณะใช้กฎหมายเก่า ก็ควรอ้างกฎหมายเก่า คือ ก.ม. ลักษณะอาญา มาตรา 59 เป็นเหตุลดโทษ.
( ตามแบบอย่างฎีกา ที่ 1879/2500 )
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1779/2499 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิดฐานสมรู้ร่วมคิดกับเจ้าพนักงาน และการลงโทษผู้สมรู้ตาม พ.ร.บ.กักกันผู้มีสันดานเป็นผู้ร้าย
เมื่อได้ความว่าจำเลยสมรู้ให้เจ้าพนักงานกระทำผิดตาม ม.136 แล้ว แม้จำเลยจะเป็นราษฎรก็ตามก็ย่อมมีความผิดฐานเป็นผู้สมรู้ในความผิดที่เจ้าพนักงานกระทำนั้น
ผู้สมรู้ก็เป็นกระทำผิดเมื่อความผิดนั้น ๆ ต้องตามบทมาตราใน พ.ร.บ. กักกัน ฯ ก็ลงโทษกักกันผู้สมรู้นั้นได้ พ.ร.บ. กักกันฯ มิได้ประสงค์ให้ลงโทษแต่เฉพาะตัวการไม่.
ผู้สมรู้ก็เป็นกระทำผิดเมื่อความผิดนั้น ๆ ต้องตามบทมาตราใน พ.ร.บ. กักกัน ฯ ก็ลงโทษกักกันผู้สมรู้นั้นได้ พ.ร.บ. กักกันฯ มิได้ประสงค์ให้ลงโทษแต่เฉพาะตัวการไม่.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1779/2499
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิดฐานสมรู้ร่วมคิดกับเจ้าพนักงาน และการลงโทษผู้สมรู้ตาม พ.ร.บ.กักกันผู้ร้าย
เมื่อได้ความว่าจำเลยสมรู้ให้เจ้าพนักงานกระทำผิดตามมาตรา136 แล้วแม้จำเลยจะเป็นราษฎรก็ตามก็ย่อมมีความผิดฐานเป็นผู้สมรู้ในความผิดที่เจ้าพนักงานกระทำนั้น
ผู้สมรู้ก็เป็นกระทำผิดเมื่อความผิดนั้นๆ ต้องตามบทมาตราใน พระราชบัญญัติกักกันฯก็ลงโทษกักกันผู้สมรู้นั้นได้ พระราชบัญญัติกักกันฯมิได้ประสงค์ให้ลงโทษแต่เฉพาะตัวการไม่
ผู้สมรู้ก็เป็นกระทำผิดเมื่อความผิดนั้นๆ ต้องตามบทมาตราใน พระราชบัญญัติกักกันฯก็ลงโทษกักกันผู้สมรู้นั้นได้ พระราชบัญญัติกักกันฯมิได้ประสงค์ให้ลงโทษแต่เฉพาะตัวการไม่