พบผลลัพธ์ทั้งหมด 52 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1585/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความค่าเสียหายจากสัญญาเช่าซื้อ: แยกพิจารณาตามมูลหนี้และประเภทความเสียหาย
ค่าเสียหายจากการที่โจทก์ขาดประโยชน์ที่เอารถไปให้ผู้อื่นเช่าไม่ได้มีอายุความ 10 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 164 ส่วนค่าเสียหายจากการที่จำเลยใช้รถชำรุดบุบสลายมีอายุความ 6 เดือน ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 563 จะนำอายุความตามมาตรา 164 ซึ่งเป็นบททั่วไปมาใช้บังคับไม่ได้ แม้จำเลยยกอายุความตามมาตรา 165 มีกำหนด 2 ปีขึ้นต่อสู้ แต่ในคดีแพ่งเพียงจำเลยยกอายุความขึ้นตัดฟ้อง การจะปรับบทมาตราใด เป็นหน้าที่ของศาลจะยกขึ้นปรับแก่คดี
โจทก์มีรถไว้ให้เช่า การที่รถอยู่ในความครอบครองของจำเลยตลอดเวลาที่จำเลยผิดนัด โจทก์ใช้ประโยชน์ในทรัพย์นั้นไม่ได้ ยิ่งเห็นอยู่ในตัวว่าโจทก์ย่อมเสียหายขาดประโยชน์ที่จะพึงได้จากการให้เช่าทรัพย์นั้น มิใช่ความเสียหายพิเศษซึ่งจำเลยไม่อาจคาดเห็นล่วงหน้าจำเลยจึงต้องรับผิดในค่าเสียหายนั้น
โจทก์มีรถไว้ให้เช่า การที่รถอยู่ในความครอบครองของจำเลยตลอดเวลาที่จำเลยผิดนัด โจทก์ใช้ประโยชน์ในทรัพย์นั้นไม่ได้ ยิ่งเห็นอยู่ในตัวว่าโจทก์ย่อมเสียหายขาดประโยชน์ที่จะพึงได้จากการให้เช่าทรัพย์นั้น มิใช่ความเสียหายพิเศษซึ่งจำเลยไม่อาจคาดเห็นล่วงหน้าจำเลยจึงต้องรับผิดในค่าเสียหายนั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1585/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความค่าเสียหายจากการเช่าซื้อและสภาพรถชำรุด ศาลปรับใช้บทมาตราตามสภาพข้อพิพาท
ค่าเสียหายจากการที่โจทก์ขาดประโยชน์ที่เอารถไปให้ผู้อื่นเช่าไม่ได้ มีอายุความ 10 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164 ส่วนค่าเสียหายจากการที่จำเลยใช้รถชำรุดบุบสลายมีอายุความ 6 เดือน ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 563 จะนำอายุความตามมาตรา 164 ซึ่งเป็นบททั่วไปมาใช้บังคับไม่ได้ แม้จำเลยยกอายุความตามมาตรา 165 มีกำหนด 2 ปีขึ้นต่อสู้ แต่ในคดีแพ่งเพียงจำเลยยกอายุความขึ้นตัดฟ้อง การจะปรับบทมาตราใด เป็นหน้าที่ของศาลจะยกขึ้นปรับแก่คดี
โจทก์มีรถไว้ให้เช่า การที่รถอยู่ในความครอบครองของจำเลยตลอดเวลาที่จำเลยผิดนัด โจทก์ใช้ประโยชน์ในทรัพย์นั้นไม่ได้ ยิ่งเห็นอยู่ในตัวว่าโจทก์ย่อมเสียหายขาดประโยชน์ที่จะพึงได้จากการให้เช่าทรัพย์นั้น มิใช่ความเสียหายพิเศษซึ่งจำเลยไม่อาจคาดเห็นล่วงหน้า จำเลยจึงต้องรับผิดในค่าเสียหายนั้น
โจทก์มีรถไว้ให้เช่า การที่รถอยู่ในความครอบครองของจำเลยตลอดเวลาที่จำเลยผิดนัด โจทก์ใช้ประโยชน์ในทรัพย์นั้นไม่ได้ ยิ่งเห็นอยู่ในตัวว่าโจทก์ย่อมเสียหายขาดประโยชน์ที่จะพึงได้จากการให้เช่าทรัพย์นั้น มิใช่ความเสียหายพิเศษซึ่งจำเลยไม่อาจคาดเห็นล่วงหน้า จำเลยจึงต้องรับผิดในค่าเสียหายนั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 601/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิผู้ให้เช่าซื้อเมื่อผู้เช่าซื้อผิดสัญญา: เรียกค่าเสียหายจากการใช้ทรัพย์ได้ภายใน 10 ปี
กรณีเมื่อมีการผิดสัญญาเช่าซื้อ ผู้ให้เช่าซื้อมีสิทธิเพียงริบค่าเช่าซื้อที่รับไว้กับเรียกร้องทรัพย์ที่เช่าซื้อคืนเท่านั้น จะเรียกค่าเช่าซื้อที่ค้างชำระอีกด้วยมิได้ จะเรียกได้อีกก็แต่เพียงเป็นค่าเสียหายที่ผู้เช่าซื้อได้ใช้ทรัพย์ของผู้ให้เช่าซื้ออยู่ตลอดเวลาที่ผู้เช่าซื้อครอบครองทรัพย์ที่เช่าซื้ออยู่ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 391 วรรค 3 กับค่าเสียหายเพราะเหตุอื่นอันผู้เช่าซื้อต้องรับผิดชอบนอกเหนือไปจากค่าเสียหายอันเกิดแต่การใช้ทรัพย์นั้นโดยชอบ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 562 เท่านั้น
คำฟ้องโจทก์เรียกร้องมาเป็นค่าเช่าซื้อค้างชำระแต่เมื่อคำฟ้องบรรยายมาว่าโจทก์บอกกล่าวทวงถามแล้วจำเลยไม่ชำระโดยเป็นฝ่ายผิดนัดโจทก์ได้รับความเสียหายพอถือได้ว่าโจทก์เรียกร้องเป็นค่าเสียหายฐานที่จำเลยใช้ทรัพย์ของโจทก์มาตลอดเวลาที่จำเลยยังครอบครองทรัพย์ของโจทก์อยู่ ศาลมีอำนาจพิพากษาให้จำเลยใช้ค่าเสียหายได้ และค่าเสียหายเช่นนี้ศาลอาจกำหนดให้ตามที่เห็นสมควรได้
การฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายเพราะการที่ผู้เช่าซื้อใช้ทรัพย์ของผู้ให้เช่าซื้ออยู่ตลอดเวลาที่ยังคงครอบครองทรัพย์ของผู้ให้เช่าซื้ออยู่มีอายุความเรียกร้อง 10 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164
คำฟ้องโจทก์เรียกร้องมาเป็นค่าเช่าซื้อค้างชำระแต่เมื่อคำฟ้องบรรยายมาว่าโจทก์บอกกล่าวทวงถามแล้วจำเลยไม่ชำระโดยเป็นฝ่ายผิดนัดโจทก์ได้รับความเสียหายพอถือได้ว่าโจทก์เรียกร้องเป็นค่าเสียหายฐานที่จำเลยใช้ทรัพย์ของโจทก์มาตลอดเวลาที่จำเลยยังครอบครองทรัพย์ของโจทก์อยู่ ศาลมีอำนาจพิพากษาให้จำเลยใช้ค่าเสียหายได้ และค่าเสียหายเช่นนี้ศาลอาจกำหนดให้ตามที่เห็นสมควรได้
การฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายเพราะการที่ผู้เช่าซื้อใช้ทรัพย์ของผู้ให้เช่าซื้ออยู่ตลอดเวลาที่ยังคงครอบครองทรัพย์ของผู้ให้เช่าซื้ออยู่มีอายุความเรียกร้อง 10 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 601/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผิดสัญญาเช่าซื้อ: สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายจากการใช้ทรัพย์สิน และอายุความ 10 ปี
กรณีเมื่อมีการผิดสัญญาเช่าซื้อ ผู้ให้เช่าซื้อมีสิทธิเพียงริบค่าเช่าซื้อที่รับไว้กับเรียกร้องทรัพย์ที่เช่าซื้อคืนเท่านั้น จะเรียกค่าเช่าซื้อที่ค้างชำระอีกด้วยมิได้ จะเรียกได้อีกก็แต่เพียงเป็นค่าเสียหายที่ผู้เช่าซื้อได้ใช้ทรัพย์ของผู้ให้เช่าซื้ออยู่ตลอดเวลาที่ผู้เช่าซื้อครอบครองทรัพย์ที่เช่าซื้ออยู่ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 391 วรรคสาม กับค่าเสียหายเพราะเหตุอื่นอันผู้เช่าซื้อต้องรับผิดชอบนอกเหนือไปจากค่าเสียหายอันเกิดแต่การใช้ทรัพย์นั้นโดยชอบ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 562 เท่านั้น
คำฟ้องโจทก์เรียกร้องมาเป็นค่าเช่าซื้อค้างชำระ แต่เมื่อคำฟ้องบรรยายมาว่าโจทก์บอกกล่าวทวงถามแล้ว จำเลยไม่ชำระโดยเป็นฝ่ายผิดนัดโจทก์ได้รับความเสียหายพอถือได้ว่า โจทก์เรียกร้องเป็นค่าเสียหายฐานที่จำเลยใช้ทรัพย์ของโจทก์มาตลอดเวลาที่จำเลยยังครอบครองทรัพย์ของโจทก์อยู่ ศาลมีอำนาจพิพากษาให้จำเลยใช้ค่าเสียหายได้ และค่าเสียหายเช่นนี้ศาลอาจกำหนดให้ตามที่เห็นสมควรได้
การฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายเพราะการที่ผู้เช่าซื้อใช้ทรัพย์ของผู้ให้เช่าซื้ออยู่ตลอดเวลาที่ยังคงครอบครองทรัพย์ของผู้ให้เช่าซื้ออยู่มีอายุความเรียกร้อง 10 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164
คำฟ้องโจทก์เรียกร้องมาเป็นค่าเช่าซื้อค้างชำระ แต่เมื่อคำฟ้องบรรยายมาว่าโจทก์บอกกล่าวทวงถามแล้ว จำเลยไม่ชำระโดยเป็นฝ่ายผิดนัดโจทก์ได้รับความเสียหายพอถือได้ว่า โจทก์เรียกร้องเป็นค่าเสียหายฐานที่จำเลยใช้ทรัพย์ของโจทก์มาตลอดเวลาที่จำเลยยังครอบครองทรัพย์ของโจทก์อยู่ ศาลมีอำนาจพิพากษาให้จำเลยใช้ค่าเสียหายได้ และค่าเสียหายเช่นนี้ศาลอาจกำหนดให้ตามที่เห็นสมควรได้
การฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายเพราะการที่ผู้เช่าซื้อใช้ทรัพย์ของผู้ให้เช่าซื้ออยู่ตลอดเวลาที่ยังคงครอบครองทรัพย์ของผู้ให้เช่าซื้ออยู่มีอายุความเรียกร้อง 10 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 831/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เหตุสุดวิสัยปล้นกระบือ ผู้เช่าไม่ต้องรับผิดชดใช้ค่าเสียหาย
การเช่ากระบือไปทำนา ถ้ามิได้ตกลงกันไว้เป็นอย่างอื่น ผู้เช่าจะส่งกระบือคืนแก่ผู้ให้เช่าก็ต่อเมื่อได้เก็บเกี่ยวข้าวตลอดจนนำข้าวขึ้นยุ้งเรียบร้อยแล้ว ซึ่งถือว่าเสร็จฤดูทำนา ก่อนถึงกำหนดส่งกระบือคืน คนร้ายได้ปล้นเอากระบือไป สุดวิสัยของผู้เช่าจะปัดป้องขัดขวางได้ ถือว่าความสูญหายของกระบือที่เช่าไม่ใช่ความผิดของผู้เช่า จำเลยผู้เช่าจึงไม่ต้องรับผิดคืนหรือใช้ราคากระบือที่เช่าตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 562
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 831/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เหตุสุดวิสัยปล้นกระบือ ผู้เช่าไม่ต้องรับผิด
การเช่ากระบือไปทำนา ถ้ามิได้ตกลงกันไว้เป็นอย่างอื่นผู้เช่าจะส่งกระบือคืนแก่ผู้ให้เช่าก็ต่อเมื่อได้เก็บเกี่ยวข้าวตลอดจนนำข้าวขึ้นยุ้งเรียบร้อยแล้วซึ่งถือว่าเสร็จฤดูทำนา ก่อนถึงกำหนดส่งกระบือคืนคนร้ายได้ปล้นเอากระบือไป สุดวิสัยของผู้เช่าจะปัดป้องขัดขวางได้ถือว่าความสูญหายของกระบือที่เช่าไม่ใช่ความผิดของผู้เช่าจำเลยผู้เช่าจึงไม่ต้องรับผิดคืนหรือใช้ราคากระบือที่เช่าตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา562
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 831/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดของผู้เช่ากระบือเมื่อเกิดเหตุสุดวิสัยก่อนส่งคืน กรณีปล้นทรัพย์
การเช่ากระบือไปทำนา. ถ้ามิได้ตกลงกันไว้เป็นอย่างอื่น. ผู้เช่าจะส่งกระบือคืนแก่ผู้ให้เช่าก็ต่อเมื่อได้เก็บเกี่ยวข้าวตลอดจนนำข้าวขึ้นยุ้งเรียบร้อยแล้ว.ซึ่งถือว่าเสร็จฤดูทำนา. ก่อนถึงกำหนดส่งกระบือคืนคนร้ายได้ปล้นเอากระบือไป สุดวิสัยของผู้เช่าจะปัดป้องขัดขวางได้. ถือว่าความสูญหายของกระบือที่เช่าไม่ใช่ความผิดของผู้เช่า. จำเลยผู้เช่าจึงไม่ต้องรับผิดคืนหรือใช้ราคากระบือที่เช่าตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา562.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1195/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าซื้อผิดนัด การเรียกร้องค่าเสียหายและการชดใช้ค่าใช้ทรัพย์
สัญญาเช่าซื้อข้อ 6 กำหนดไว้ว่า ถ้าจำเลยผู้เช่าซื้อผิดนัด โจทก์ผู้ให้เช่าซื้อเข้าครอบครองรถและเลิกสัญญาได้ เงินที่ส่งชำระมาแล้วยอมให้โจทก์ริบ ค่าเช่าที่ยังค้างอยู่จะชำระให้จนครบ ส่วนค่าเสียหายจำเลยยอมรับผิดชอบ รถที่คืนจำเลยยินยอมให้โจทก์จำหน่าย หากได้ราคาไม่ครบถ้วน จำเลยต้องชดใช้เงินที่ขาด ความตอนท้ายที่เกี่ยวกับการให้จำหน่ายรถนั้น เป็นวิธีการกำหนดและชดใช้ค่าเสียหายอย่างหนึ่ง ซึ่งเมื่อจำหน่ายรถ จะทราบจำนวนค่าเสียหายที่แน่นอน แม้ยังไม่จำหน่ายรถ โจทก์ก็มีสิทธิเรียกค่าเสียหายซึ่งจำเลยต้องรับผิดอยู่แล้ว โดยพิสูจน์ได้จากพยานหลักฐาน
กรณีจำเลยผู้เช่าซื้อผิดนัด ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 574 มิได้บัญญัติให้สิทธิโจทก์โดยแจ้งชัดนอกเหนือไปจากการกลับเข้าครองทรัพย์สินและริบเงินที่จำเลยส่งแล้ว ถ้าโจทก์ยังมีสิทธิเรียกเงินค่าเช่าซื้อที่ค้างชำระจนเต็มจำนวนด้วย ก็ไม่มีเหตุที่กฎหมายจะบัญญัติไว้เพียงให้ริบเงินที่ส่งใช้แล้วก่อนเลิกสัญญา
แม้จำเลยจะผิดนัด หากโจทก์เรียกร้องเงินค่าเช่าซื้อที่ค้างชำระ โจทก์ย่อมมีสิทธิได้รับเพียงค่าเสียหาย ซึ่งตามปกติคือดอกเบี้ย เว้นแต่จะพิสูจน์ความเสียหายอย่างอื่นได้อีกด้วย ไม่ใช่โจทก์เรียกร้องได้ทั้งเงินค่าเช่าซื้อเต็มจำนวน แล้วยังเอารถกลับคืนทั้งคันเป็นสองต่อ
เมื่อประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 574 มิได้บัญญัติไว้ ย่อมแสดงว่ากฎหมายประสงค์ปล่อยให้ความรับผิดของจำเลยอยู่ภายใต้บทบัญญัติในเรื่องหนี้โดยทั่วไป กล่าวคือ โจทก์มีสิทธิได้รับค่าสินไหมทดแทน เพราะจำเลยไม่ชำระหนี้ จนเป็นเหตุให้โจทก์บอกเลิกสัญญา
เมื่อโจทก์บอกเลิกสัญญาเช่าซื้อแล้ว คำมั่นจะขายที่โจทก์ให้ไว้ย่อมสิ้นไปโจทก์จะเรียกค่าเช่าซื้อที่ค้างชำระเต็มจำนวนดุจเป็นค่าตอบแทนการโอนกรรมสิทธิ์ในรถเสมือนราคาไม่ได้ คงมีสิทธิเรียกได้เพียงค่าที่จำเลยที่จำเลยได้ใช้รถของโจทก์มาตลอดระยะเวลาที่จำเลยยังครอบครองรถของโจทก์อยู่เท่านั้น
หากรณีที่คืนมาเสียหาย ซึ่งจำเลยจะต้องรับผิดนอกเหนือจาการใช้รถโดยชอบ โจทก์ก็มีสิทธิเรียกค่าสินไหมทดแทนเพื่อเหตุนั้นได้
สัญญาเช่าซื้อข้อ 6 ที่ว่า ให้โจทก์มีสิทธิได้รับเงินที่ยังค้างส่งเต็มจำนวนทั้งให้จำเลยรับผิดในความเสียหายเนื่องจากเลิกสัญญาด้วยนั้น เป็นขอสัญญาที่ระบุความรับผิดในการที่จำเลยไม่ชำระหนี้ไว้ล่วงหน้า ไม่ใช่ข้อสัญญาที่กำหนดค่าเช่าตามปกติ หรือค่าใช้ทรัพย์โดยแท้ แต่รวมราคาขายรถไว้ส่วนหนึ่งด้วย แต่มีลักษณะเป็นการกำหนดเบี้ยปรับถ้าหากกำหนดไว้สูงเกินส่วน ศาลอาจลดลงเป็นจำนวนที่พอสมควรได้
แม้สำเนาสัญญาค้ำประกันท้ายฟ้องขาดข้อความที่ว่า ผู้ค้ำประกันยอมรับผิดในการที่เจ้าหนี้ยอมให้ลูกหนี้ผัดผ่อนเวลาชำระหนี้ ไม่ตรงกันกับต้นฉบับซึ่งมีข้อความดังกล่าว เมื่อโจทก์อ้างส่งต้นฉบับเป็นพยาน จำเลยมิได้โต้แย้งคัดค้านความถูกต้องแท้จริง ศาลย่อมรับฟังต้นฉบับสัญญาค้ำประกันได้ ไม่เป็นการนอกประเด็นในคำฟ้อง เพราะคำฟ้องก็มีข้ออ้างให้จำเลยต้องรับผิดในฐานผู้ค้ำประกันอยู่แล้ว
(ปัญหาตามวรรคสองถึงวรรคหก วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 20/2511 เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2511)
กรณีจำเลยผู้เช่าซื้อผิดนัด ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 574 มิได้บัญญัติให้สิทธิโจทก์โดยแจ้งชัดนอกเหนือไปจากการกลับเข้าครองทรัพย์สินและริบเงินที่จำเลยส่งแล้ว ถ้าโจทก์ยังมีสิทธิเรียกเงินค่าเช่าซื้อที่ค้างชำระจนเต็มจำนวนด้วย ก็ไม่มีเหตุที่กฎหมายจะบัญญัติไว้เพียงให้ริบเงินที่ส่งใช้แล้วก่อนเลิกสัญญา
แม้จำเลยจะผิดนัด หากโจทก์เรียกร้องเงินค่าเช่าซื้อที่ค้างชำระ โจทก์ย่อมมีสิทธิได้รับเพียงค่าเสียหาย ซึ่งตามปกติคือดอกเบี้ย เว้นแต่จะพิสูจน์ความเสียหายอย่างอื่นได้อีกด้วย ไม่ใช่โจทก์เรียกร้องได้ทั้งเงินค่าเช่าซื้อเต็มจำนวน แล้วยังเอารถกลับคืนทั้งคันเป็นสองต่อ
เมื่อประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 574 มิได้บัญญัติไว้ ย่อมแสดงว่ากฎหมายประสงค์ปล่อยให้ความรับผิดของจำเลยอยู่ภายใต้บทบัญญัติในเรื่องหนี้โดยทั่วไป กล่าวคือ โจทก์มีสิทธิได้รับค่าสินไหมทดแทน เพราะจำเลยไม่ชำระหนี้ จนเป็นเหตุให้โจทก์บอกเลิกสัญญา
เมื่อโจทก์บอกเลิกสัญญาเช่าซื้อแล้ว คำมั่นจะขายที่โจทก์ให้ไว้ย่อมสิ้นไปโจทก์จะเรียกค่าเช่าซื้อที่ค้างชำระเต็มจำนวนดุจเป็นค่าตอบแทนการโอนกรรมสิทธิ์ในรถเสมือนราคาไม่ได้ คงมีสิทธิเรียกได้เพียงค่าที่จำเลยที่จำเลยได้ใช้รถของโจทก์มาตลอดระยะเวลาที่จำเลยยังครอบครองรถของโจทก์อยู่เท่านั้น
หากรณีที่คืนมาเสียหาย ซึ่งจำเลยจะต้องรับผิดนอกเหนือจาการใช้รถโดยชอบ โจทก์ก็มีสิทธิเรียกค่าสินไหมทดแทนเพื่อเหตุนั้นได้
สัญญาเช่าซื้อข้อ 6 ที่ว่า ให้โจทก์มีสิทธิได้รับเงินที่ยังค้างส่งเต็มจำนวนทั้งให้จำเลยรับผิดในความเสียหายเนื่องจากเลิกสัญญาด้วยนั้น เป็นขอสัญญาที่ระบุความรับผิดในการที่จำเลยไม่ชำระหนี้ไว้ล่วงหน้า ไม่ใช่ข้อสัญญาที่กำหนดค่าเช่าตามปกติ หรือค่าใช้ทรัพย์โดยแท้ แต่รวมราคาขายรถไว้ส่วนหนึ่งด้วย แต่มีลักษณะเป็นการกำหนดเบี้ยปรับถ้าหากกำหนดไว้สูงเกินส่วน ศาลอาจลดลงเป็นจำนวนที่พอสมควรได้
แม้สำเนาสัญญาค้ำประกันท้ายฟ้องขาดข้อความที่ว่า ผู้ค้ำประกันยอมรับผิดในการที่เจ้าหนี้ยอมให้ลูกหนี้ผัดผ่อนเวลาชำระหนี้ ไม่ตรงกันกับต้นฉบับซึ่งมีข้อความดังกล่าว เมื่อโจทก์อ้างส่งต้นฉบับเป็นพยาน จำเลยมิได้โต้แย้งคัดค้านความถูกต้องแท้จริง ศาลย่อมรับฟังต้นฉบับสัญญาค้ำประกันได้ ไม่เป็นการนอกประเด็นในคำฟ้อง เพราะคำฟ้องก็มีข้ออ้างให้จำเลยต้องรับผิดในฐานผู้ค้ำประกันอยู่แล้ว
(ปัญหาตามวรรคสองถึงวรรคหก วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 20/2511 เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2511)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1195/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าซื้อผิดนัด: สิทธิโจทก์ในการเรียกค่าเสียหาย และการลดเบี้ยปรับที่สูงเกินสมควร
สัญญาเช่าซื้อข้อ 6 กำหนดไว้ว่า ถ้าจำเลยผู้เช่าซื้อผิดนัด โจทก์ผู้ให้เช่าซื้อเข้าครอบครองรถและเลิกสัญญาได้ เงินที่ส่งชำระมาแล้วยอมให้โจทก์ริบ ค่าเช่าที่ยังค้างอยู่จะชำระให้จนครบ ส่วนค่าเสียหายจำเลยยอมรับผิดชอบ รถที่คืนจำเลยยินยอมให้โจทก์จำหน่ายหากได้ราคาไม่ครบถ้วน จำเลยต้องชดใช้เงินที่ขาด ความตอนท้ายที่เกี่ยวกับการให้จำหน่ายรถนั้น เป็นวิธีการกำหนดและชดใช้ค่าเสียหายอย่างหนึ่ง ซึ่งเมื่อจำหน่ายรถ จะทราบจำนวนค่าเสียหายที่แน่นอน แม้ยังไม่จำหน่ายรถ โจทก์ก็มีสิทธิเรียกค่าเสียหายซึ่งจำเลยต้องรับผิดอยู่แล้ว โดยพิสูจน์ได้จากพยานหลักฐาน
กรณีจำเลยผู้เช่าซื้อผิดนัด ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 574 มิได้บัญญัติให้สิทธิโจทก์โดยแจ้งชัดนอกเหนือไปจากการกลับเข้าครองทรัพย์สินและริบเงินที่จำเลยส่งแล้ว ถ้าโจทก์ยังมีสิทธิเรียกเงินค่าเช่าซื้อที่ค้างชำระจนเต็มจำนวนด้วย ก็ไม่มีเหตุที่กฎหมายจะบัญญัติไว้เพียงให้ริบเงินที่ส่งใช้แล้วก่อนเลิกสัญญา
แม้จำเลยจะผิดนัด หากโจทก์เรียกร้องเงินค่าเช่าซื้อที่ค้างชำระ โจทก์ย่อมมีสิทธิได้รับเพียงค่าเสียหาย ซึ่งตามปกติคือดอกเบี้ย เว้นแต่จะพิสูจน์ความเสียหายอย่างอื่นได้อีกด้วย ไม่ใช่โจทก์เรียกร้องได้ทั้งเงินค่าเช่าซื้อเต็มจำนวน แล้วยังเอารถกลับคืนทั้งคันเป็นสองต่อ
เมื่อประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 574 มิได้บัญญัติไว้ ย่อมแสดงว่ากฎหมายประสงค์ปล่อยให้ความรับผิดของจำเลยอยู่ภายใต้บทบัญญัติในเรื่องหนี้โดยทั่วไป กล่าวคือ โจทก์มีสิทธิได้รับค่าสินไหมทดแทน เพราะจำเลยไม่ชำระหนี้ จนเป็นเหตุให้โจทก์บอกเลิกสัญญา
เมื่อโจทก์บอกเลิกสัญญาเช่าซื้อแล้ว คำมั่นจะขายที่โจทก์ให้ไว้ย่อมสิ้นไป โจทก์จะเรียกค่าเช่าซื้อที่ค้างชำระเต็มจำนวนดุจเป็นค่าตอบแทนการโอนกรรมสิทธิ์ในรถเสมือนราคาไม่ได้ คงมีสิทธิเรียกได้เพียงค่าที่จำเลยได้ใช้รถของโจทก์มาตลอดระยะเวลาที่จำเลยยังครอบครองรถของโจทก์อยู่เท่านั้น
หากรถที่คืนมาเสียหาย ซึ่งจำเลยจะต้องรับผิดนอกเหนือจากการใช้รถโดยชอบ โจทก์ก็มีสิทธิเรียกค่าสินไหมทดแทนเพื่อเหตุนั้นได้
สัญญาเช่าซื้อข้อ 6 ที่ว่า ให้โจทก์มีสิทธิได้รับเงินที่ยังค้างส่งเต็มจำนวนทั้งให้จำเลยรับผิดในความเสียหายเนื่องจากเลิกสัญญาด้วยนั้น เป็นข้อสัญญาที่ระบุความรับผิดในการที่จำเลยไม่ชำระหนี้ไว้ล่วงหน้า ไม่ใช่ข้อสัญญาที่กำหนดค่าเช่าตามปกติ หรือค่าใช้ทรัพย์โดยแท้แต่รวมราคาขายรถไว้ส่วนหนึ่งด้วย ข้อตกลงเช่นนี้จึงไม่ใช่ข้อตกลงเป็นข้อกำหนดค่าตอบแทนการใช้ทรัพย์ไว้ล่วงหน้า แต่มีลักษณะเป็นการกำหนดเบี้ยปรับถ้าหากกำหนดไว้สูงเกินส่วน ศาลอาจลดลงเป็นจำนวนที่พอสมควรได้
แม้สำเนาสัญญาค้ำประกันท้ายฟ้องขาดข้อความที่ว่าผู้ค้ำประกันยอมรับผิดในการที่เจ้าหนี้ยอมให้ลูกหนี้ผัดผ่อนเวลาชำระหนี้ ไม่ตรงกันกับต้นฉบับซึ่งมีข้อความดังกล่าว เมื่อโจทก์อ้างส่งต้นฉบับเป็นพยาน จำเลยมิได้โต้แย้งคัดค้านความถูกต้องแท้จริง ศาลย่อมรับฟังต้นฉบับสัญญาค้ำประกันได้ ไม่เป็นการนอกประเด็นในคำฟ้องเพราะคำฟ้องก็มีข้ออ้างให้จำเลยต้องรับผิดในฐานผู้ค้ำประกันอยู่แล้ว (ปัญหาตามวรรคสองถึงวรรคหก วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 20/2511 เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2511)
กรณีจำเลยผู้เช่าซื้อผิดนัด ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 574 มิได้บัญญัติให้สิทธิโจทก์โดยแจ้งชัดนอกเหนือไปจากการกลับเข้าครองทรัพย์สินและริบเงินที่จำเลยส่งแล้ว ถ้าโจทก์ยังมีสิทธิเรียกเงินค่าเช่าซื้อที่ค้างชำระจนเต็มจำนวนด้วย ก็ไม่มีเหตุที่กฎหมายจะบัญญัติไว้เพียงให้ริบเงินที่ส่งใช้แล้วก่อนเลิกสัญญา
แม้จำเลยจะผิดนัด หากโจทก์เรียกร้องเงินค่าเช่าซื้อที่ค้างชำระ โจทก์ย่อมมีสิทธิได้รับเพียงค่าเสียหาย ซึ่งตามปกติคือดอกเบี้ย เว้นแต่จะพิสูจน์ความเสียหายอย่างอื่นได้อีกด้วย ไม่ใช่โจทก์เรียกร้องได้ทั้งเงินค่าเช่าซื้อเต็มจำนวน แล้วยังเอารถกลับคืนทั้งคันเป็นสองต่อ
เมื่อประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 574 มิได้บัญญัติไว้ ย่อมแสดงว่ากฎหมายประสงค์ปล่อยให้ความรับผิดของจำเลยอยู่ภายใต้บทบัญญัติในเรื่องหนี้โดยทั่วไป กล่าวคือ โจทก์มีสิทธิได้รับค่าสินไหมทดแทน เพราะจำเลยไม่ชำระหนี้ จนเป็นเหตุให้โจทก์บอกเลิกสัญญา
เมื่อโจทก์บอกเลิกสัญญาเช่าซื้อแล้ว คำมั่นจะขายที่โจทก์ให้ไว้ย่อมสิ้นไป โจทก์จะเรียกค่าเช่าซื้อที่ค้างชำระเต็มจำนวนดุจเป็นค่าตอบแทนการโอนกรรมสิทธิ์ในรถเสมือนราคาไม่ได้ คงมีสิทธิเรียกได้เพียงค่าที่จำเลยได้ใช้รถของโจทก์มาตลอดระยะเวลาที่จำเลยยังครอบครองรถของโจทก์อยู่เท่านั้น
หากรถที่คืนมาเสียหาย ซึ่งจำเลยจะต้องรับผิดนอกเหนือจากการใช้รถโดยชอบ โจทก์ก็มีสิทธิเรียกค่าสินไหมทดแทนเพื่อเหตุนั้นได้
สัญญาเช่าซื้อข้อ 6 ที่ว่า ให้โจทก์มีสิทธิได้รับเงินที่ยังค้างส่งเต็มจำนวนทั้งให้จำเลยรับผิดในความเสียหายเนื่องจากเลิกสัญญาด้วยนั้น เป็นข้อสัญญาที่ระบุความรับผิดในการที่จำเลยไม่ชำระหนี้ไว้ล่วงหน้า ไม่ใช่ข้อสัญญาที่กำหนดค่าเช่าตามปกติ หรือค่าใช้ทรัพย์โดยแท้แต่รวมราคาขายรถไว้ส่วนหนึ่งด้วย ข้อตกลงเช่นนี้จึงไม่ใช่ข้อตกลงเป็นข้อกำหนดค่าตอบแทนการใช้ทรัพย์ไว้ล่วงหน้า แต่มีลักษณะเป็นการกำหนดเบี้ยปรับถ้าหากกำหนดไว้สูงเกินส่วน ศาลอาจลดลงเป็นจำนวนที่พอสมควรได้
แม้สำเนาสัญญาค้ำประกันท้ายฟ้องขาดข้อความที่ว่าผู้ค้ำประกันยอมรับผิดในการที่เจ้าหนี้ยอมให้ลูกหนี้ผัดผ่อนเวลาชำระหนี้ ไม่ตรงกันกับต้นฉบับซึ่งมีข้อความดังกล่าว เมื่อโจทก์อ้างส่งต้นฉบับเป็นพยาน จำเลยมิได้โต้แย้งคัดค้านความถูกต้องแท้จริง ศาลย่อมรับฟังต้นฉบับสัญญาค้ำประกันได้ ไม่เป็นการนอกประเด็นในคำฟ้องเพราะคำฟ้องก็มีข้ออ้างให้จำเลยต้องรับผิดในฐานผู้ค้ำประกันอยู่แล้ว (ปัญหาตามวรรคสองถึงวรรคหก วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 20/2511 เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2511)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1195/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าซื้อผิดนัด: สิทธิของเจ้าหนี้ในการริบรถ, เรียกค่าเสียหาย, และเบี้ยปรับที่อาจลดได้
สัญญาเช่าซื้อข้อ 6 กำหนดไว้ว่า ถ้าจำเลยผู้เช่าซื้อผิดนัด โจทก์ผู้ให้เช่าซื้อเข้าครอบครองรถและเลิกสัญญาได้.เงินที่ส่งชำระมาแล้วยอมให้โจทก์ริบ ค่าเช่าที่ยังค้างอยู่จะชำระให้จนครบ. ส่วนค่าเสียหายจำเลยยอมรับผิดชอบ.รถที่คืนจำเลยยินยอมให้โจทก์จำหน่ายหากได้ราคาไม่ครบถ้วน. จำเลยต้องชดใช้เงินที่ขาด. ความตอนท้ายที่เกี่ยวกับการให้จำหน่ายรถนั้น เป็นวิธีการกำหนดและชดใช้ค่าเสียหายอย่างหนึ่ง. ซึ่งเมื่อจำหน่ายรถ จะทราบจำนวนค่าเสียหายที่แน่นอน. แม้ยังไม่จำหน่ายรถ. โจทก์ก็มีสิทธิเรียกค่าเสียหายซึ่งจำเลยต้องรับผิดอยู่แล้ว โดยพิสูจน์ได้จากพยานหลักฐาน.
กรณีจำเลยผู้เช่าซื้อผิดนัด. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 574 มิได้บัญญัติให้สิทธิโจทก์โดยแจ้งชัดนอกเหนือไปจากการกลับเข้าครองทรัพย์สินและริบเงินที่จำเลยส่งแล้ว. ถ้าโจทก์ยังมีสิทธิเรียกเงินค่าเช่าซื้อที่ค้างชำระจนเต็มจำนวนด้วย. ก็ไม่มีเหตุที่กฎหมายจะบัญญัติไว้เพียงให้ริบเงินที่ส่งใช้แล้วก่อนเลิกสัญญา.
แม้จำเลยจะผิดนัด หากโจทก์เรียกร้องเงินค่าเช่าซื้อที่ค้างชำระ. โจทก์ย่อมมีสิทธิได้รับเพียงค่าเสียหาย ซึ่งตามปกติคือดอกเบี้ย เว้นแต่จะพิสูจน์ความเสียหายอย่างอื่นได้อีกด้วย. ไม่ใช่โจทก์เรียกร้องได้ทั้งเงินค่าเช่าซื้อเต็มจำนวน แล้วยังเอารถกลับคืนทั้งคันเป็นสองต่อ.
เมื่อประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 574 มิได้บัญญัติไว้. ย่อมแสดงว่ากฎหมายประสงค์ปล่อยให้ความรับผิดของจำเลยอยู่ภายใต้บทบัญญัติในเรื่องหนี้โดยทั่วไป. กล่าวคือ โจทก์มีสิทธิได้รับค่าสินไหมทดแทน. เพราะจำเลยไม่ชำระหนี้. จนเป็นเหตุให้โจทก์บอกเลิกสัญญา.
เมื่อโจทก์บอกเลิกสัญญาเช่าซื้อแล้ว คำมั่นจะขายที่โจทก์ให้ไว้ย่อมสิ้นไป. โจทก์จะเรียกค่าเช่าซื้อที่ค้างชำระเต็มจำนวนดุจเป็นค่าตอบแทนการโอนกรรมสิทธิ์ในรถเสมือนราคาไม่ได้. คงมีสิทธิเรียกได้เพียงค่าที่จำเลยได้ใช้รถของโจทก์มาตลอดระยะเวลาที่จำเลยยังครอบครองรถของโจทก์อยู่เท่านั้น.
หากรถที่คืนมาเสียหาย ซึ่งจำเลยจะต้องรับผิดนอกเหนือจากการใช้รถโดยชอบ โจทก์ก็มีสิทธิเรียกค่าสินไหมทดแทนเพื่อเหตุนั้นได้.
สัญญาเช่าซื้อข้อ 6 ที่ว่า ให้โจทก์มีสิทธิได้รับเงินที่ยังค้างส่งเต็มจำนวนทั้งให้จำเลยรับผิดในความเสียหายเนื่องจากเลิกสัญญาด้วยนั้น. เป็นข้อสัญญาที่ระบุความรับผิดในการที่จำเลยไม่ชำระหนี้ไว้ล่วงหน้า. ไม่ใช่ข้อสัญญาที่กำหนดค่าเช่าตามปกติ หรือค่าใช้ทรัพย์โดยแท้.แต่รวมราคาขายรถไว้ส่วนหนึ่งด้วย. ข้อตกลงเช่นนี้จึงไม่ใช่ข้อตกลงเป็นข้อกำหนดค่าตอบแทนการใช้ทรัพย์ไว้ล่วงหน้า.แต่มีลักษณะเป็นการกำหนดเบี้ยปรับถ้าหากกำหนดไว้สูงเกินส่วน. ศาลอาจลดลงเป็นจำนวนที่พอสมควรได้.
แม้สำเนาสัญญาค้ำประกันท้ายฟ้องขาดข้อความที่ว่าผู้ค้ำประกันยอมรับผิดในการที่เจ้าหนี้ยอมให้ลูกหนี้ผัดผ่อนเวลาชำระหนี้. ไม่ตรงกันกับต้นฉบับซึ่งมีข้อความดังกล่าว. เมื่อโจทก์อ้างส่งต้นฉบับเป็นพยาน. จำเลยมิได้โต้แย้งคัดค้านความถูกต้องแท้จริง. ศาลย่อมรับฟังต้นฉบับสัญญาค้ำประกันได้. ไม่เป็นการนอกประเด็นในคำฟ้อง.เพราะคำฟ้องก็มีข้ออ้างให้จำเลยต้องรับผิดในฐานผู้ค้ำประกันอยู่แล้ว. (ปัญหาตามวรรคสองถึงวรรคหก วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 20/2511 เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2511).
กรณีจำเลยผู้เช่าซื้อผิดนัด. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 574 มิได้บัญญัติให้สิทธิโจทก์โดยแจ้งชัดนอกเหนือไปจากการกลับเข้าครองทรัพย์สินและริบเงินที่จำเลยส่งแล้ว. ถ้าโจทก์ยังมีสิทธิเรียกเงินค่าเช่าซื้อที่ค้างชำระจนเต็มจำนวนด้วย. ก็ไม่มีเหตุที่กฎหมายจะบัญญัติไว้เพียงให้ริบเงินที่ส่งใช้แล้วก่อนเลิกสัญญา.
แม้จำเลยจะผิดนัด หากโจทก์เรียกร้องเงินค่าเช่าซื้อที่ค้างชำระ. โจทก์ย่อมมีสิทธิได้รับเพียงค่าเสียหาย ซึ่งตามปกติคือดอกเบี้ย เว้นแต่จะพิสูจน์ความเสียหายอย่างอื่นได้อีกด้วย. ไม่ใช่โจทก์เรียกร้องได้ทั้งเงินค่าเช่าซื้อเต็มจำนวน แล้วยังเอารถกลับคืนทั้งคันเป็นสองต่อ.
เมื่อประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 574 มิได้บัญญัติไว้. ย่อมแสดงว่ากฎหมายประสงค์ปล่อยให้ความรับผิดของจำเลยอยู่ภายใต้บทบัญญัติในเรื่องหนี้โดยทั่วไป. กล่าวคือ โจทก์มีสิทธิได้รับค่าสินไหมทดแทน. เพราะจำเลยไม่ชำระหนี้. จนเป็นเหตุให้โจทก์บอกเลิกสัญญา.
เมื่อโจทก์บอกเลิกสัญญาเช่าซื้อแล้ว คำมั่นจะขายที่โจทก์ให้ไว้ย่อมสิ้นไป. โจทก์จะเรียกค่าเช่าซื้อที่ค้างชำระเต็มจำนวนดุจเป็นค่าตอบแทนการโอนกรรมสิทธิ์ในรถเสมือนราคาไม่ได้. คงมีสิทธิเรียกได้เพียงค่าที่จำเลยได้ใช้รถของโจทก์มาตลอดระยะเวลาที่จำเลยยังครอบครองรถของโจทก์อยู่เท่านั้น.
หากรถที่คืนมาเสียหาย ซึ่งจำเลยจะต้องรับผิดนอกเหนือจากการใช้รถโดยชอบ โจทก์ก็มีสิทธิเรียกค่าสินไหมทดแทนเพื่อเหตุนั้นได้.
สัญญาเช่าซื้อข้อ 6 ที่ว่า ให้โจทก์มีสิทธิได้รับเงินที่ยังค้างส่งเต็มจำนวนทั้งให้จำเลยรับผิดในความเสียหายเนื่องจากเลิกสัญญาด้วยนั้น. เป็นข้อสัญญาที่ระบุความรับผิดในการที่จำเลยไม่ชำระหนี้ไว้ล่วงหน้า. ไม่ใช่ข้อสัญญาที่กำหนดค่าเช่าตามปกติ หรือค่าใช้ทรัพย์โดยแท้.แต่รวมราคาขายรถไว้ส่วนหนึ่งด้วย. ข้อตกลงเช่นนี้จึงไม่ใช่ข้อตกลงเป็นข้อกำหนดค่าตอบแทนการใช้ทรัพย์ไว้ล่วงหน้า.แต่มีลักษณะเป็นการกำหนดเบี้ยปรับถ้าหากกำหนดไว้สูงเกินส่วน. ศาลอาจลดลงเป็นจำนวนที่พอสมควรได้.
แม้สำเนาสัญญาค้ำประกันท้ายฟ้องขาดข้อความที่ว่าผู้ค้ำประกันยอมรับผิดในการที่เจ้าหนี้ยอมให้ลูกหนี้ผัดผ่อนเวลาชำระหนี้. ไม่ตรงกันกับต้นฉบับซึ่งมีข้อความดังกล่าว. เมื่อโจทก์อ้างส่งต้นฉบับเป็นพยาน. จำเลยมิได้โต้แย้งคัดค้านความถูกต้องแท้จริง. ศาลย่อมรับฟังต้นฉบับสัญญาค้ำประกันได้. ไม่เป็นการนอกประเด็นในคำฟ้อง.เพราะคำฟ้องก็มีข้ออ้างให้จำเลยต้องรับผิดในฐานผู้ค้ำประกันอยู่แล้ว. (ปัญหาตามวรรคสองถึงวรรคหก วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 20/2511 เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2511).