พบผลลัพธ์ทั้งหมด 43 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 40/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฎีกาเกี่ยวกับการฉ้อโกงหนังสือสัญญากู้และโฉนดที่ดิน ศาลฎีกาวินิจฉัยเรื่องทรัพย์สินที่ผู้เสียหายเสียไป และอำนาจการบังคับคดี
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 43 นั้น เมื่อกรณีเป็นการฉ้อโกงเอาหนังสือสัญญากู้ไปทรัพย์สินที่ผู้เสียหารศูนย์เสียไปก็คือหนังสือกู้ พนักงานอัยการคงเรียกคืนได้แต่ตัวหนังสือสัญญาเท่านั้น จะขอมาด้วยว่า ถ้าหากจำเลยส่งสัญญาไม่ได้ ให้ใช้เงินอันเป็นหนี้ตามสัญญาแทนนั้น หาได้ไม่ เพราะไม่อาจกล่าวได้ว่าผู้เสียหายได้ศูนย์เสียทรัพย์สินที่มีราคาตามหนี้ในสัญญากู้ แม้หนังสือสัญญากู้ศูนย์หายไปก็ยังฟ้องร้องเรียกหนี้กันได้ มิใช่ว่าหนี้นั้นจะพลอยศูนย์ไปด้วย หนี้ตามสัญญากู้มีอย่างไร ผู้เสียหายชอบที่จะฟ้องร้องเป็นคดีแพ่งอีกต่างหาก
เมื่อคำพิพากษาศาลอุทธรณ์มีผลเป็นการพิพากษายืนตามศาลชั้นต้นในส่วนอาญาที่ลงโทษจำเลยฐานฉ้อโกงหนังสือสัญญากู้ คงพิพากษาแก้แต่เพียงว่า โจทก์จะขอเข้ามาในคดีนี้ว่า ถ้าจำเลยคืนสัญญากู้ไม่ได้ ใช้จำเลยใช้เงินแทนไม่ได้ เพราะเป็นเรื่องที่ผู้เสียหายจะต้องดำเนินเป็นคดีแพ่งขึ้นใหม่อีกสำนวนหนึ่ง เช่นนี้ จำเลยจะฎีกาข้อเท็จจริงในปัญหาเรื่องฉ้อโกงหนังสือสัญญากู้เงินหาได้ไม่ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218 เพราะศาลอุทธรณ์พิพากษายืนให้ลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกิน 5 ปี
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยได้กู้เงินผู้เสียหาย ฯลฯ เอาโฉนดที่ดิน 5 โฉนด มอบให้ผู้เสียหายยึดถือไว้เป็นประกัน ฯลฯ ต่อมาวันที่ 30 กันยายน 2489 จำเลยหลอกลวงผู้เสียว่าจะโอนโฉนดให้ผู้เสียหาย ฯลฯ แล้วเพทุบายขอรับโฉนดไปจากผู้เสียหายว่าจะเอาไปทำการโอนให้ตามข้อตกลง แต่จำเลยโอนให้เพียง 2 โฉนด ฯลฯ กับต่อมาวันที่ 3 - 4 ตุลาคม 2498 จำเลยหลอกลวงผู้เสียว่า จำเลยได้โอนโฉนดให้เรียบร้อยแล้ว รอแต่วันรับโฉนดเท่านั้น ผู้เสียหายไม่จำเป็นต้องยึดหนังสือสัญญากู้ไว้ ผู้เสียหายหลงเชื่อ ได้มอบหนังสือสัญญากู้ให้จำเลยไป ทั้งนี้ ตามวันเวลาดังกล่าว จำเลยมีเจตนาทุจริตหลอกลวงให้ส่งโฉนดและรับไปแล้วได้ฉ้อโกงเอาไว้ และมีเจตนาทุจริตคิดหลอกลวงให้ผู้เสียหายส่งหนังสือสัญญากู้ ฯลฯ ดังนี้ แม้ศาลอุทธรณ์จะฟังว่า โฉนดที่โจทก์หาว่าจำเลยฉ้อโกงนั้นไม่ได้อยู่กับผู้เสียหาย ก็ยังอาจฟังว่าจำเลยหลอกลวงให้ผู้เสียหายหลงเชื่อว่าจำเลยได้ขอให้จำเลยไป เพราะเป็นคนละเหตุ ทั้งข้อหาว่าจำเลยฉ้อโกงโฉนดและข้อหาฉ้อโกงหนังสือสัญญากู้ ต่างกรรมต่างวาระกัน แยกกันได้เป็น 2 กระทง (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 27/2507)
(หมายเหตุ :- (1) จำเลยขอให้รับรองฎีกาข้อเท็จจริง แต่ผู้พิพากษาศาลชั้นต้นสั่งว่าศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้ไขมาก ไม่ต้องห้ามจึงไม่รับรองให้ และสั่งรับฎีกาจำเลย แต่ศาลฎีกาเห็นว่า เฉพาะฎีกาข้อเท็จจริงต้องห้าม จึงไม่วินิจฉัยให้
(2) ที่ประชุมใหญ่ได้วินิจฉัยว่า การกระทำของจำเลยเป็นผิดฐานปลอมหนังสือไว้ด้วย แต่ปรากฏว่าฎีกาจำเลยข้อนี้เป็นฎีกาข้อเท็จจริง ต้องห้าม จึงไม่ปรากฏข้อวินิจฉัย ตามมติดังกล่าวในคำพิพากษา)
เมื่อคำพิพากษาศาลอุทธรณ์มีผลเป็นการพิพากษายืนตามศาลชั้นต้นในส่วนอาญาที่ลงโทษจำเลยฐานฉ้อโกงหนังสือสัญญากู้ คงพิพากษาแก้แต่เพียงว่า โจทก์จะขอเข้ามาในคดีนี้ว่า ถ้าจำเลยคืนสัญญากู้ไม่ได้ ใช้จำเลยใช้เงินแทนไม่ได้ เพราะเป็นเรื่องที่ผู้เสียหายจะต้องดำเนินเป็นคดีแพ่งขึ้นใหม่อีกสำนวนหนึ่ง เช่นนี้ จำเลยจะฎีกาข้อเท็จจริงในปัญหาเรื่องฉ้อโกงหนังสือสัญญากู้เงินหาได้ไม่ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218 เพราะศาลอุทธรณ์พิพากษายืนให้ลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกิน 5 ปี
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยได้กู้เงินผู้เสียหาย ฯลฯ เอาโฉนดที่ดิน 5 โฉนด มอบให้ผู้เสียหายยึดถือไว้เป็นประกัน ฯลฯ ต่อมาวันที่ 30 กันยายน 2489 จำเลยหลอกลวงผู้เสียว่าจะโอนโฉนดให้ผู้เสียหาย ฯลฯ แล้วเพทุบายขอรับโฉนดไปจากผู้เสียหายว่าจะเอาไปทำการโอนให้ตามข้อตกลง แต่จำเลยโอนให้เพียง 2 โฉนด ฯลฯ กับต่อมาวันที่ 3 - 4 ตุลาคม 2498 จำเลยหลอกลวงผู้เสียว่า จำเลยได้โอนโฉนดให้เรียบร้อยแล้ว รอแต่วันรับโฉนดเท่านั้น ผู้เสียหายไม่จำเป็นต้องยึดหนังสือสัญญากู้ไว้ ผู้เสียหายหลงเชื่อ ได้มอบหนังสือสัญญากู้ให้จำเลยไป ทั้งนี้ ตามวันเวลาดังกล่าว จำเลยมีเจตนาทุจริตหลอกลวงให้ส่งโฉนดและรับไปแล้วได้ฉ้อโกงเอาไว้ และมีเจตนาทุจริตคิดหลอกลวงให้ผู้เสียหายส่งหนังสือสัญญากู้ ฯลฯ ดังนี้ แม้ศาลอุทธรณ์จะฟังว่า โฉนดที่โจทก์หาว่าจำเลยฉ้อโกงนั้นไม่ได้อยู่กับผู้เสียหาย ก็ยังอาจฟังว่าจำเลยหลอกลวงให้ผู้เสียหายหลงเชื่อว่าจำเลยได้ขอให้จำเลยไป เพราะเป็นคนละเหตุ ทั้งข้อหาว่าจำเลยฉ้อโกงโฉนดและข้อหาฉ้อโกงหนังสือสัญญากู้ ต่างกรรมต่างวาระกัน แยกกันได้เป็น 2 กระทง (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 27/2507)
(หมายเหตุ :- (1) จำเลยขอให้รับรองฎีกาข้อเท็จจริง แต่ผู้พิพากษาศาลชั้นต้นสั่งว่าศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้ไขมาก ไม่ต้องห้ามจึงไม่รับรองให้ และสั่งรับฎีกาจำเลย แต่ศาลฎีกาเห็นว่า เฉพาะฎีกาข้อเท็จจริงต้องห้าม จึงไม่วินิจฉัยให้
(2) ที่ประชุมใหญ่ได้วินิจฉัยว่า การกระทำของจำเลยเป็นผิดฐานปลอมหนังสือไว้ด้วย แต่ปรากฏว่าฎีกาจำเลยข้อนี้เป็นฎีกาข้อเท็จจริง ต้องห้าม จึงไม่ปรากฏข้อวินิจฉัย ตามมติดังกล่าวในคำพิพากษา)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 40/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฎีกานี้เกี่ยวกับการฉ้อโกงหนังสือสัญญากู้และการพิพากษาศาลอุทธรณ์ที่ยืนตามศาลชั้นต้นในประเด็นฉ้อโกงและจำกัดขอบเขตการชดใช้ค่าเสียหาย
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 43 นั้นเมื่อกรณีเป็นการฉ้อโกงเอาหนังสือสัญญากู้ไป ทรัพย์สินที่ผู้เสียหายสูญเสียไปก็คือหนังสือกู้ พนักงานอัยการคงเรียกคืนได้แต่ตัวหนังสือสัญญาเท่านั้น จะขอมาด้วยว่า ถ้าหากจำเลยส่งสัญญาไม่ได้ให้ใช้เงินอันเป็นหนี้ตามสัญญาแทนนั้น หาได้ไม่ เพราะไม่อาจกล่าวได้ว่าผู้เสียหายได้สูญเสียทรัพย์สินที่มีราคาตามหนี้ในสัญญากู้ แม้หนังสือสัญญากู้สูญหายไปก็ยังฟ้องร้องเรียกหนี้กันได้มิใช่ว่าหนี้นั้นจะพลอยสูญไปด้วย หนี้ตามสัญญากู้มีอย่างไร ผู้เสียหายชอบที่จะฟ้องร้องเป็นคดีแพ่งอีกต่างหาก
เมื่อคำพิพากษาศาลอุทธรณ์มีผลเป็นการพิพากษายืนตามศาลชั้นต้นในส่วนอาญาที่ลงโทษจำเลยฐานฉ้อโกงหนังสือสัญญากู้คงพิพากษาแก้แต่เพียงว่า โจทก์จะขอเข้ามาในคดีนี้ว่า ถ้าจำเลยคืนสัญญากู้ไม่ได้ ให้จำเลยใช้เงินแทนไม่ได้เพราะเป็นเรื่องที่ผู้เสียหายจะต้องดำเนินเป็นคดีแพ่งขึ้นใหม่อีกสำนวนหนึ่ง เช่นนี้ จำเลยจะฎีกาข้อเท็จจริงในปัญหาเรื่องฉ้อโกงหนังสือสัญญากู้เงินหาได้ไม่ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218 เพราะศาลอุทธรณ์พิพากษายืนให้ลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกิน 5 ปี
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยได้กู้เงินผู้เสียหาย ฯลฯ เอาโฉนดที่ดิน 5 โฉนดมอบให้ผู้เสียหายยึดถือไว้เป็นประกันฯลฯ ต่อมาวันที่ 30 กันยายน 2498 จำเลยหลอกลวงผู้เสียหายว่าจะโอนโฉนดให้ผู้เสียหาย ฯลฯ แล้วเพทุบายขอรับโฉนดไปจากผู้เสียหายว่าจะเอาไปทำการโอนให้ตามข้อตกลงแต่จำเลยโอนให้เพียง 2 โฉนด ฯลฯ กับต่อมาวันที่3-4 ตุลาคม 2498 จำเลยหลอกลวงผู้เสียหายว่า จำเลยได้โอนโฉนดให้เรียบร้อยแล้วรอแต่วันรับโฉนดเท่านั้นผู้เสียหายไม่จำเป็นต้องยึดหนังสือสัญญากู้ไว้ ผู้เสียหายหลงเชื่อได้มอบหนังสือสัญญากู้ให้จำเลยไป ทั้งนี้ ตามวันเวลาดังกล่าว จำเลยมีเจตนาทุจริตหลอกลวงให้ส่งโฉนดและรับไปแล้วได้ฉ้อโกงเอาไว้ และมีเจตนาทุจริตคิดหลอกลวงให้ผู้เสียหายส่งหนังสือสัญญากู้ ฯลฯดังนี้ แม้ศาลอุทธรณ์ฟังว่าโฉนดที่โจทก์หาว่าจำเลยฉ้อโกงนั้นไม่ได้อยู่กับผู้เสียหาย ก็ยังอาจฟังว่าจำเลยหลอกลวงให้ผู้เสียหายหลงเชื่อว่าจำเลยได้ขอให้หอทะเบียนโอนโฉนดเหล่านั้นให้แล้ว ผู้เสียหายจึงคืนสัญญากู้ให้จำเลยไป เพราะเป็นคนละเหตุทั้งข้อหาว่าจำเลยฉ้อโกงโฉนดและข้อหาฉ้อโกงหนังสือสัญญากู้ต่างกรรมต่างวาระกัน แยกได้เป็น 2 กระทง(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 27/2507)
(หมายเหตุ (1) จำเลยขอให้รับรองฎีกาข้อเท็จจริง แต่ผู้พิพากษาศาลชั้นต้นสั่งว่าศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้ไขมาก ไม่ต้องห้ามจึงไม่รับรองให้และสั่งรับฎีกาจำเลยแต่ศาลฎีกาเห็นว่าเฉพาะฎีกาข้อเท็จจริงข้อหาฉ้อโกงหนังสือสัญญากู้และข้อหาปลอมหนังสือต้องห้าม จึงไม่วินิจฉัยให้
(2) ที่ประชุมใหญ่ได้วินิจฉัยว่าการกระทำของจำเลยเป็นผิดฐานปลอมหนังสือไว้ด้วยแต่ปรากฏว่าฎีกาจำเลยข้อนี้เป็นฎีกาข้อเท็จจริง ต้องห้ามจึงไม่ปรากฏข้อวินิจฉัยตามมติดังกล่าวในคำพิพากษา)
เมื่อคำพิพากษาศาลอุทธรณ์มีผลเป็นการพิพากษายืนตามศาลชั้นต้นในส่วนอาญาที่ลงโทษจำเลยฐานฉ้อโกงหนังสือสัญญากู้คงพิพากษาแก้แต่เพียงว่า โจทก์จะขอเข้ามาในคดีนี้ว่า ถ้าจำเลยคืนสัญญากู้ไม่ได้ ให้จำเลยใช้เงินแทนไม่ได้เพราะเป็นเรื่องที่ผู้เสียหายจะต้องดำเนินเป็นคดีแพ่งขึ้นใหม่อีกสำนวนหนึ่ง เช่นนี้ จำเลยจะฎีกาข้อเท็จจริงในปัญหาเรื่องฉ้อโกงหนังสือสัญญากู้เงินหาได้ไม่ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218 เพราะศาลอุทธรณ์พิพากษายืนให้ลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกิน 5 ปี
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยได้กู้เงินผู้เสียหาย ฯลฯ เอาโฉนดที่ดิน 5 โฉนดมอบให้ผู้เสียหายยึดถือไว้เป็นประกันฯลฯ ต่อมาวันที่ 30 กันยายน 2498 จำเลยหลอกลวงผู้เสียหายว่าจะโอนโฉนดให้ผู้เสียหาย ฯลฯ แล้วเพทุบายขอรับโฉนดไปจากผู้เสียหายว่าจะเอาไปทำการโอนให้ตามข้อตกลงแต่จำเลยโอนให้เพียง 2 โฉนด ฯลฯ กับต่อมาวันที่3-4 ตุลาคม 2498 จำเลยหลอกลวงผู้เสียหายว่า จำเลยได้โอนโฉนดให้เรียบร้อยแล้วรอแต่วันรับโฉนดเท่านั้นผู้เสียหายไม่จำเป็นต้องยึดหนังสือสัญญากู้ไว้ ผู้เสียหายหลงเชื่อได้มอบหนังสือสัญญากู้ให้จำเลยไป ทั้งนี้ ตามวันเวลาดังกล่าว จำเลยมีเจตนาทุจริตหลอกลวงให้ส่งโฉนดและรับไปแล้วได้ฉ้อโกงเอาไว้ และมีเจตนาทุจริตคิดหลอกลวงให้ผู้เสียหายส่งหนังสือสัญญากู้ ฯลฯดังนี้ แม้ศาลอุทธรณ์ฟังว่าโฉนดที่โจทก์หาว่าจำเลยฉ้อโกงนั้นไม่ได้อยู่กับผู้เสียหาย ก็ยังอาจฟังว่าจำเลยหลอกลวงให้ผู้เสียหายหลงเชื่อว่าจำเลยได้ขอให้หอทะเบียนโอนโฉนดเหล่านั้นให้แล้ว ผู้เสียหายจึงคืนสัญญากู้ให้จำเลยไป เพราะเป็นคนละเหตุทั้งข้อหาว่าจำเลยฉ้อโกงโฉนดและข้อหาฉ้อโกงหนังสือสัญญากู้ต่างกรรมต่างวาระกัน แยกได้เป็น 2 กระทง(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 27/2507)
(หมายเหตุ (1) จำเลยขอให้รับรองฎีกาข้อเท็จจริง แต่ผู้พิพากษาศาลชั้นต้นสั่งว่าศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้ไขมาก ไม่ต้องห้ามจึงไม่รับรองให้และสั่งรับฎีกาจำเลยแต่ศาลฎีกาเห็นว่าเฉพาะฎีกาข้อเท็จจริงข้อหาฉ้อโกงหนังสือสัญญากู้และข้อหาปลอมหนังสือต้องห้าม จึงไม่วินิจฉัยให้
(2) ที่ประชุมใหญ่ได้วินิจฉัยว่าการกระทำของจำเลยเป็นผิดฐานปลอมหนังสือไว้ด้วยแต่ปรากฏว่าฎีกาจำเลยข้อนี้เป็นฎีกาข้อเท็จจริง ต้องห้ามจึงไม่ปรากฏข้อวินิจฉัยตามมติดังกล่าวในคำพิพากษา)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1162/2502 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความสมบูรณ์ของฟ้องอาญา: การกล่าวถึงผู้กระทำผิดโดยรวมถึงจำเลย
ฟ้องของโจทก์ตอนแรกบรรยายว่าได้มีผู้บังอาจปลอมใบเสร็จรับเงินและฟ้องตอนหลังกล่าวว่า จำเลยบังอาจสมคบกันปลอมใบเสร็จรับเงินนั้นเป็นการกล่าวว่ามีผู้ปลอมใบเสร็จรับเงินซึ่งหมายรวมถึงตัวจำเลยเป็นผู้ปลอมด้วย ข้อเท็จจริงในฟ้องจึงหาขัดกันไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1162/2502
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องคดีอาญา: ความสมบูรณ์ของฟ้องที่บรรยายลักษณะการกระทำผิดที่เปลี่ยนแปลงไป
ฟ้องของโจทก์ตอนแรกบรรยายว่าได้มีผู้บังอาจปลอมใบเสร็จรับเงินและฟ้องตอนหลังกล่าวว่า จำเลยบังอาจสมคบกันปลอมใบเสร็จรับเงินนั้นเป็นการกล่าวว่ามีผู้ปลอมใบเสร็จรับเงินซึ่งหมายรวมถึงตัวจำเลยเป็นผู้ปลอมด้วย ข้อเท็จจริงในฟ้องจึงหาขัดกันไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 668/2502
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การลงโทษความผิดฉ้อโกงและปลอมแปลงเอกสาร: เลือกใช้บทลงโทษที่เหมาะสมตามประมวลกฎหมายอาญา
โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามมาตรา 306(4)กฎหมายลักษณะอาญาซึ่งเป็นความผิดฐานฉ้อโกง โดยใช้อุบายพิเศษ แต่ประมวลกฎหมายอาญา ได้ยกเลิกการใช้อุบายพิเศษในลักษณะเช่นนี้แล้ว ศาลจะลงโทษตาม มาตรา 306(4) ไม่ได้ และจะใช้มาตรา 304 เป็นบทลงโทษก็ไม่ได้ เพราะตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 341 มีโทษเบากว่า ต้องใช้มาตรา341 เป็นบทลงโทษ
หนังสือมอบอำนาจให้จัดการอย่างใดอย่างหนึ่งแทนเจ้าของที่ดินนั้น เป็นเอกสารที่บุคคลธรรมดาทำขึ้น จึงมิใช่เป็นหนังสือราชการหรือหนังสือซึ่งเป็นสำคัญแก่การตั้งกรรมสิทธิ์หรือเป็นหลักฐานแห่งการเปลี่ยนแก้หรือเลิกล้างโอนกรรมสิทธิ์แต่อย่างใด
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 264 มีอัตราโทษเบากว่ากฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 223
หนังสือมอบอำนาจให้จัดการอย่างใดอย่างหนึ่งแทนเจ้าของที่ดินนั้น เป็นเอกสารที่บุคคลธรรมดาทำขึ้น จึงมิใช่เป็นหนังสือราชการหรือหนังสือซึ่งเป็นสำคัญแก่การตั้งกรรมสิทธิ์หรือเป็นหลักฐานแห่งการเปลี่ยนแก้หรือเลิกล้างโอนกรรมสิทธิ์แต่อย่างใด
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 264 มีอัตราโทษเบากว่ากฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 223
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 668/2502 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การลงโทษจำเลยในคดีฉ้อโกงและปลอมแปลงเอกสาร ศาลฎีกาพิจารณาบทลงโทษที่เหมาะสมตามประมวลกฎหมายอาญา
โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามมาตรา 306 (4) กฎหมายลักษณะอาญา ซึ่งเป็นความผิดฐานฉ้อโกง โดยใช้อุบายพิเศษ แต่ประมวลกฎหมายอาญา ได้ยกเลิกการใช้อุบายพิเศษในลักษณะเช่นนี้แล้ว ศาลจะลงโทษตาม มาตรา 306(4) ไม่ได้ และจะใช้ มาตรา 304 เป็นบทลงโทษก็ไม่ได้ เพราะตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 341 มีโทษเบากว่า ต้องใช้มาตรา 341 เป็นบทลงโทษ
หนังสือมอบอำนาจให้จัดการอย่างใดอย่างหนึ่งแทนเจ้าของที่ดินนั้น เป็นเอกสารที่บุคคลธรรมดาทำขึ้น จึงมิใช่เป็นหนังสือราชการหรือหนังสือซึ่งเป็นสำคัญแก่การตั้งกรรมสิทธิ์หรือเป็นหลักฐานแห่งการเปลี่ยนแก้หรือเลิกล้างโอนกรรมสิทธิแต่อย่างใด
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 264 มีอัตราโทษเบากว่ากฎหมายลักษณะ อาญา มาตรา 223
หนังสือมอบอำนาจให้จัดการอย่างใดอย่างหนึ่งแทนเจ้าของที่ดินนั้น เป็นเอกสารที่บุคคลธรรมดาทำขึ้น จึงมิใช่เป็นหนังสือราชการหรือหนังสือซึ่งเป็นสำคัญแก่การตั้งกรรมสิทธิ์หรือเป็นหลักฐานแห่งการเปลี่ยนแก้หรือเลิกล้างโอนกรรมสิทธิแต่อย่างใด
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 264 มีอัตราโทษเบากว่ากฎหมายลักษณะ อาญา มาตรา 223
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1991/2500 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจัดทำเครื่องหมายผู้ขับขี่ล้อเลื่อนรับจ้างโดยไม่ขัดกฎหมาย เนื่องจากกฎหมายไม่ได้จำกัดสิทธิผู้จัดทำ
เกี่ยวกับเครื่องหมายสำหรับผู้ขับขี่ล้อเลื่อนรับจ้างนั้น เมื่อกฎหมายมิได้กำหนดว่า เจ้าพนักงานต้องเป็นผู้จัดทำเอง ผู้อื่นใดจะทำมิได้ดังที่ บัญญัติไว้ในมาตรา 13 แห่ง พ.ร.บ.ล้อเลื่อน พ.ศ.2478 ที่เกี่ยวกับเครื่องหมายติดกับตัวล้อเลื่อนแล้ว ดังนั้นการที่จำเลยจัดทำเครื่องหมายดังกล่าวขึ้นจึงไม่เป็นผิดแต่อย่างใดเลย.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1991/2500
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจัดทำเครื่องหมายผู้ขับขี่ล้อเลื่อน: กฎหมายไม่ได้จำกัดสิทธิเฉพาะเจ้าหน้าที่รัฐ
เกี่ยวกับเครื่องหมายสำหรับผู้ขับขี่ล้อเลื่อนรับจ้างนั้นเมื่อกฎหมายมิได้กำหนดว่าเจ้าพนักงานต้องเป็นผู้จัดทำเองผู้อื่นใดจะทำมิได้ดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 13 แห่ง พระราชบัญญัติล้อเลื่อน พ.ศ.2478 ที่เกี่ยวกับเครื่องหมายติดกับตัวล้อเลื่อนแล้ว ดังนั้นการที่จำเลยจัดทำเครื่องหมายดังกล่าวขึ้นจึงไม่เป็นผิดแต่อย่างใดเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1106/2499
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิการเป็นโจทก์ร่วมของผู้เสียหายจากการทำลายตราไม้ที่ได้รับอนุญาตทำไม้
อัยการโจทก์ฟ้องว่าจำเลยทั้ง 4 สมคบกันถากทำลายตราประจำต้นไม้ของนายจงกลซึ่งได้รับอนุญาตจากกรมป่าไม้ แล้วสมคบกันตีตราเลขหมายอื่นเป็นเลขของนายพิจิตรจำเลยขึ้นใหม่โดยทางการมิได้อนุญาต เพื่อประสงค์จะให้ไม้ของนายจงกลตกเป็นของนายพิจิตรจำเลย โดยจำเลยหวังผลประโยชน์จากนายพิจิตร
ดังนี้นายจงกลย่อมได้ชื่อว่าเป็นผู้เสียหายมีสิทธิร้องขอเข้าเป็นโจทก์ร่วมกับอัยการโจทก์ได้ เพราะเป็นผู้ที่ได้รับอนุญาตให้ทำไม้ที่ตีตราไว้ให้แล้วซึ่งนายจงกลมีสิทธิที่จะเข้ายึดถือครอบครองเป็นเจ้าของในภายหลัง (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 5/2499)
ดังนี้นายจงกลย่อมได้ชื่อว่าเป็นผู้เสียหายมีสิทธิร้องขอเข้าเป็นโจทก์ร่วมกับอัยการโจทก์ได้ เพราะเป็นผู้ที่ได้รับอนุญาตให้ทำไม้ที่ตีตราไว้ให้แล้วซึ่งนายจงกลมีสิทธิที่จะเข้ายึดถือครอบครองเป็นเจ้าของในภายหลัง (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 5/2499)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 531/2498
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สถานะสำนักงานสลากกินแบ่งฯ ไม่เป็นหน่วยราชการ ส่งผลต่อการพิจารณาความผิดฐานใช้เอกสารปลอม
สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาลไม่เป็นหน่วยราชการ
สลากกินแบ่งเป็นหนังสือสำคัญ แต่ไม่ใช่หนังสือสำคัญในราชการ
สลากกินแบ่งเป็นหนังสือสำคัญ แต่ไม่ใช่หนังสือสำคัญในราชการ