พบผลลัพธ์ทั้งหมด 20 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4302/2528 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจดทะเบียนสมรส: อำนาจศาลเมื่อนายทะเบียนยับยั้งการจดทะเบียน และข้อจำกัดในการฎีกา
เมื่อนายทะเบียนเห็นว่าผู้ร้องขอจดทะเบียนสมรสมีคุณสมบัติครบถ้วนตามเงื่อนไขการสมรสตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 แล้วแต่กลับยับยั้งการจดทะเบียนสมรสไว้ โดยหารือไปยังจังหวัดก่อนนั้นย่อมถือได้ว่าเป็นการไม่ยอมรับจดทะเบียนสมรส อันผู้มีส่วนได้เสียอาจยื่นคำร้องต่อศาลตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 15 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติจดทะเบียนครอบครัว พุทธศักราช 2478 แล้ว
ในชั้นยื่นคำคัดค้านผู้คัดค้านอ้างเหตุที่ทำให้คำร้องเคลือบคลุมอย่างหนึ่ง แต่เหตุที่ผู้คัดค้านยกขึ้นอ้างในฎีกาว่าคำร้องเคลือบคลุมเป็นอีกอย่างหนึ่งต่างกัน ดังนั้นฎีกาของผู้คัดค้านข้อนี้จึงเป็นข้อที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ต้องห้ามฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249 ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
พระราชบัญญัติว่าด้วยการขัดกันแห่งกฎหมาย พุทธศักราช 2481 มาตรา 19 ซึ่งบัญญัติว่า "เงื่อนไขแห่งการสมรสให้เป็นไปตามกฎหมายสัญชาติของคู่กรณีแต่ละฝ่าย" นั้น หาใช่บทกฎหมายที่ผู้คัดค้านจะนำมาใช้ในชั้นพิจารณาคำร้องขอจดทะเบียนสมรสไม่
ในชั้นยื่นคำคัดค้านผู้คัดค้านอ้างเหตุที่ทำให้คำร้องเคลือบคลุมอย่างหนึ่ง แต่เหตุที่ผู้คัดค้านยกขึ้นอ้างในฎีกาว่าคำร้องเคลือบคลุมเป็นอีกอย่างหนึ่งต่างกัน ดังนั้นฎีกาของผู้คัดค้านข้อนี้จึงเป็นข้อที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ต้องห้ามฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249 ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
พระราชบัญญัติว่าด้วยการขัดกันแห่งกฎหมาย พุทธศักราช 2481 มาตรา 19 ซึ่งบัญญัติว่า "เงื่อนไขแห่งการสมรสให้เป็นไปตามกฎหมายสัญชาติของคู่กรณีแต่ละฝ่าย" นั้น หาใช่บทกฎหมายที่ผู้คัดค้านจะนำมาใช้ในชั้นพิจารณาคำร้องขอจดทะเบียนสมรสไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4302/2528
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจดทะเบียนสมรสข้ามสัญชาติ: อำนาจศาลเมื่อนายทะเบียนยับยั้งการจดทะเบียน และข้อจำกัดในการอ้างเหตุใหม่ในฎีกา
เมื่อนายทะเบียนเห็นว่าผู้ร้องขอจดทะเบียนสมรสมีคุณสมบัติครบถ้วนตามเงื่อนไขการสมรสตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพ 5 แล้วแต่กลับยับยั้งการจดทะเบียนสมรสไว้ โดยหารือไปยังจังหวัดก่อนนั้นย่อมถือได้ว่าเป็นการไม่ยอมรับจดทะเบียนสมรส อันผู้มีส่วนได้เสียอาจยื่นคำร้องต่อศาลตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 15 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติจดทะเบียนครอบครัว พุทธศักราช 2478 แล้ว ในชั้นยื่นคำคัดค้านผู้คัดค้านอ้างเหตุที่ทำให้คำร้องเคลือบคลุมอย่างหนึ่งแต่เหตุที่ผู้คัดค้านยกขึ้นอ้างในฎีกาว่าคำร้องเคลือบคลุมเป็นอีกอย่างหนึ่งต่างกันดังนั้นฎีกาของผู้คัดค้านข้อนี้จึงเป็นข้อที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ต้องห้ามฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249 ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย พระราชบัญญัติว่าด้วยการขัดกันแห่งกฎหมาย พุทธศักราช 2481มาตรา 19 ซึ่งบัญญัติว่า 'เงื่อนไขแห่งการสมรสให้เป็นไปตามกฎหมายสัญชาติของคู่กรณีแต่ละฝ่าย'นั้นหาใช่บทกฎหมายที่ผู้คัดค้านจะนำมาใช้ในชั้นพิจารณาคำร้องขอจดทะเบียนสมรสไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1832/2527 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจดทะเบียนสมรสของชาวต่างชาติ: สิทธิในการยื่นคำร้องและอำนาจศาลในการสั่งให้นายทะเบียนจดทะเบียน
เกี่ยวกับการจดทะเบียนสมรสนั้น พระราชบัญญัติจดทะเบียนครอบครัวพุทธศักราช 2478 มาตรา 10 บัญญัติให้นายทะเบียนรับจดทะเบียนสมรสให้เมื่อมีการร้องขอ การที่นายทะเบียนจะปฏิเสธได้ก็ต่อเมื่อปรากฏว่ามิได้เป็นไปตามเงื่อนไขแห่ง มาตรา 1448 ถึงมาตรา 1454 และมาตรา 1458 ตามที่ได้ ตรวจชำระใหม่ ซึ่งมาตรา 13 แห่งพระราชบัญญัติจดทะเบียนครอบครัว พุทธศักราช 2478 ห้ามมิให้นายทะเบียนจดทะเบียนสมรสในกรณีที่นายทะเบียนไม่ยอมรับจดทะเบียนสมรส ผู้มีส่วนได้เสียก็มีสิทธิที่จะยื่นคำร้องต่อศาล โดยไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียม เมื่อศาลไต่สวนได้ความว่าการเป็นไปตามเงื่อนไขแห่งกฎหมายครบถ้วนแล้ว ก็ให้ศาลมีคำสั่งไปให้นายทะเบียนรับจดทะเบียนได้ตามมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1832/2527
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในการจดทะเบียนสมรสของบุคคลสัญชาติอื่น: อำนาจหน้าที่นายทะเบียนและการไต่สวนของศาล
เกี่ยวกับการจดทะเบียนสมรสนั้น พระราชบัญญัติจดทะเบียนครอบครัว พุทธศักราช 2478 มาตรา 10 บัญญัติให้นายทะเบียนรับจดทะเบียนสมรสให้เมื่อมีการร้องขอ การที่นายทะเบียนจะปฏิเสธได้ก็ต่อเมื่อปรากฏว่ามิได้เป็นไปตามเงื่อนไขแห่ง มาตรา 1448 ถึงมาตรา1454และมาตรา1458 ตามที่ได้ ตรวจชำระใหม่ ซึ่งมาตรา 13 แห่งพระราชบัญญัติ จดทะเบียนครอบครัว พุทธศักราช 2478 ห้ามมิให้นายทะเบียนจดทะเบียนสมรสในกรณีที่นายทะเบียนไม่ยอมรับจดทะเบียนสมรสผู้มีส่วนได้เสียก็มีสิทธิที่จะยื่นคำร้องต่อศาล โดยไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียม เมื่อศาลไต่สวนได้ความว่าการเป็นไปตามเงื่อนไขแห่งกฎหมายครบถ้วนแล้ว ก็ให้ศาลมีคำสั่ง ไปให้นายทะเบียนรับจดทะเบียนได้ตามมาตรา 15 แห่ง พระราชบัญญัติดังกล่าว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1251/2514
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าขาดไร้อุปการะ คำนวณจากพฤติการณ์วันเกิดเหตุ แม้ผู้รับประโยชน์มีรายได้ภายหลัง
ลูกจ้างของจำเลยขับรถในทางการที่จ้างชนสามีโจทก์ถึงแก่ความตายด้วยความประมาท โจทก์ย่อมตกเป็นผู้ต้องขาดไร้อุปการะตามกฎหมายมีสิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนได้
เมื่อสามีโจทก์ยังมีชีวิตอยู่ มีอาชีพตั้งปั๊มน้ำมันจำหน่ายน้ำมันเบนซินแม้โจทก์จะได้เป็นผู้จัดการมรดกเข้าดำเนินการค้าน้ำมันเบนซิน ต่อมาหลังจากสามีโจทก์ตายแล้ว ก็หาเป็นเหตุทำให้โจทก์ไม่มีสิทธิเรียกร้องค่าขาดไร้อุปการะจากจำเลยไม่
ในการคำนวณค่าสินไหมทดแทนที่โจทก์ต้องขาดไร้อุปการะนั้นย่อมต้องคำนวณโดยอาศัยพฤติการณ์ในวันเกิดเหตุนั้นเองเป็นหลักพฤติการณ์ทั้งหลายภายหลังวันเกิดเหตุ หาอาจนำมาพิจารณาในการคำนวณค่าสินไหมทดแทนในการขาดไร้อุปการะของโจทก์ได้ไม่
เมื่อสามีโจทก์ยังมีชีวิตอยู่ มีอาชีพตั้งปั๊มน้ำมันจำหน่ายน้ำมันเบนซินแม้โจทก์จะได้เป็นผู้จัดการมรดกเข้าดำเนินการค้าน้ำมันเบนซิน ต่อมาหลังจากสามีโจทก์ตายแล้ว ก็หาเป็นเหตุทำให้โจทก์ไม่มีสิทธิเรียกร้องค่าขาดไร้อุปการะจากจำเลยไม่
ในการคำนวณค่าสินไหมทดแทนที่โจทก์ต้องขาดไร้อุปการะนั้นย่อมต้องคำนวณโดยอาศัยพฤติการณ์ในวันเกิดเหตุนั้นเองเป็นหลักพฤติการณ์ทั้งหลายภายหลังวันเกิดเหตุ หาอาจนำมาพิจารณาในการคำนวณค่าสินไหมทดแทนในการขาดไร้อุปการะของโจทก์ได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1251/2514 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าขาดไร้อุปการะจากเหตุละเมิด: คำนวณจากพฤติการณ์วันเกิดเหตุ แม้ผู้ตายมีอาชีพและผู้รับผลประโยชน์ทำงานต่อ
ลูกจ้างของจำเลยขับรถในทางการที่จ้างชนสามีโจทก์ถึงแก่ความตายด้วยความประมาท โจทก์ย่อมตกเป็นผู้ต้องขาดไร้อุปการะตามกฎหมายมีสิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนได้
เมื่อสามีโจทก์ยังมีชีวิตอยู่มีอาชีพตั้งปั๊มน้ำมันจำหน่ายน้ำมันเบนซิน แม้โจทก์จะได้เป็นผู้จัดการมรดกเข้าดำเนินการค้าน้ำมันเบนซิน ต่อมาหลังจากสามีโจทก์ตายแล้ว ก็หาเป็นเหตุทำให้โจทก์ไม่มีสิทธิเรียกร้องค่าขาดไร้อุปการะจากจำเลยไม่
ในการคำนวณค่าสินไหมทดแทนที่โจทก์ต้องขาดไร้อุปการะนั้นย่อมต้องคำนวณโดยอาศัยพฤติการณ์ในวันเกิดเหตุนั้นเองเป็นหลักพฤติการณ์ทั้งหลายภายหลังวันเกิดเหตุ หาอาจนำมาพิจารณาในการคำนวณค่าสินไหมทดแทนในการขาดไร้อุปการะของโจทก์ได้ไม่
เมื่อสามีโจทก์ยังมีชีวิตอยู่มีอาชีพตั้งปั๊มน้ำมันจำหน่ายน้ำมันเบนซิน แม้โจทก์จะได้เป็นผู้จัดการมรดกเข้าดำเนินการค้าน้ำมันเบนซิน ต่อมาหลังจากสามีโจทก์ตายแล้ว ก็หาเป็นเหตุทำให้โจทก์ไม่มีสิทธิเรียกร้องค่าขาดไร้อุปการะจากจำเลยไม่
ในการคำนวณค่าสินไหมทดแทนที่โจทก์ต้องขาดไร้อุปการะนั้นย่อมต้องคำนวณโดยอาศัยพฤติการณ์ในวันเกิดเหตุนั้นเองเป็นหลักพฤติการณ์ทั้งหลายภายหลังวันเกิดเหตุ หาอาจนำมาพิจารณาในการคำนวณค่าสินไหมทดแทนในการขาดไร้อุปการะของโจทก์ได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 575/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดร่วมกันของสามีภริยาในสัญญาค่านายหน้า โดยมีการยินยอมและรับผลประโยชน์ร่วมกัน
จำเลยที่ 1 ที่ 2 เป็นสามีภริยากันโดยชอบด้วยกฎหมาย ย่อมจะต้องรับผิดในกิจการที่ได้กระทำร่วมกัน การที่จำเลยที่ 2 ไปติดต่อขอให้โจทก์เป็นนายหน้าขายที่ดินซึ่งมีชื่อจำเลยที่ 1 เป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์แต่ผู้เดียว โดยจำเลยที่ 1 รู้เห็นยินยอมและยอมรับเอาผลตามที่จำเลยที่ 2 ไปติดต่อให้โจทก์เป็นนายหน้า จนในที่สุดจำเลยที่ 1 ก็ได้ขายที่ดินให้บุคคลอื่นสมดังความตั้งใจ ทั้งนี้ ก็เนื่องจากผลแห่งการที่โจทก์เป็นผู้ติดต่อชี้ช่องให้ได้ทำสัญญากันนั่นเอง ฉะนั้น จำเลยที่ 1 จึงต้องรับผิดชอบต่อโจทก์.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 575/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดร่วมกันของสามีภริยาในคดีนายหน้าซื้อขายที่ดิน
จำเลยที่ 1 ที่ 2 เป็นสามีภริยากันโดยชอบด้วยกฎหมายย่อมจะต้องรับผิดในกิจการที่ได้กระทำร่วมกันการที่จำเลยที่ 2 ไปติดต่อขอให้โจทก์เป็นนายหน้าขายที่ดินซึ่งมีชื่อจำเลยที่ 1 เป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์แต่ผู้เดียวโดยจำเลยที่ 1 รู้เห็นยินยอมและยอมรับเอาผลตามที่จำเลยที่ 2 ไปติดต่อให้โจทก์เป็นนายหน้าจนในที่สุดจำเลยที่1 ก็ได้ขายที่ดินให้บุคคลอื่นสมดังความตั้งใจ ทั้งนี้ก็เนื่องจากผลแห่งการที่โจทก์เป็นผู้ติดต่อชี้ช่องให้ได้ทำสัญญากันนั่นเองฉะนั้น จำเลยที่ 1 จึงต้องรับผิดชอบต่อโจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 458/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การหย่าเนื่องจากสามีละทิ้งภรรยาและบุตร โดยไม่เลี้ยงดูและมีภรรยาใหม่
สามีไม่ทำมาหากินอย่างใด ภรรยาบอกให้ทำงานมาเลี้ยงครอบครัวก็โกรธและขนของออกจากบ้านไปได้หญิงอื่นเป็นภรรยาในเวลากระชั้นชิดไปแล้วก็ไม่ส่งเงินเลี้ยงดูภรรยากับบุตรเลย แสดงว่าสามีจงใจละทิ้งภรรยาภรรยาก็ไม่มีความจำเป็นต้องติดตามไปอยู่กับสามีสามีจะอ้างว่าตนเป็นฝ่ายมีสิทธิจะเลือกภูมิลำเนา ให้ภรรยามีหน้าที่ติดตามไปอยู่กับตนหาได้ไม่เมื่อสามีทิ้งร้างไปเกิน 1 ปี ภรรยาก็มีสิทธิขอหย่าได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 458/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การละทิ้งครอบครัวเป็นเหตุหย่า: สามีมีหน้าที่เลี้ยงดูครอบครัว การทิ้งร้างถือเป็นการละทิ้ง
สามีไม่ทำมาหากินอย่างใด ภรรยาบอกให้ทำงานมาเลี้ยงครอบครัวก็โกรธ และขนของออกจากบ้านไปได้หญิงอื่นเป็นภรรยาในเวลากระชั้นชิด ไปแล้วไม่ส่งเงินเลี้ยงดูภรรยากับบุตรเลย แสดงว่าสามีจงใจละทิ้งภรรยา ภรรยาก็ไม่มีความจำเป็นต้องติดตามไปอยู่กับสามี สามีจะอ้างว่าตนเป็นฝ่ายมีสิทธิจะเลือกภูมิลำเนา ให้ภรรยามีหน้าที่ติดตามไปอยู่กับตนหาได้ไม่ เมื่อสามีทิ้งร้ายไปเกิน 1 ปี ภรรยาก็มีสิทธิขอหย่าได้