พบผลลัพธ์ทั้งหมด 116 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2331/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หน้าที่ของผู้ขายในการส่งมอบทรัพย์สินและขจัดข้อขัดแย้งก่อนการโอนกรรมสิทธิ์ รวมถึงเบี้ยปรับจากสัญญา
หน้าที่ของจำเลยผู้ขายที่ดินและห้องแถว นอกจากจะต้องจดทะเบียนเพื่อให้การซื้อขายสมบูรณ์ มีผลให้กรรมสิทธิ์ในทรัพย์โอนไปยังโจทก์ผู้ซื้อแล้ว จำเลยยังมีหน้าที่ต้องส่งมอบทรัพย์นั้นแก่โจทก์ โดยกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งอันจะเป็นผลให้ทรัพย์นั้นไปอยู่ในเงื้อมมือของโจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 461 และ 462 อีกด้วย หาใช่เพียงแต่จดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ให้แล้วก็ถือว่าผู้รับโอนได้เข้าครอบครองทรัพย์ทีเดียวโดยไม่ต้องมีการส่งมอบกันอีกไม่
เมื่อมีการรบกวนขัดสิทธิปรากฏขึ้นก่อนที่จะมีการโอนต่อกันก็ย่อมเป็นหน้าที่ของจำเลยผู้ขายจะต้องขจัดเหตุนั้นให้หมดไปเสียก่อนจะบังคับให้โจทก์รับโอนไปทั้ง ๆ ที่การรบกวนขัดสิทธิดังกล่าวยังมีอยู่ไม่ได้ แม้จำเลยจะยอมจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์ที่ซื้อขายกันให้แก่โจทก์ แต่เมื่อจำเลยปฏิเสธหน้าที่ในการส่งมอบทรัพย์นั้น โจทก์ย่อมมีสิทธิที่จะยังไม่ยอมรับโอนได้ และถือว่าจำเลยเป็นฝ่ายผิดสัญญา
การที่จำเลยได้ตกลงไว้ล่วงหน้าในสัญญาว่าจะใช้เงินจำนวนหนึ่งให้เป็นค่าเสียหายในกรณีที่ตนผิดสัญญา ย่อมถือว่าเงินค่าเสียหายจำนวนที่กำหนดไว้นั้นเป็นเบี้ยปรับ เมื่อจำเลยผิดนัดไม่สามารถชำระหนี้ให้แก่โจทก์ตามกำหนด โจทก์ย่อมมีสิทธิเรียกเอาจากจำเลยได้ตามข้อตกลงตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 379 และ 381 โดยโจทก์ไม่จำต้องนำสืบในเรื่องค่าเสียหาย
เมื่อมีการรบกวนขัดสิทธิปรากฏขึ้นก่อนที่จะมีการโอนต่อกันก็ย่อมเป็นหน้าที่ของจำเลยผู้ขายจะต้องขจัดเหตุนั้นให้หมดไปเสียก่อนจะบังคับให้โจทก์รับโอนไปทั้ง ๆ ที่การรบกวนขัดสิทธิดังกล่าวยังมีอยู่ไม่ได้ แม้จำเลยจะยอมจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์ที่ซื้อขายกันให้แก่โจทก์ แต่เมื่อจำเลยปฏิเสธหน้าที่ในการส่งมอบทรัพย์นั้น โจทก์ย่อมมีสิทธิที่จะยังไม่ยอมรับโอนได้ และถือว่าจำเลยเป็นฝ่ายผิดสัญญา
การที่จำเลยได้ตกลงไว้ล่วงหน้าในสัญญาว่าจะใช้เงินจำนวนหนึ่งให้เป็นค่าเสียหายในกรณีที่ตนผิดสัญญา ย่อมถือว่าเงินค่าเสียหายจำนวนที่กำหนดไว้นั้นเป็นเบี้ยปรับ เมื่อจำเลยผิดนัดไม่สามารถชำระหนี้ให้แก่โจทก์ตามกำหนด โจทก์ย่อมมีสิทธิเรียกเอาจากจำเลยได้ตามข้อตกลงตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 379 และ 381 โดยโจทก์ไม่จำต้องนำสืบในเรื่องค่าเสียหาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2199/2514 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรอนสิทธิซื้อขายรถยนต์ ผู้ขายต้องรับผิดชดใช้ค่าเสียหายจากการที่รถยนต์ถูกยึดคืน
รถยนต์พิพาทเป็นของบุคคลภายนอกซึ่งมีผู้เช่าซื้อ และผู้เช่าซื้อนั้นทำสัญญาขายให้จำเลย แล้วจำเลยทำสัญญาขายให้โจทก์และมอบรถยนต์พิพาทให้โจทก์ในวันทำสัญญาโจทก์ผ่อนชำระเงินให้จำเลยแล้วบางส่วน ต่อมาผู้เช่าซื้อผิดสัญญาเจ้าของที่แท้จริงมายึดรถยนต์พิพาทไปจากโจทก์ ดังนี้ ถือได้ว่าโจทก์ผู้ซื้อถูกรอนสิทธิ จำเลยต้องรับผิดจะอ้างว่าจำเลยไม่รู้เห็นยินยอมด้วยในการยึดหรือเป็นเหตุสุดวิสัยหาได้ไม่
เมื่อโจทก์ถูกรอนสิทธิและฟ้องเรียกเงินที่ชำระไปแล้วคืนจากจำเลยจำเลยมิได้ต่อสู้ขอหักค่าที่โจทก์ใช้รถยนต์พิพาท ศาลจะพิพากษาให้หักค่ารถจากเงินที่จำเลยคืนหาได้ไม่ เพราะไม่มีประเด็น
โจทก์ฟ้องเรียกเงินคืนและเรียกค่าเสียหายโดยมิได้ขอดอกเบี้ยศาลจะพิพากษาให้โจทก์ได้ดอกเบี้ยมิได้ (เพราะเกินคำขอ)
โจทก์ถูกยึดรถยนต์ที่ซื้อคืนไป โจทก์จะเรียกค่าเสียหายที่ขาดรายได้จากการที่เคยใช้รถยนต์พิพาทออกฉายภาพยนตร์เร่มิได้ เพราะโจทก์อาจใช้รถยนต์อื่นได้ รายได้จากการฉายภาพยนตร์เร่ มิใช่ค่าเสียหายโดยตรง
โจทก์ได้รับความเสียหายเพราะชำระราคารถยนต์พิพาทให้จำเลยไปแล้ว 30,000 บาท แต่ไม่ได้กรรมสิทธิ์รถยนต์ ไม่ได้ใช้รถยนต์เป็นการ ตอบแทนหนี้เงินนั้นนอกจากจะเรียกดอกเบี้ย ยังอาจพิสูจน์ค่าเสียหายอื่นได้อีกด้วย การที่โจทก์ชำระเงินให้จำเลยไปก็โดยหวังจะได้ใช้รถยนต์พิพาทเป็นการตอบแทนโดยไม่ต้องเสียค่าเช่า เมื่อโจทก์ถูกรอนสิทธิก็ชอบที่จะได้รับชดใช้ค่าเสียหายโดยคำนวณจากค่าเช่ารถยนต์ที่โจทก์เคยเช่าออกฉายภาพยนตร์เร่
โจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายนับแต่วันถูกรอนสิทธิจนกว่าจำเลยจะชำระเงินคืนแก่โจทก์ แต่ฎีกาขอค่าเสียหายมาเพียง 11 วันศาลฎีกาย่อมจะพิพากษา ให้ค่าเสียหายตามจำนวนวันที่ขอมาในฎีกา
เมื่อโจทก์ถูกรอนสิทธิและฟ้องเรียกเงินที่ชำระไปแล้วคืนจากจำเลยจำเลยมิได้ต่อสู้ขอหักค่าที่โจทก์ใช้รถยนต์พิพาท ศาลจะพิพากษาให้หักค่ารถจากเงินที่จำเลยคืนหาได้ไม่ เพราะไม่มีประเด็น
โจทก์ฟ้องเรียกเงินคืนและเรียกค่าเสียหายโดยมิได้ขอดอกเบี้ยศาลจะพิพากษาให้โจทก์ได้ดอกเบี้ยมิได้ (เพราะเกินคำขอ)
โจทก์ถูกยึดรถยนต์ที่ซื้อคืนไป โจทก์จะเรียกค่าเสียหายที่ขาดรายได้จากการที่เคยใช้รถยนต์พิพาทออกฉายภาพยนตร์เร่มิได้ เพราะโจทก์อาจใช้รถยนต์อื่นได้ รายได้จากการฉายภาพยนตร์เร่ มิใช่ค่าเสียหายโดยตรง
โจทก์ได้รับความเสียหายเพราะชำระราคารถยนต์พิพาทให้จำเลยไปแล้ว 30,000 บาท แต่ไม่ได้กรรมสิทธิ์รถยนต์ ไม่ได้ใช้รถยนต์เป็นการ ตอบแทนหนี้เงินนั้นนอกจากจะเรียกดอกเบี้ย ยังอาจพิสูจน์ค่าเสียหายอื่นได้อีกด้วย การที่โจทก์ชำระเงินให้จำเลยไปก็โดยหวังจะได้ใช้รถยนต์พิพาทเป็นการตอบแทนโดยไม่ต้องเสียค่าเช่า เมื่อโจทก์ถูกรอนสิทธิก็ชอบที่จะได้รับชดใช้ค่าเสียหายโดยคำนวณจากค่าเช่ารถยนต์ที่โจทก์เคยเช่าออกฉายภาพยนตร์เร่
โจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายนับแต่วันถูกรอนสิทธิจนกว่าจำเลยจะชำระเงินคืนแก่โจทก์ แต่ฎีกาขอค่าเสียหายมาเพียง 11 วันศาลฎีกาย่อมจะพิพากษา ให้ค่าเสียหายตามจำนวนวันที่ขอมาในฎีกา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2199/2514
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรอนสิทธิของผู้ซื้อรถยนต์จากการถูกยึดคืนโดยเจ้าของที่แท้จริง จำเลยต้องรับผิดชดใช้ค่าเสียหาย
รถยนต์พิพาทเป็นของบุคคลภายนอกซึ่งมีผู้เช่าซื้อ และผู้เช่าซื้อนั้นทำสัญญาขายให้จำเลย แล้วจำเลยทำสัญญาขายให้โจทก์และมอบรถยนต์พิพาทให้โจทก์ในวันทำสัญญาโจทก์ผ่อนชำระเงินให้จำเลยแล้วบางส่วน ต่อมาผู้เช่าซื้อผิดสัญญาเจ้าของที่แท้จริงมายึดรถยนต์พิพาทไปจากโจทก์ ดังนี้ ถือได้ว่าโจทก์ผู้ซื้อถูกรอนสิทธิ จำเลยต้องรับผิดจะอ้างว่าจำเลยไม่รู้เห็นยินยอมด้วยในการยึดหรือเป็นเหตุสุดวิสัยหาได้ไม่
เมื่อโจทก์ถูกรอนสิทธิและฟ้องเรียกเงินที่ชำระไปแล้วคืนจากจำเลยจำเลยมิได้ต่อสู้ขอหักค่าที่โจทก์ใช้รถยนต์พิพาท ศาลจะพิพากษาให้หักค่ารถจากเงินที่จำเลยคืนหาได้ไม่ เพราะไม่มีประเด็น
โจทก์ฟ้องเรียกเงินคืนและเรียกค่าเสียหายโดยมิได้ขอดอกเบี้ยศาลจะพิพากษาให้โจทก์ได้ดอกเบี้ยมิได้ (เพราะเกินคำขอ)
โจทก์ถูกยึดรถยนต์ที่ซื้อคืนไป โจทก์จะเรียกค่าเสียหายที่ขาดรายได้จากการที่เคยใช้รถยนต์พิพาทออกฉายภาพยนตร์เร่มิได้ เพราะโจทก์อาจใช้รถยนต์อื่นได้ รายได้จากการฉายภาพยนตร์เร่ มิใช่ค่าเสียหายโดยตรง
โจทก์ได้รับความเสียหายเพราะชำระราคารถยนต์พิพาทให้จำเลยไปแล้ว 30,000 บาท แต่ไม่ได้กรรมสิทธิ์รถยนต์ ไม่ได้ใช้รถยนต์เป็นการตอบแทนหนี้เงินนั้นนอกจากจะเรียกดอกเบี้ย ยังอาจพิสูจน์ค่าเสียหายอื่นได้อีกด้วย การที่โจทก์ชำระเงินให้จำเลยไปก็โดยหวังจะได้ใช้รถยนต์พิพาทเป็นการตอบแทนโดยไม่ต้องเสียค่าเช่า เมื่อโจทก์ถูกรอนสิทธิก็ชอบที่จะได้รับชดใช้ค่าเสียหายโดยคำนวณจากค่าเช่ารถยนต์ที่โจทก์เคยเช่าออกฉายภาพยนตร์เร่
โจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายนับแต่วันถูกรอนสิทธิจนกว่าจำเลยจะชำระเงินคืนแก่โจทก์ แต่ฎีกาขอค่าเสียหายมาเพียง 11 วัน ศาลฎีกาย่อมจะพิพากษาให้ค่าเสียหายตามจำนวนวันที่ขอมาในฎีกา
เมื่อโจทก์ถูกรอนสิทธิและฟ้องเรียกเงินที่ชำระไปแล้วคืนจากจำเลยจำเลยมิได้ต่อสู้ขอหักค่าที่โจทก์ใช้รถยนต์พิพาท ศาลจะพิพากษาให้หักค่ารถจากเงินที่จำเลยคืนหาได้ไม่ เพราะไม่มีประเด็น
โจทก์ฟ้องเรียกเงินคืนและเรียกค่าเสียหายโดยมิได้ขอดอกเบี้ยศาลจะพิพากษาให้โจทก์ได้ดอกเบี้ยมิได้ (เพราะเกินคำขอ)
โจทก์ถูกยึดรถยนต์ที่ซื้อคืนไป โจทก์จะเรียกค่าเสียหายที่ขาดรายได้จากการที่เคยใช้รถยนต์พิพาทออกฉายภาพยนตร์เร่มิได้ เพราะโจทก์อาจใช้รถยนต์อื่นได้ รายได้จากการฉายภาพยนตร์เร่ มิใช่ค่าเสียหายโดยตรง
โจทก์ได้รับความเสียหายเพราะชำระราคารถยนต์พิพาทให้จำเลยไปแล้ว 30,000 บาท แต่ไม่ได้กรรมสิทธิ์รถยนต์ ไม่ได้ใช้รถยนต์เป็นการตอบแทนหนี้เงินนั้นนอกจากจะเรียกดอกเบี้ย ยังอาจพิสูจน์ค่าเสียหายอื่นได้อีกด้วย การที่โจทก์ชำระเงินให้จำเลยไปก็โดยหวังจะได้ใช้รถยนต์พิพาทเป็นการตอบแทนโดยไม่ต้องเสียค่าเช่า เมื่อโจทก์ถูกรอนสิทธิก็ชอบที่จะได้รับชดใช้ค่าเสียหายโดยคำนวณจากค่าเช่ารถยนต์ที่โจทก์เคยเช่าออกฉายภาพยนตร์เร่
โจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายนับแต่วันถูกรอนสิทธิจนกว่าจำเลยจะชำระเงินคืนแก่โจทก์ แต่ฎีกาขอค่าเสียหายมาเพียง 11 วัน ศาลฎีกาย่อมจะพิพากษาให้ค่าเสียหายตามจำนวนวันที่ขอมาในฎีกา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1283/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การซื้อขายเหมา การโอนกรรมสิทธิ์ และอายุความของสิทธิเรียกร้องค่าซื้อขาย
การซื้อขายตามเอกสารหมาย ล.1 เป็นการซื้อเหมาจำนวนทรัพย์ที่จะซื้อขายมีจำนวนแน่นอนไม่จำเป็นต้องมีการตรวจนับอย่างใดอีกฉะนั้น กรรมสิทธิ์ในทรัพย์ที่ซื้อขายกันย่อมโอนไปยังผู้ซื้อตั้งแต่ขณะทำสัญญาซื้อขายกัน ส่วนเรื่องการส่งมอบทรัพย์ที่ซื้อขายกันเป็นอีกเรื่องหนึ่งไม่เกี่ยวกับการโอนกรรมสิทธิ์
การที่รถยนต์ที่ซื้อขายถูกยึดและเกิดความเสียหายขึ้นในระหว่างการยึด โดยผู้รับรักษาปล่อยให้ตากแดดฝนและไม่ดูแลรักษาให้ดีและรถกลายสภาพเป็นเศษเหล็กไปนั้นอยู่ในความรับผิดชอบของผู้รับรักษาทรัพย์ จะปรับว่าเป็นความผิดของผู้ขายไม่ได้
ตามสัญญาซื้อขาย ผู้ขายจะต้องจัดการโอนทะเบียนรถยนต์ให้จำเลยเสร็จสิ้นก่อน จึงจะมีสิทธิรับเงินงวดที่ 2 แต่ปรากฏว่าเมื่อผู้ซื้อทราบว่าผู้ขายเป็นหนี้ ก. กลัว ก. จะยึดเอารถไป ผู้ซื้อจึงได้จัดการขายไปอย่างรถไม่มีทะเบียน ส่วนรถที่เหลือก็มีสภาพเป็นเศษเหล็ก ไม่สามารถทำการโอนทะเบียนกันอย่างรถยนต์ธรรมดาได้ จึงไม่มีความจำเป็นต้องทำการโอนทะเบียนต่อไป และไม่ใช่ความผิดของผู้ขายผู้ซื้อมีหน้าที่ต้องชำระราคาที่ยังค้างอยู่ให้แก่ผู้ขาย
ตามประมวลแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165 วรรคสองประกอบด้วยอนุมาตรา (1) เป็นเรื่องของอายุความที่จะใช้บังคับแก่บุคคลที่เป็นพ่อค้าเรียกเอาค่าขายสินค้าพ่อค้าตามความหมายของมาตรา 165 หมายถึงบุคคลที่ประกอบกิจการค้าโดยซื้อสินค้ามาและขายไปเป็นปกติธุระโจทก์เป็นผู้ประกอบการค้าโดยค้าไม้แปรรูปและน้ำตาล ทรัพย์ที่ทำการซื้อขายกันในคดีนี้ ไม่ได้เป็นสินค้าที่โจทก์ทำการค้าและไม่ใช่วัตถุประสงค์ในกิจการค้าของโจทก์ด้วย จะถือว่าโจทก์เป็นพ่อค้ารถยนต์และอุปกรณ์ไม่ได้การที่โจทก์ขายรถยนต์ให้แก่จำเลย ต้องถือว่าโจทก์ได้ขายไปในฐานะอย่างเจ้าของทรัพย์ธรรมดา ไม่ใช่ในฐานะเป็นพ่อค้าขายสินค้านั้น ๆจะนำเอาอายุความ 5 ปี ตามมาตรา 165 วรรคสอง มาใช้บังคับไม่ได้ต้องนำเอาอายุความทั่วไปตามมาตรา 164 ซึ่งมีกำหนด 10 ปีมาใช้บังคับ
การที่รถยนต์ที่ซื้อขายถูกยึดและเกิดความเสียหายขึ้นในระหว่างการยึด โดยผู้รับรักษาปล่อยให้ตากแดดฝนและไม่ดูแลรักษาให้ดีและรถกลายสภาพเป็นเศษเหล็กไปนั้นอยู่ในความรับผิดชอบของผู้รับรักษาทรัพย์ จะปรับว่าเป็นความผิดของผู้ขายไม่ได้
ตามสัญญาซื้อขาย ผู้ขายจะต้องจัดการโอนทะเบียนรถยนต์ให้จำเลยเสร็จสิ้นก่อน จึงจะมีสิทธิรับเงินงวดที่ 2 แต่ปรากฏว่าเมื่อผู้ซื้อทราบว่าผู้ขายเป็นหนี้ ก. กลัว ก. จะยึดเอารถไป ผู้ซื้อจึงได้จัดการขายไปอย่างรถไม่มีทะเบียน ส่วนรถที่เหลือก็มีสภาพเป็นเศษเหล็ก ไม่สามารถทำการโอนทะเบียนกันอย่างรถยนต์ธรรมดาได้ จึงไม่มีความจำเป็นต้องทำการโอนทะเบียนต่อไป และไม่ใช่ความผิดของผู้ขายผู้ซื้อมีหน้าที่ต้องชำระราคาที่ยังค้างอยู่ให้แก่ผู้ขาย
ตามประมวลแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165 วรรคสองประกอบด้วยอนุมาตรา (1) เป็นเรื่องของอายุความที่จะใช้บังคับแก่บุคคลที่เป็นพ่อค้าเรียกเอาค่าขายสินค้าพ่อค้าตามความหมายของมาตรา 165 หมายถึงบุคคลที่ประกอบกิจการค้าโดยซื้อสินค้ามาและขายไปเป็นปกติธุระโจทก์เป็นผู้ประกอบการค้าโดยค้าไม้แปรรูปและน้ำตาล ทรัพย์ที่ทำการซื้อขายกันในคดีนี้ ไม่ได้เป็นสินค้าที่โจทก์ทำการค้าและไม่ใช่วัตถุประสงค์ในกิจการค้าของโจทก์ด้วย จะถือว่าโจทก์เป็นพ่อค้ารถยนต์และอุปกรณ์ไม่ได้การที่โจทก์ขายรถยนต์ให้แก่จำเลย ต้องถือว่าโจทก์ได้ขายไปในฐานะอย่างเจ้าของทรัพย์ธรรมดา ไม่ใช่ในฐานะเป็นพ่อค้าขายสินค้านั้น ๆจะนำเอาอายุความ 5 ปี ตามมาตรา 165 วรรคสอง มาใช้บังคับไม่ได้ต้องนำเอาอายุความทั่วไปตามมาตรา 164 ซึ่งมีกำหนด 10 ปีมาใช้บังคับ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1283/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การซื้อขายเหมา การโอนกรรมสิทธิ์เมื่อทำสัญญา และอายุความของสิทธิเรียกร้อง
การซื้อขายตามเอกสารหมาย ล.1 เป็นการซื้อเหมาจำนวนทรัพย์ที่จะซื้อขายมีจำนวนแน่นอน ไม่จำเป็นต้องมีการตรวจนับอย่างใดอีก ฉะนั้น กรรมสิทธิ์ในทรัพย์ที่ซื้อขายกันย่อมโอนไปยังผู้ซื้อตั้งแต่ขณะทำสัญญาซื้อขายกัน ส่วนเรื่องการส่งมอบทรัพย์ที่ซื้อขายกันเป็นอีกเรื่องหนึ่ง ไม่เกี่ยวกับการโอนกรรมสิทธิ์
การที่รถยนต์ที่ซื้อขายถูกยึดและเกิดความเสียหายขึ้นในระหว่างการยึด โดยผู้รับรักษาปล่อยให้ตากแดดฝนและไม่ดูแลรักษาให้ดี และรถกลายสภาพเป็นเศษเหล็กไปนั้นอยู่ในความรับผิดชอบของผู้รับรักษาทรัพย์ จะปรับว่าเป็นความผิดของผู้ขายไม่ได้
ตามสัญญาซื้อขาย ผู้ขายจะต้องจัดการโอนทะเบียนรถยนต์ให้จำเลยเสร็จสิ้นก่อน จึงจะมีสิทธิรับเงินงวดที่ 2 แต่ปรากฏว่าเมื่อผู้ซื้อทราบว่าผู้ขายเป็นหนี้ ก. กลัว ก. จะยึดเอารถไป ผู้ซื้อจึงได้จัดการขายไปอย่างรถไม่มีทะเบียน ส่วนรถที่เหลือก็มีสภาพเป็นเศษเหล็ก ไม่สามารถทำการโอนทะเบียนกันอย่างรถยนต์ธรรมดาได้ จึงไม่มีความจำเป็นต้องทำการโอนทะเบียนต่อไป และไม่ใช่ความผิดของผู้ขาย ผู้ซื้อมีหน้าที่ต้องชำระราคาที่ยังค้างอยู่ให้แก่ผู้ขาย
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165 วรรค 2 ประกอบด้วยอนุมาตรา (1) เป็นเรื่องของอายุความที่จะใช้บังคับแก่บุคคลที่เป็นพ่อค้าเรียกเอาค่าขายสินค้าพ่อค้าตามความหมายของมาตรา 165 หมายถึง บุคคลที่ประกอบกิจการค้าโดยซื้อสินค้ามาและขายไปเป็นปกติธุระ โจทก์เป็นผู้ประกอบการค้าโดยค้าไม่แปรรูปและน้ำตาล ทรัพย์ที่ทำการซื้อขายกันในคดีนี้ไม่ได้เป็นสินค้าที่โจทก์ทำการค้าและไม่ใช่วัตถุประสงค์ในกิจการค้าของโจทก์ด้วย จะถือว่าโจทก์เป็นพ่อค้ารถยนต์และอุปกรณ์ไม่ได้ การที่โจทก์ขายรถยนต์ให้แก่จำเลย ต้องถือว่าโจทก์ได้ขายไปในฐานะอย่างเจ้าของทรัพย์ธรรมดา ไม่ใช่ในฐานะเป็นพ่อค้าขายสินค้านั้น ๆ จะนำเอาอายุความ 5 ปี ตามมาตรา 165 วรรค 2 มาใช้บังคับไม่ได้ ต้องนำเอาอายุความทั่วไปตามมาตรา 164 ซึ่งมีกำหนด 10 ปีมาใช้บังคับ
การที่รถยนต์ที่ซื้อขายถูกยึดและเกิดความเสียหายขึ้นในระหว่างการยึด โดยผู้รับรักษาปล่อยให้ตากแดดฝนและไม่ดูแลรักษาให้ดี และรถกลายสภาพเป็นเศษเหล็กไปนั้นอยู่ในความรับผิดชอบของผู้รับรักษาทรัพย์ จะปรับว่าเป็นความผิดของผู้ขายไม่ได้
ตามสัญญาซื้อขาย ผู้ขายจะต้องจัดการโอนทะเบียนรถยนต์ให้จำเลยเสร็จสิ้นก่อน จึงจะมีสิทธิรับเงินงวดที่ 2 แต่ปรากฏว่าเมื่อผู้ซื้อทราบว่าผู้ขายเป็นหนี้ ก. กลัว ก. จะยึดเอารถไป ผู้ซื้อจึงได้จัดการขายไปอย่างรถไม่มีทะเบียน ส่วนรถที่เหลือก็มีสภาพเป็นเศษเหล็ก ไม่สามารถทำการโอนทะเบียนกันอย่างรถยนต์ธรรมดาได้ จึงไม่มีความจำเป็นต้องทำการโอนทะเบียนต่อไป และไม่ใช่ความผิดของผู้ขาย ผู้ซื้อมีหน้าที่ต้องชำระราคาที่ยังค้างอยู่ให้แก่ผู้ขาย
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165 วรรค 2 ประกอบด้วยอนุมาตรา (1) เป็นเรื่องของอายุความที่จะใช้บังคับแก่บุคคลที่เป็นพ่อค้าเรียกเอาค่าขายสินค้าพ่อค้าตามความหมายของมาตรา 165 หมายถึง บุคคลที่ประกอบกิจการค้าโดยซื้อสินค้ามาและขายไปเป็นปกติธุระ โจทก์เป็นผู้ประกอบการค้าโดยค้าไม่แปรรูปและน้ำตาล ทรัพย์ที่ทำการซื้อขายกันในคดีนี้ไม่ได้เป็นสินค้าที่โจทก์ทำการค้าและไม่ใช่วัตถุประสงค์ในกิจการค้าของโจทก์ด้วย จะถือว่าโจทก์เป็นพ่อค้ารถยนต์และอุปกรณ์ไม่ได้ การที่โจทก์ขายรถยนต์ให้แก่จำเลย ต้องถือว่าโจทก์ได้ขายไปในฐานะอย่างเจ้าของทรัพย์ธรรมดา ไม่ใช่ในฐานะเป็นพ่อค้าขายสินค้านั้น ๆ จะนำเอาอายุความ 5 ปี ตามมาตรา 165 วรรค 2 มาใช้บังคับไม่ได้ ต้องนำเอาอายุความทั่วไปตามมาตรา 164 ซึ่งมีกำหนด 10 ปีมาใช้บังคับ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1981/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาซื้อขายข้าวเปลือก, เบี้ยปรับ, และผลกระทบของประกาศห้ามตกข้าวที่ถูกยกเลิก
ประกาศห้ามมิให้ตกข้าวแก่ชาวนา จ.ศ.1239 นั้น ได้มีประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์รวบรวมข้อบัญญัติต่างๆ ในทางแพ่งทั้งหมดขึ้นใช้บังคับแล้ว และตามมาตรา 656 แห่งประมวลกฎหมายดังกล่าวก็ได้บัญญัติคุ้มครองมิให้เอาของชำระหนี้แทนเงินด้วยการคิดราคาของต่ำกว่าราคาท้องตลาดนั้นอยู่แล้ว ประกาศห้ามมิให้ตกข้าวแก่ชาวนา จ.ศ.1239 จึงเป็นอันถูกยกเลิกไม่ใช้บังคับต่อไป
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยตกลงจะขายข้าวเปลือกแก่โจทก์และได้รับเงินไปแล้วโดยได้ทำสัญญารับฝากข้าวเปลือกไว้ ถึงหากจะฟังว่าสัญญารับฝากข้าวเปลือกเป็นนิติกรรมอำพราง โจทก์ก็ขอให้บังคับตามสัญญาจะซื้อขายได้
ตกลงซื้อข้าวเปลือกราคาหนึ่ง และมีข้อสัญญาว่า หากผู้ขายไม่ส่งมอบตามกำหนดจะต้องใช้ราคาข้าวเปลือกสูงขึ้นเป็นอีกราคาหนึ่ง ย่อมมีลักษณะเป็นการกำหนดเบี้ยปรับฐานผิดสัญญา หากกำหนดไว้สูงเกินส่วน ศาลมีอำนาจลดลงเป็นจำนวนที่พอสมควรได้
(ปัญหาตามวรรคแรกวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่28/2511)
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยตกลงจะขายข้าวเปลือกแก่โจทก์และได้รับเงินไปแล้วโดยได้ทำสัญญารับฝากข้าวเปลือกไว้ ถึงหากจะฟังว่าสัญญารับฝากข้าวเปลือกเป็นนิติกรรมอำพราง โจทก์ก็ขอให้บังคับตามสัญญาจะซื้อขายได้
ตกลงซื้อข้าวเปลือกราคาหนึ่ง และมีข้อสัญญาว่า หากผู้ขายไม่ส่งมอบตามกำหนดจะต้องใช้ราคาข้าวเปลือกสูงขึ้นเป็นอีกราคาหนึ่ง ย่อมมีลักษณะเป็นการกำหนดเบี้ยปรับฐานผิดสัญญา หากกำหนดไว้สูงเกินส่วน ศาลมีอำนาจลดลงเป็นจำนวนที่พอสมควรได้
(ปัญหาตามวรรคแรกวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่28/2511)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1981/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การซื้อขายข้าวเปลือก, สัญญาฝากทรัพย์เป็นนิติกรรมอำพราง, เบี้ยปรับสูงเกินควร, ประกาศห้ามตกข้าวถูกยกเลิก
ประกาศห้ามมิให้ตกข้าวแก่ชาวนา จ.ศ.1239 นั้น ได้มีประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์รวบรวมข้อบัญญัติต่างๆ ในทางแพ่งทั้งหมดขึ้นใช้บังคับแล้ว และตามมาตรา 656 แห่งประมวลกฎหมายดังกล่าวก็ได้บัญญัติคุ้มครองมิให้เอาของชำระหนี้แทนเงินด้วยการคิดราคาของต่ำกว่าราคาท้องตลาดนั้นอยู่แล้ว ประกาศห้ามมิให้ตกข้าวแก่ชาวนา จ.ศ.1239 จึงเป็นอันถูกยกเลิกไม่ใช้บังคับต่อไป
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยตกลงจะขายข้าวเปลือกแก่โจทก์และได้รับเงินไปแล้วโดยได้ทำสัญญารับฝากข้าวเปลือกไว้ ถึงหากจะฟังว่าสัญญารับฝากข้าวเปลือกเป็นนิติกรรมอำพราง โจทก์ก็ขอให้บังคับตามสัญญาจะซื้อขายได้
ตกลงซื้อข้าวเปลือกราคาหนึ่ง และมีข้อสัญญาว่า หากผู้ขายไม่ส่งมอบตามกำหนดจะต้องใช้ราคาข้าวเปลือกสูงขึ้นเป็นอีกราคาหนึ่ง ย่อมมีลักษณะเป็นการกำหนดเบี้ยปรับฐานผิดสัญญา หากกำหนดไว้สูงเกินส่วน ศาลมีอำนาจลดลงเป็นจำนวนที่พอสมควรได้
(ปัญหาตามวรรคแรกวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 28/2511)
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยตกลงจะขายข้าวเปลือกแก่โจทก์และได้รับเงินไปแล้วโดยได้ทำสัญญารับฝากข้าวเปลือกไว้ ถึงหากจะฟังว่าสัญญารับฝากข้าวเปลือกเป็นนิติกรรมอำพราง โจทก์ก็ขอให้บังคับตามสัญญาจะซื้อขายได้
ตกลงซื้อข้าวเปลือกราคาหนึ่ง และมีข้อสัญญาว่า หากผู้ขายไม่ส่งมอบตามกำหนดจะต้องใช้ราคาข้าวเปลือกสูงขึ้นเป็นอีกราคาหนึ่ง ย่อมมีลักษณะเป็นการกำหนดเบี้ยปรับฐานผิดสัญญา หากกำหนดไว้สูงเกินส่วน ศาลมีอำนาจลดลงเป็นจำนวนที่พอสมควรได้
(ปัญหาตามวรรคแรกวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 28/2511)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1981/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การซื้อขายข้าวเปลือก สัญญาฝากทรัพย์ และเบี้ยปรับ กรณีประกาศห้ามตกข้าวเป็นโมฆะ
ประกาศห้ามมิให้ตกข้าวแก่ชาวนา จ.ศ.1239 นั้น. ได้มีประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์รวบรวมข้อบัญญัติต่างๆ ในทางแพ่งทั้งหมดขึ้นใช้บังคับแล้ว. และตามมาตรา 656 แห่งประมวลกฎหมายดังกล่าวก็ได้บัญญัติคุ้มครองมิให้เอาของชำระหนี้แทนเงินด้วยการคิดราคาของต่ำกว่าราคาท้องตลาดนั้นอยู่แล้ว. ประกาศห้ามมิให้ตกข้าวแก่ชาวนา จ.ศ.1239 จึงเป็นอันถูกยกเลิกไม่ใช้บังคับต่อไป.
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยตกลงจะขายข้าวเปลือกแก่โจทก์และได้รับเงินไปแล้วโดยได้ทำสัญญารับฝากข้าวเปลือกไว้. ถึงหากจะฟังว่าสัญญารับฝากข้าวเปลือกเป็นนิติกรรมอำพราง โจทก์ก็ขอให้บังคับตามสัญญาจะซื้อขายได้.
ตกลงซื้อข้าวเปลือกราคาหนึ่ง และมีข้อสัญญาว่า หากผู้ขายไม่ส่งมอบตามกำหนดจะต้องใช้ราคาข้าวเปลือกสูงขึ้นเป็นอีกราคาหนึ่ง. ย่อมมีลักษณะเป็นการกำหนดเบี้ยปรับฐานผิดสัญญา หากกำหนดไว้สูงเกินส่วน ศาลมีอำนาจลดลงเป็นจำนวนที่พอสมควรได้. (ปัญหาตามวรรคแรกวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่28/2511).
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยตกลงจะขายข้าวเปลือกแก่โจทก์และได้รับเงินไปแล้วโดยได้ทำสัญญารับฝากข้าวเปลือกไว้. ถึงหากจะฟังว่าสัญญารับฝากข้าวเปลือกเป็นนิติกรรมอำพราง โจทก์ก็ขอให้บังคับตามสัญญาจะซื้อขายได้.
ตกลงซื้อข้าวเปลือกราคาหนึ่ง และมีข้อสัญญาว่า หากผู้ขายไม่ส่งมอบตามกำหนดจะต้องใช้ราคาข้าวเปลือกสูงขึ้นเป็นอีกราคาหนึ่ง. ย่อมมีลักษณะเป็นการกำหนดเบี้ยปรับฐานผิดสัญญา หากกำหนดไว้สูงเกินส่วน ศาลมีอำนาจลดลงเป็นจำนวนที่พอสมควรได้. (ปัญหาตามวรรคแรกวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่28/2511).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 651/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาซื้อขายที่ดินและบ้านที่ไม่ได้จดทะเบียนเป็นโมฆะ แม้จะมีการชำระเงินแล้ว
หนังสือสัญญาระบุว่าเป็นหนังสือสัญญาซื้อขาย ข้อความในสัญญามีความว่าคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายตกลงกันทำสัญญาซื้อขายทรัพย์สินกัน ผู้ขายตกลงขายที่ดินบ้านพร้อมด้วยเรือนและครัวให้แก่ผู้ซื้อ ผู้ขายได้รับเงินจากผู้ซื้อครบถ้วนในวันทำสัญญาและจะส่งมอบทรัพย์สินที่ซื้อขายให้แก่ผู้ซื้อในภายหลัง ดังนี้ สัญญาดังกล่าวเป็นสัญญาซื้อขายเด็ดขาด เมื่อไม่ได้จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่จึงเป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 456 และ115 ผู้ซื้อไม่มีสิทธิฟ้องบังคับผู้ขายให้ส่งมอบทรัพย์สินที่ซื้อขายได้ ส่วนหน้าที่ของผู้ขายซึ่งจะต้องส่งมอบทรัพย์สินที่ขายให้แก่ผู้ซื้อตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 461 นั้น เป็นอีกเรื่องหนึ่งต่างหาก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 651/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาซื้อขายที่ดินและบ้านโดยไม่จดทะเบียนเป็นโมฆะ แม้จะมีการชำระเงินแล้ว
หนังสือสัญญาระบุว่าเป็นหนังสือสัญญาซื้อขาย ข้อความในสัญญามีความว่าคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายตกลงกันทำสัญญาซื้อขายทรัพย์สินกัน ผู้ขายตกลงขายที่ดินบ้านพร้อมด้วยเรือนและครัวให้แก่ผู้ซื้อ ผู้ขายได้รับเงินจากผู้ซื้อครบถ้วนในวันทำสัญญาและจะส่งมอบทรัพย์สินที่ซื้อขายให้แก่ผู้ซื้อในภายหลัง ดังนี้ สัญญาดังกล่าวเป็นสัญญาซื้อขายเด็ดขาด เมื่อไม่ได้จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่จึงเป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 456 และ 115 ผู้ซื้อไม่มีสิทธิ์ฟ้องบังคับผู้ขายให้ส่งมอบทรัพย์สินที่ซื้อขายได้ ส่วนหน้าที่ของผู้ขายซึ่งจะต้องส่งมอบทรัพย์สินที่ขายให้แก่ผู้ซื้อตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 461 นั้น เป็นอีกเรื่องหนึ่งต่างหาก