พบผลลัพธ์ทั้งหมด 213 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2505/2515
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเรียกร้องค่าซ่อมแซมของภรรยาที่มิได้จดทะเบียนสมรส แม้ทราบว่าไม่มีสิทธิรับมรดกตามพินัยกรรม
จำเลยฟ้องแย้งโจทก์ในฐานะจำเลยเป็นผู้จัดการมรดกผู้ตายมิได้ฟ้องแย้งในนามทายาทซึ่งเป็นบุตรโจทก์ ไม่เป็นอุทลุม
โจทก์รู้อยู่ก่อนแล้วว่าโจทก์ไม่มีสิทธิที่จะได้รับมรดกตามพินัยกรรม และพินัยกรรมได้ห้ามไม่ให้โจทก์เกี่ยวข้องในทรัพย์มรดก แต่ในฐานะที่โจทก์เป็นภรรยาของผู้ตาย โจทก์เห็นว่าโจทก์ควรจะมีส่วนเป็นเจ้าของมรดกครึ่งหนึ่ง จึงได้ซ่อมแซมห้องพิพาทไปโดยสุจริตใจ เข้าใจว่ามีสิทธิทำได้ โจทก์ย่อมมีสิทธิเรียกค่าซ่อมแซมห้องพิพาทคืนได้
โจทก์รู้อยู่ก่อนแล้วว่าโจทก์ไม่มีสิทธิที่จะได้รับมรดกตามพินัยกรรม และพินัยกรรมได้ห้ามไม่ให้โจทก์เกี่ยวข้องในทรัพย์มรดก แต่ในฐานะที่โจทก์เป็นภรรยาของผู้ตาย โจทก์เห็นว่าโจทก์ควรจะมีส่วนเป็นเจ้าของมรดกครึ่งหนึ่ง จึงได้ซ่อมแซมห้องพิพาทไปโดยสุจริตใจ เข้าใจว่ามีสิทธิทำได้ โจทก์ย่อมมีสิทธิเรียกค่าซ่อมแซมห้องพิพาทคืนได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2505/2515 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเรียกร้องค่าซ่อมแซมของภรรยาที่ไม่มีสิทธิในมรดก: การกระทำโดยสุจริตและเจตนา
จำเลยฟ้องแย้งโจทก์ในฐานะจำเลยเป็นผู้จัดการมรดกผู้ตาย มิได้ฟ้องแย้งในนามทายาทซึ่งเป็นบุตรโจทก์ไม่เป็นอุทลุม
โจทก์รู้อยู่ก่อนแล้วว่าโจทก์ไม่มีสิทธิที่จะได้รับมรดกตามพินัยกรรม และพินัยกรรมได้ห้ามไม่ให้โจทก์เกี่ยวข้องในทรัพย์มรดก แต่ในฐานะที่โจทก์เป็นภรรยาของผู้ตายโจทก์เห็นว่าโจทก์ควรจะมีส่วนเป็นเจ้าของมรดกครึ่งหนึ่งจึงได้ซ่อมแซมห้องพิพาทไปโดยสุจริตใจ เข้าใจว่ามีสิทธิทำได้ โจทก์ย่อมมีสิทธิเรียกค่าซ่อมแซมห้องพิพาทคืนได้
โจทก์รู้อยู่ก่อนแล้วว่าโจทก์ไม่มีสิทธิที่จะได้รับมรดกตามพินัยกรรม และพินัยกรรมได้ห้ามไม่ให้โจทก์เกี่ยวข้องในทรัพย์มรดก แต่ในฐานะที่โจทก์เป็นภรรยาของผู้ตายโจทก์เห็นว่าโจทก์ควรจะมีส่วนเป็นเจ้าของมรดกครึ่งหนึ่งจึงได้ซ่อมแซมห้องพิพาทไปโดยสุจริตใจ เข้าใจว่ามีสิทธิทำได้ โจทก์ย่อมมีสิทธิเรียกค่าซ่อมแซมห้องพิพาทคืนได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1052-1054/2514 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์ในที่ดินและสิ่งปลูกสร้างหลังพินัยกรรม: สิทธิของผู้รับมรดกและผลของการเช่าที่ไม่สุจริต
ร. ทำพินัยกรรมยกที่ดินแปลงพิพาทกับแปลงอื่นอีก 2 แปลงให้ ส. อ. และ ล. แต่ให้ตกเป็นของผู้รับต่อเมื่อ ล. มีอายุครบ 20 ปี คนใดจะได้แปลงไหนให้จับสลากเอาเมื่อ ร. ตายแล้ว มีบุคคลผู้หนึ่งได้เป็นผู้จัดการมรดก แต่ต่อมาขอออกไป ระหว่างที่ยังไม่มีผู้จัดการมรดกคนใหม่ บ. ซึ่งเป็นมารดาของ ส. อ. ล. ได้ให้จำเลยเช่าตึกแถวในที่ดินแปลงพิพาท ซึ่งตึกนี้มีคนสร้างและยกกรรมสิทธิ์ให้แก่ บ. ดังนี้ ตึกแถวย่อมตกติดเป็นของเจ้าของที่ดินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1310 แม้ตามพินัยกรรมจะยังไม่ให้สิทธิในที่ดินแปลงใดตกทอดไปยัง ส. อ. และ ล. ในทันที ตึกแถวนั้นก็คงต้องตกไปเป็นของคนใดคนหนึ่งในสามคนนี้ แต่ก็ไม่ใช่เป็นของ บ. แม้จำเลยจะหลงเชื่อโดยสุจริตว่า บ. เป็นเจ้าของก็ไม่ทำให้จำเลยเกิดสิทธิในการเช่าอันจะใช้ยันเจ้าของที่ดินและตึกอันแท้จริงได้ เพราะ บ. ผู้ให้เช่าไม่ใช่เจ้าของตึกหรือมีสิทธิให้เช่าได้ โจทก์ซึ่งรู้เรื่องอยู่แล้ว รับโอนกรรมสิทธิ์ไปจากเจ้าของแล้วใช้อำนาจกรรมสิทธิ์ปฏิเสธไม่รับรู้การเช่าของจำเลยและฟ้องขับไล่ดังนี้ จะถือว่าเป็นการใช้สิทธิโดยไม่สุจริตหาได้ไม่ เพราะย่อมถือได้ว่าโจทก์รับโอนกรรมสิทธิ์มา โดยเห็นว่าการเช่าของจำเลยไม่มีผลผูกพันเจ้าของกรรมสิทธิ์ที่แท้จริง ไม่ใช่ว่าทำไปทั้งที่รู้อยู่ว่าตนไม่มีสิทธิที่จะทำได้
เมื่อ ล. มีอายุครบ 20 ปีแล้ว ศาลตั้งให้ ส. อ. และ ล. เป็นผู้จัดการมรดกของ ร. ส. อ. และ ล. จึงเป็นทั้งผู้จัดการมรดกและทายาทตามพินัยกรรมที่จะรับมรดกที่ดินกับตึกแถวรายนี้ การที่ ส. อ. และ ล. ขายที่ดินพิพาทกับตึกแถวให้แก่โจทก์ไปในฐานะที่เป็นผู้จัดการมรดก จึงเป็นการขายตามความประสงค์ของเจ้าของกรรมสิทธิ์จำเลยไม่อาจอ้างได้ว่าผู้จัดการมรดกไม่มีอำนาจขาย
เมื่อ ล. มีอายุครบ 20 ปีแล้ว ศาลตั้งให้ ส. อ. และ ล. เป็นผู้จัดการมรดกของ ร. ส. อ. และ ล. จึงเป็นทั้งผู้จัดการมรดกและทายาทตามพินัยกรรมที่จะรับมรดกที่ดินกับตึกแถวรายนี้ การที่ ส. อ. และ ล. ขายที่ดินพิพาทกับตึกแถวให้แก่โจทก์ไปในฐานะที่เป็นผู้จัดการมรดก จึงเป็นการขายตามความประสงค์ของเจ้าของกรรมสิทธิ์จำเลยไม่อาจอ้างได้ว่าผู้จัดการมรดกไม่มีอำนาจขาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1052-1054/2514
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโอนสิทธิในทรัพย์มรดก การเช่าที่ดิน และการใช้สิทธิโดยสุจริตของผู้ซื้อ
ร. ทำพินัยกรรมยกที่ดินแปลงพิพาทกับแปลงอื่นอีก 2 แปลงให้ ส. อ. และ ล. แต่ให้ตกเป็นของผู้รับต่อเมื่อ ล. มีอายุครบ 20 ปีคนใดจะได้แปลงไหนให้จับสลากเอาเมื่อ ร. ตายแล้ว มีบุคคลผู้หนึ่งได้เป็นผู้จัดการมรดก แต่ต่อมาขอออกไป ระหว่างที่ยังไม่มีผู้จัดการมรดกคนใหม่ บ. ซึ่งเป็นมารดาของ ส. อ. ล. ได้ให้จำเลยเช่าตึกแถวในที่ดินแปลงพิพาท ซึ่งตึกนี้มีคนสร้างและยกกรรมสิทธิ์ให้แก่ บ. ดังนี้ ตึกแถวย่อมตกติดเป็นของเจ้าของที่ดินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1310 แม้ตามพินัยกรรมจะยังไม่ให้สิทธิในที่ดินแปลงใดตกทอดไปยัง ส. อ. และ ล. ในทันที ตึกแถวนั้นก็คงต้องตกไปเป็นของคนใดคนหนึ่งในสามคนนี้ แต่ก็ไม่ใช่เป็นของ บ. แม้จำเลยจะหลงเชื่อโดยสุจริตว่า บ. เป็นเจ้าของก็ไม่ทำให้จำเลยเกิดสิทธิในการเช่าอันจะใช้ยันเจ้าของที่ดินและตึกอันแท้จริงได้ เพราะ บ. ผู้ให้เช่าไม่ใช่เจ้าของตึกหรือมีสิทธิให้เช่าได้ โจทก์ซึ่งรู้เรื่องอยู่แล้ว รับโอนกรรมสิทธิ์ไปจากเจ้าของแล้วใช้อำนาจกรรมสิทธิ์ปฏิเสธไม่รับรู้การเช่าของจำเลยและฟ้องขับไล่ ดังนี้ จะถือว่าเป็นการใช้สิทธิโดยไม่สุจริตหาได้ไม่ เพราะย่อมถือได้ว่าโจทก์รับโอนกรรมสิทธิ์มา โดยเห็นว่าการเช่าของจำเลยไม่มีผลผูกพันเจ้าของกรรมสิทธิ์ที่แท้จริง ไม่ใช่ว่าทำไปทั้งที่รู้อยู่ว่าตนไม่มีสิทธิที่จะทำได้
เมื่อ ล. มีอายุครบ 20 ปีแล้ว ศาลตั้งให้ ส. อ. และ ล.เป็นผู้จัดการมรดกของ ร. ส. อ. และ ล. จึงเป็นทั้งผู้จัดการมรดกและทายาทตามพินัยกรรมที่จะรับมรดกที่ดินกับตึกแถวรายนี้ การที่ ส. อ.และ ล. ขายที่ดินพิพาทกับตึกแถวให้แก่โจทก์ไปในฐานะที่เป็นผู้จัดการมรดก จึงเป็นการขายตามความประสงค์ของเจ้าของกรรมสิทธิ์จำเลยไม่อาจอ้างได้ว่าผู้จัดการมรดกไม่มีอำนาจขาย
เมื่อ ล. มีอายุครบ 20 ปีแล้ว ศาลตั้งให้ ส. อ. และ ล.เป็นผู้จัดการมรดกของ ร. ส. อ. และ ล. จึงเป็นทั้งผู้จัดการมรดกและทายาทตามพินัยกรรมที่จะรับมรดกที่ดินกับตึกแถวรายนี้ การที่ ส. อ.และ ล. ขายที่ดินพิพาทกับตึกแถวให้แก่โจทก์ไปในฐานะที่เป็นผู้จัดการมรดก จึงเป็นการขายตามความประสงค์ของเจ้าของกรรมสิทธิ์จำเลยไม่อาจอ้างได้ว่าผู้จัดการมรดกไม่มีอำนาจขาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 943/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยึดทรัพย์สินมรดกจากสัญญาประนีประนอมยอมความที่ทำกับผู้จัดการมรดกที่ถูกถอดถอน และผลของการไม่ปฏิเสธข้อกล่าวอ้าง
โจทก์ยื่นบัญชีระบุพยานก่อนวันสืบพยานน้อยกว่าสามวันโดยมิได้ทำคำร้องแสดงว่าเหตุใดจึงยื่นภายในกำหนดเวลาไม่ได้. เพื่อให้ศาลได้มีโอกาสพิจารณาเหตุผลของโจทก์ว่าสมควรจะรับบัญชีระบุพยานไว้หรือไม่. ดังนี้ ศาลจะสั่งรับบัญชีระบุพยานของโจทก์โดยเหตุผลเพียงว่าโจทก์ไม่มีเจตนาจงใจ. และไม่ทำให้คู่ความอีกฝ่ายเสียเปรียบหาได้ไม่. เพราะข้อได้เปรียบเสียเปรียบในเชิงคดีมีอยู่อย่างชัดแจ้ง.
ผู้ร้องร้องขัดทรัพย์ว่า รถยนต์ที่โจทก์นำยึดเป็นสินบริคณห์ระหว่างผู้ร้องกับเจ้ามรดก. ขณะโจทก์จำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความกัน ศาลได้ถอดถอนจำเลยแล้ว จำเลยไม่มีอำนาจทำนิติกรรมใดๆ ในฐานะผู้จัดการมรดกได้ต่อไป. สัญญาประนีประนอมยอมความระหว่างโจทก์จำเลยไม่ผูกพันกองมรดก. โจทก์มิได้กล่าวแก้ข้ออ้างของผู้ร้องดังกล่าวแต่ประการใด. เมื่อโจทก์ไม่ปฏิเสธ. ย่อมถือได้ว่าโจทก์ยอมรับ. จึงไม่มีประเด็นที่จะต้องวินิจฉัยว่า โจทก์เข้าทำสัญญาประนีประนอมยอมความโดยสุจริตตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 831,1720 หรือไม่.
ผู้ร้องร้องขัดทรัพย์ว่า รถยนต์ที่โจทก์นำยึดเป็นสินบริคณห์ระหว่างผู้ร้องกับเจ้ามรดก. ขณะโจทก์จำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความกัน ศาลได้ถอดถอนจำเลยแล้ว จำเลยไม่มีอำนาจทำนิติกรรมใดๆ ในฐานะผู้จัดการมรดกได้ต่อไป. สัญญาประนีประนอมยอมความระหว่างโจทก์จำเลยไม่ผูกพันกองมรดก. โจทก์มิได้กล่าวแก้ข้ออ้างของผู้ร้องดังกล่าวแต่ประการใด. เมื่อโจทก์ไม่ปฏิเสธ. ย่อมถือได้ว่าโจทก์ยอมรับ. จึงไม่มีประเด็นที่จะต้องวินิจฉัยว่า โจทก์เข้าทำสัญญาประนีประนอมยอมความโดยสุจริตตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 831,1720 หรือไม่.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 943/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยื่นบัญชีระบุพยานล่าช้า และผลของการทำสัญญาประนีประนอมยอมความโดยผู้จัดการมรดกที่ถูกถอดถอน
โจทก์ยื่นบัญชีระบุพยานก่อนวันสืบพยานน้อยกว่าสามวันโดยมิได้ทำคำร้องแสดงว่าเหตุใดจึงยื่นภายในกำหนดเวลาไม่ได้ เพื่อให้ศาลได้มีโอกาสพิจารณาเหตุผลของโจทก์ว่าสมควรจะรับบัญชีระบุพยานไว้หรือไม่ ดังนี้ ศาลจะสั่งรับบัญชีระบุพยานของโจทก์โดยเหตุผลเพียงว่าโจทก์ไม่มีเจตนาจงใจ และไม่ทำให้คู่ความอีกฝ่ายเสียเปรียบหาได้ไม่ เพราะข้อได้เปรียบเสียเปรียบในเชิงคดีมีอยู่อย่างชัดแจ้ง
ผู้ร้องร้องขัดทรัพย์ว่า รถยนต์ที่โจทก์นำยึดเป็นสินบริคณห์ระหว่างผู้ร้องกับเจ้ามรดก ขณะโจทก์จำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความกัน ศาลได้ถอดถอนจำเลยแล้วจำเลยไม่มีอำนาจทำนิติกรรมใด ๆ ในฐานะผู้จัดการมรดกได้ต่อไป สัญญาประนีประนอมยอมความระหว่างโจทก์จำเลยไม่ผูกพันกองมรดก โจทก์มิได้กล่าวแก้ข้ออ้างของผู้ร้องดังกล่าวแต่ประการใด เมื่อโจทก์ไม่ปฏิเสธ ย่อมถือได้ว่าโจทก์ยอมรับ จึงไม่มีประเด็นที่จะต้องวินิจฉัยว่า โจทก์เข้าทำสัญญาประนีประนอมยอมความโดยสุจริตตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 831, 1720 หรือไม่
ผู้ร้องร้องขัดทรัพย์ว่า รถยนต์ที่โจทก์นำยึดเป็นสินบริคณห์ระหว่างผู้ร้องกับเจ้ามรดก ขณะโจทก์จำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความกัน ศาลได้ถอดถอนจำเลยแล้วจำเลยไม่มีอำนาจทำนิติกรรมใด ๆ ในฐานะผู้จัดการมรดกได้ต่อไป สัญญาประนีประนอมยอมความระหว่างโจทก์จำเลยไม่ผูกพันกองมรดก โจทก์มิได้กล่าวแก้ข้ออ้างของผู้ร้องดังกล่าวแต่ประการใด เมื่อโจทก์ไม่ปฏิเสธ ย่อมถือได้ว่าโจทก์ยอมรับ จึงไม่มีประเด็นที่จะต้องวินิจฉัยว่า โจทก์เข้าทำสัญญาประนีประนอมยอมความโดยสุจริตตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 831, 1720 หรือไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 943/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยึดทรัพย์สินมรดกโดยผู้ไม่มีอำนาจ และผลของการไม่ปฏิเสธข้อกล่าวอ้างของโจทก์
โจทก์ยื่นบัญชีระบุพยานก่อนวันสืบพยานน้อยกว่าสามวันโดยมิได้ทำคำร้องแสดงว่าเหตุใดจึงยื่นภายในกำหนดเวลาไม่ได้เพื่อให้ศาลได้มีโอกาสพิจารณาเหตุผลของโจทก์ว่าสมควรจะรับบัญชีระบุพยานไว้หรือไม่ดังนี้ ศาลจะสั่งรับบัญชีระบุพยานของโจทก์โดยเหตุผลเพียงว่าโจทก์ไม่มีเจตนาจงใจ และไม่ทำให้คู่ความอีกฝ่ายเสียเปรียบหาได้ไม่ เพราะข้อได้เปรียบเสียเปรียบในเชิงคดีมีอยู่อย่างชัดแจ้ง
ผู้ร้องร้องขัดทรัพย์ว่า รถยนต์ที่โจทก์นำยึดเป็นสินบริคณห์ระหว่างผู้ร้องกับเจ้ามรดกขณะโจทก์จำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความกัน ศาลได้ถอดถอนจำเลยแล้ว จำเลยไม่มีอำนาจทำนิติกรรมใดๆ ในฐานะผู้จัดการมรดกได้ต่อไป สัญญาประนีประนอมยอมความระหว่างโจทก์จำเลยไม่ผูกพันกองมรดก โจทก์มิได้กล่าวแก้ข้ออ้างของผู้ร้องดังกล่าวแต่ประการใด เมื่อโจทก์ไม่ปฏิเสธย่อมถือได้ว่าโจทก์ยอมรับ จึงไม่มีประเด็นที่จะต้องวินิจฉัยว่า โจทก์เข้าทำสัญญาประนีประนอมยอมความโดยสุจริตตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 831,1720 หรือไม่
ผู้ร้องร้องขัดทรัพย์ว่า รถยนต์ที่โจทก์นำยึดเป็นสินบริคณห์ระหว่างผู้ร้องกับเจ้ามรดกขณะโจทก์จำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความกัน ศาลได้ถอดถอนจำเลยแล้ว จำเลยไม่มีอำนาจทำนิติกรรมใดๆ ในฐานะผู้จัดการมรดกได้ต่อไป สัญญาประนีประนอมยอมความระหว่างโจทก์จำเลยไม่ผูกพันกองมรดก โจทก์มิได้กล่าวแก้ข้ออ้างของผู้ร้องดังกล่าวแต่ประการใด เมื่อโจทก์ไม่ปฏิเสธย่อมถือได้ว่าโจทก์ยอมรับ จึงไม่มีประเด็นที่จะต้องวินิจฉัยว่า โจทก์เข้าทำสัญญาประนีประนอมยอมความโดยสุจริตตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 831,1720 หรือไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 382/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เสียงข้างมากของผู้จัดการมรดกมีผลผูกพัน การจัดการมรดกต้องเป็นไปตามเสียงข้างมาก แม้ผู้จัดการมรดกส่วนน้อยไม่ยินยอม
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1726 นั้น. การทำการตามหน้าที่ของผู้จัดการมรดกต้องเป็นไปตามเสียงข้างมาก. และเสียงข้างมากดังกล่าวนี้มิได้มีกฎหมายบังคับว่าต้องจัดให้มีการประชุมผู้จัดการมรดกเพื่อปรึกษาออกเสียงกันโดยตรงในกรณีที่ผู้จัดการมรดกเห็นควรดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งในการจัดการมรดก. และปรากฏว่าได้แจ้งไปยังผู้จัดการมรดกทุกคนแล้ว มีผู้เห็นด้วยเป็นส่วนมาก. ความเห็นส่วนข้างมากนั้นก็ถือได้ว่าเป็นเสียงข้างมากตกเป็นหน้าที่ของผู้จัดการมรดกที่จะต้องจัดการไปตามนั้น.ผู้จัดการมรดกส่วนข้างมากก็อาจดำเนินการไปในนามของผู้จัดการมรดกทั้งคณะได้. การรวบรวมทรัพย์มรดกก็ตาม ก็เป็นการจัดการมรดก บุคคลภายนอกหากได้ทราบความเห็นหรือเสียงข้างมากที่ให้เรียกทรัพย์มรดกนั้นแล้ว. ก็ต้องรับรู้และยินยอมให้ผู้จัดการมรดกส่วนข้างมากรับทรัพย์มรดกไป.จะเกี่ยงให้ผู้จัดการมรดกส่วนข้างมากนำผู้จัดการมรดกส่วนข้างน้อยเข้ามาร่วมจัดการด้วยหาได้ไม่.
ศาลชั้นต้นเห็นว่าการกระทำของจำเลยเป็นละเมิด. แต่ศาลอุทธรณ์เห็นว่าไม่เป็นละเมิด. จะถือได้อย่างมากเพียงแต่เป็นการผิดสัญญา. ซึ่งเป็นเรื่องระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1. ส่วนจำเลยที่ 2,3 ไม่ต้องรับผิดร่วมกับจำเลยที่ 1. แล้วพิพากษายืนในข้อที่ให้จำเลยที่ 2, 3ร่วมเสียค่าฤชาธรรมเนียมและค่าทนายความในศาลชั้นต้นด้วยนั้น.เป็นเรื่องการใช้ดุลพินิจของศาลตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 161. และไม่มีเหตุอันสมควรที่ศาลฎีกาจะแก้ไข.
ศาลชั้นต้นเห็นว่าการกระทำของจำเลยเป็นละเมิด. แต่ศาลอุทธรณ์เห็นว่าไม่เป็นละเมิด. จะถือได้อย่างมากเพียงแต่เป็นการผิดสัญญา. ซึ่งเป็นเรื่องระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1. ส่วนจำเลยที่ 2,3 ไม่ต้องรับผิดร่วมกับจำเลยที่ 1. แล้วพิพากษายืนในข้อที่ให้จำเลยที่ 2, 3ร่วมเสียค่าฤชาธรรมเนียมและค่าทนายความในศาลชั้นต้นด้วยนั้น.เป็นเรื่องการใช้ดุลพินิจของศาลตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 161. และไม่มีเหตุอันสมควรที่ศาลฎีกาจะแก้ไข.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 382/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เสียงข้างมากผู้จัดการมรดกมีอำนาจจัดการทรัพย์มรดก บุคคลภายนอกต้องยินยอมตาม
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1726 นั้น การทำการตามหน้าที่ของผู้จัดการมรดกต้องเป็นไปตามเสียงข้างมาก. และเสียงข้างมากดังกล่าวนี้มิได้มีกฎหมายบังคับว่าต้องจัดให้มีการประชุมผู้จัดการมรดกเพื่อปรึกษาออกเสียงกันโดยตรงในกรณีที่ผู้จัดการมรดกเห็นควรดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งในการจัดการมรดก และปรากฏว่าได้แจ้งไปยังผู้จัดการมรดกทุกคนแล้ว มีผู้เห็นด้วยเป็นส่วนมาก ความเห็นส่วนข้างมากนั้นก็ถือได้ว่าเป็นเสียงข้างมาก ตกเป็นหน้าที่ของผู้จัดการมรดกที่จะต้องจัดการไปตามนั้นผู้จัดการมรดกส่วนข้างมากก็อาจดำเนินการไปในนามของผู้จัดการมรดกทั้งคณะได้ การรวบรวมทรัพย์มรดกก็ตาม ก็เป็นการจัดการมรดก บุคคลภายนอกหากได้ทราบความเห็นหรือเสียงข้างมากที่ให้เรียกทรัพย์มรดกนั้นแล้ว ก็ต้องรับรู้และยินยอมให้ผู้จัดการมรดกส่วนข้างมากรับทรัพย์มรดกไปจะเกี่ยงให้ผู้จัดการมรดกส่วนข้างมากนำผู้จัดการมรดกส่วนข้างน้อยเข้ามาร่วมจัดการด้วยหาได้ไม่
ศาลชั้นต้นเห็นว่าการกระทำของจำเลยเป็นละเมิด แต่ศาลอุทธรณ์เห็นว่าไม่เป็นละเมิด จะถือได้อย่างมากเพียงแต่เป็นการผิดสัญญา ซึ่งเป็นเรื่องระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 ส่วนจำเลยที่ 2, 3 ไม่ต้องรับผิดร่วมกับจำเลยที่ 1 แล้วพิพากษายืนในข้อที่ให้จำเลยที่ 2, 3 ร่วมเสียค่าฤชาธรรมเนียมและค่าทนายความในศาลชั้นต้นด้วยนั้นเป็นเรื่องการใช้ดุลพินิจของศาลตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 161 และไม่มีเหตุอันสมควรที่ศาลฎีกาจะแก้ไข
ศาลชั้นต้นเห็นว่าการกระทำของจำเลยเป็นละเมิด แต่ศาลอุทธรณ์เห็นว่าไม่เป็นละเมิด จะถือได้อย่างมากเพียงแต่เป็นการผิดสัญญา ซึ่งเป็นเรื่องระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 ส่วนจำเลยที่ 2, 3 ไม่ต้องรับผิดร่วมกับจำเลยที่ 1 แล้วพิพากษายืนในข้อที่ให้จำเลยที่ 2, 3 ร่วมเสียค่าฤชาธรรมเนียมและค่าทนายความในศาลชั้นต้นด้วยนั้นเป็นเรื่องการใช้ดุลพินิจของศาลตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 161 และไม่มีเหตุอันสมควรที่ศาลฎีกาจะแก้ไข
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 382/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เสียงข้างมากของผู้จัดการมรดกมีผลผูกพัน การจัดการทรัพย์มรดกต้องเป็นไปตามเสียงข้างมาก แม้ผู้จัดการมรดกส่วนน้อยไม่ยินยอม
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1726 นั้น การทำการตามหน้าที่ของผู้จัดการมรดกต้องเป็นไปตามเสียงข้างมาก และเสียงข้างมากดังกล่าวนี้มิได้มีกฎหมายบังคับว่าต้องจัดให้มีการประชุมผู้จัดการมรดกเพื่อปรึกษาออกเสียงกันโดยตรงในกรณีที่ผู้จัดการมรดกเห็นควรดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งในการจัดการมรดกและปรากฏว่าได้แจ้งไปยังผู้จัดการมรดกทุกคนแล้ว มีผู้เห็นด้วยเป็นส่วนมาก ความเห็นส่วนข้างมากนั้นก็ถือได้ว่าเป็นเสียงข้างมากตกเป็นหน้าที่ของผู้จัดการมรดกที่จะต้องจัดการไปตามนั้นผู้จัดการมรดกส่วนข้างมากก็อาจดำเนินการไปในนามของผู้จัดการมรดกทั้งคณะได้การรวบรวมทรัพย์มรดกก็ตาม ก็เป็นการจัดการมรดก บุคคลภายนอกหากได้ทราบความเห็นหรือเสียงข้างมากที่ให้เรียกทรัพย์มรดกนั้นแล้วก็ต้องรับรู้และยินยอมให้ผู้จัดการมรดกส่วนข้างมากรับทรัพย์มรดกไปจะเกี่ยงให้ผู้จัดการมรดกส่วนข้างมากนำผู้จัดการมรดกส่วนข้างน้อยเข้ามาร่วมจัดการด้วยหาได้ไม่
ศาลชั้นต้นเห็นว่าการกระทำของจำเลยเป็นละเมิดแต่ศาลอุทธรณ์เห็นว่าไม่เป็นละเมิดจะถือได้อย่างมากเพียงแต่เป็นการผิดสัญญาซึ่งเป็นเรื่องระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 ส่วนจำเลยที่ 2,3 ไม่ต้องรับผิดร่วมกับจำเลยที่ 1 แล้วพิพากษายืนในข้อที่ให้จำเลยที่ 2, 3ร่วมเสียค่าฤชาธรรมเนียมและค่าทนายความในศาลชั้นต้นด้วยนั้นเป็นเรื่องการใช้ดุลพินิจของศาลตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 161 และไม่มีเหตุอันสมควรที่ศาลฎีกาจะแก้ไข
ศาลชั้นต้นเห็นว่าการกระทำของจำเลยเป็นละเมิดแต่ศาลอุทธรณ์เห็นว่าไม่เป็นละเมิดจะถือได้อย่างมากเพียงแต่เป็นการผิดสัญญาซึ่งเป็นเรื่องระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 ส่วนจำเลยที่ 2,3 ไม่ต้องรับผิดร่วมกับจำเลยที่ 1 แล้วพิพากษายืนในข้อที่ให้จำเลยที่ 2, 3ร่วมเสียค่าฤชาธรรมเนียมและค่าทนายความในศาลชั้นต้นด้วยนั้นเป็นเรื่องการใช้ดุลพินิจของศาลตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 161 และไม่มีเหตุอันสมควรที่ศาลฎีกาจะแก้ไข