พบผลลัพธ์ทั้งหมด 107 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1358/2505 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความสมบูรณ์ของพินัยกรรม, หนังสือสละมรดกที่ไม่สมบูรณ์, และผลของพินัยกรรมที่ทำผิดแบบ
พินัยกรรมตามแบบมาตรา 1656 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ผู้ทำพินัยกรรมต้องลงลายมือชื่อไว้ต่อหน้าพยานอย่างน้อยสองคนพร้อมกัน ซึ่งพยานทั้งสองนั้นต้องลงลายมือชื่อของผู้ทำพินัยกรรมไว้ในขณะนั้นจึงจะสมบูรณ์ จึงต้องฟังข้อเท็จจริง (ให้) ได้ (ความ) ว่า มีการกระทำถูกต้องตามที่กฎหมายกำหนด มิใช่เพียงแต่ฟังตามตัวหนังสือที่เขียนขึ้นไว้ พินัยกรรมที่มีบันทึกผู้รู้เห็นเป็นพยาน 5 คน แต่คนหนึ่งในจำนวนนี้ไม่ได้ลงชื่อ คู่ความอีกฝ่ายหนึ่งอ้างพยานที่ลงชื่อ 4 คนนี้มาสืบว่า 3 คนในจำนวนนี้เซ็นชื่อลับหลังผู้ทำพินัยกรรม คงมีคนเดียวที่ผู้ทำพินัยกรรมพิมพ์ลายนิ้วมือต่อหน้า ดังนี้ แม้จะเป็นการสืบพยานแก้ไขข้อความในเอกสารแต่ก็เป็นการนำสืบเพื่อแสดงความไม่สมบูรณ์ของเอกสารนั้น ย่อมนำสืบได้
ก. จำเลย กับ ฮ. บุตรของเจ้ามรดก ตกลงแบ่งมรดกกัน โดย ก. จำเลยตกลงแบ่งที่ดินหมายเลข 4 ให้ ฮ. ฮ. ก็ตกลงแบ่งที่ดินหมายเลข 5 ให้ ก. จำเลย และต่างทำเป็นหนังสือสละมรดกโดยต่างทำให้แก่กัน เมื่อปรากฏว่า ก. ไม่ใช่ทายาทของเจ้ามรดก เพราะเป็นแต่สะใภ้ไม่มีอำนาจแบ่งมรดกได้ ข้อตกลงนี้ก็ไม่สมบูรณ์ และหนังสือนี้เป็นแต่ข้อตกลงในการแบ่งทรัพย์มรดกเท่านั้น มิใช่เป็นการสละมรดกตามกฎหมาย เพราะยังมีข้อผูกพันจะต้องแบ่งมรดกบางส่วนตอบแทนให้ ฮ.ทายาทอื่นที่มิใช่คู่สัญญามีสิทธิจะอ้างข้อตกลงนี้ (หนังสือที่ ฮ.ทำ) เป็นประโยชน์แก่ตนไม่
พินัยกรรมที่ทำขึ้นผิดแบบตามมาตรา 1656 เป็นโมฆะตามมาตรา 1705 ไม่เป็นพินัยกรรมเสียแล้ว ความเสียเปล่านี้ผู้มีส่วนได้เสียจะกล่าวอ้างขึ้นก็ได้ หากต้องฟ้องขอให้เพิกถอนไม่ มาตรา 1710 ใช้เฉพาะเมื่อเป็นพินัยกรรมแล้วเท่านั้น
ก. จำเลย กับ ฮ. บุตรของเจ้ามรดก ตกลงแบ่งมรดกกัน โดย ก. จำเลยตกลงแบ่งที่ดินหมายเลข 4 ให้ ฮ. ฮ. ก็ตกลงแบ่งที่ดินหมายเลข 5 ให้ ก. จำเลย และต่างทำเป็นหนังสือสละมรดกโดยต่างทำให้แก่กัน เมื่อปรากฏว่า ก. ไม่ใช่ทายาทของเจ้ามรดก เพราะเป็นแต่สะใภ้ไม่มีอำนาจแบ่งมรดกได้ ข้อตกลงนี้ก็ไม่สมบูรณ์ และหนังสือนี้เป็นแต่ข้อตกลงในการแบ่งทรัพย์มรดกเท่านั้น มิใช่เป็นการสละมรดกตามกฎหมาย เพราะยังมีข้อผูกพันจะต้องแบ่งมรดกบางส่วนตอบแทนให้ ฮ.ทายาทอื่นที่มิใช่คู่สัญญามีสิทธิจะอ้างข้อตกลงนี้ (หนังสือที่ ฮ.ทำ) เป็นประโยชน์แก่ตนไม่
พินัยกรรมที่ทำขึ้นผิดแบบตามมาตรา 1656 เป็นโมฆะตามมาตรา 1705 ไม่เป็นพินัยกรรมเสียแล้ว ความเสียเปล่านี้ผู้มีส่วนได้เสียจะกล่าวอ้างขึ้นก็ได้ หากต้องฟ้องขอให้เพิกถอนไม่ มาตรา 1710 ใช้เฉพาะเมื่อเป็นพินัยกรรมแล้วเท่านั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1358/2505
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พิพากษาพินัยกรรมโมฆะเนื่องจากไม่ทำตามแบบที่กฎหมายกำหนด และข้อตกลงสละมรดกที่ไม่สมบูรณ์
พินัยกรรมตามแบบมาตรา 1656 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ผู้ทำพินัยกรรมต้องลงลายมือชื่อไว้ต่อหน้าพยานอย่างน้อยสองคนพร้อมกัน ซึ่งพยานสองคนนั้นต้องลงลายมือชื่อรับรองลายมือชื่อของผู้ทำพินัยกรรมไว้ในขณะนั้นจึงจะสมบูรณ์ จึงต้องฟังข้อเท็จจริง (ให้) ได้ (ความ) ว่า มีการกระทำถูกต้องตามที่กฎหมายกำหนด มิใช่เพียงแต่ฟังตามตัวหนังสือที่เขียนขึ้นไว้ พินัยกรรมที่มีบันทึกผู้รู้เห็นเป็นพยาน 5 คน แต่คนหนึ่งในจำนวนนี้ไม่ได้ลงชื่อคู่ความอีกฝ่ายหนึ่งอ้างพยานที่ลงชื่อ 4 คนนี้มาสืบว่า 3 คนในจำนวนนี้เซ็นชื่อลับหลังผู้ทำพินัยกรรม คงมีคนเดียวที่ผู้ทำพินัยกรรมพิมพ์ลายมือต่อหน้า ดังนี้ แม้จะเป็นการสืบพยานแก้ไขข้อความในเอกสาร แต่ก็เป็นการนำสืบเพื่อแสดงความไม่สมบูรณ์ของเอกสารนั้น ย่อมนำสืบได้
ก.จำเลยกับ ฮ.บุตรของเจ้ามรดกตกลงแบ่งมรดกกัน โดย ก.จำเลยตกลงแบ่งที่ดินหมายเลข 4 ให้ฮ. ฮ.ก็ตกลงแบ่งที่ดินหมายเลข 5 ให้ ก. จำเลย และต่างทำเป็นหนังสือสละมรดกโดยต่างทำให้แก่กัน เมื่อปรากฏว่า ก.ไม่ใช่ทายาทของเจ้ามรดก เพราะเป็นแต่สะใภ้ไม่มีอำนาจแบ่งมรดกได้ ข้อตกลงนี้ก็ไม่สมบูรณ์ และหนังสือนี้เป็นแต่ข้อตกลงในการแบ่งทรัพย์มรดกเท่านั้น มิใช่เป็นการสละมรดกตามกฎหมาย เพราะยังมีข้อผูกพันจะต้องแบ่งมรดกบางส่วนตอบแทนให้ ฮ. ทายาทอื่นที่มิใช่คู่สัญญาหามีสิทธิจะอ้างข้อตกลงนี้ (หนังสือที่ฮ.ทำ) เป็นประโยชน์แก่ตนไม่
พินัยกรรมที่ทำขึ้นผิดแบบตามมาตรา 1656 เป็นโมฆะตามมาตรา 1705 ไม่เป็นพินัยกรรมเสียแล้ว ความเสียเปล่านี้ผู้มีส่วนได้เสียจะกล่าวอ้างขึ้นก็ได้ หาต้องฟ้องขอให้เพิกถอนไม่ ตามมาตรา 1710 ใช้เฉพาะเมื่อเป็นพินัยกรรมแล้วเท่านั้น
ก.จำเลยกับ ฮ.บุตรของเจ้ามรดกตกลงแบ่งมรดกกัน โดย ก.จำเลยตกลงแบ่งที่ดินหมายเลข 4 ให้ฮ. ฮ.ก็ตกลงแบ่งที่ดินหมายเลข 5 ให้ ก. จำเลย และต่างทำเป็นหนังสือสละมรดกโดยต่างทำให้แก่กัน เมื่อปรากฏว่า ก.ไม่ใช่ทายาทของเจ้ามรดก เพราะเป็นแต่สะใภ้ไม่มีอำนาจแบ่งมรดกได้ ข้อตกลงนี้ก็ไม่สมบูรณ์ และหนังสือนี้เป็นแต่ข้อตกลงในการแบ่งทรัพย์มรดกเท่านั้น มิใช่เป็นการสละมรดกตามกฎหมาย เพราะยังมีข้อผูกพันจะต้องแบ่งมรดกบางส่วนตอบแทนให้ ฮ. ทายาทอื่นที่มิใช่คู่สัญญาหามีสิทธิจะอ้างข้อตกลงนี้ (หนังสือที่ฮ.ทำ) เป็นประโยชน์แก่ตนไม่
พินัยกรรมที่ทำขึ้นผิดแบบตามมาตรา 1656 เป็นโมฆะตามมาตรา 1705 ไม่เป็นพินัยกรรมเสียแล้ว ความเสียเปล่านี้ผู้มีส่วนได้เสียจะกล่าวอ้างขึ้นก็ได้ หาต้องฟ้องขอให้เพิกถอนไม่ ตามมาตรา 1710 ใช้เฉพาะเมื่อเป็นพินัยกรรมแล้วเท่านั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 466/2505 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสละมรดกก่อนเจ้ามรดกถึงแก่กรรมเป็นโมฆะ การฟ้องแบ่งมรดกมีผลเพิกถอนทะเบียนรับมรดก
การสละมรดก่อนเจ้ามรดกถึงแก่กรรมย่อมเสียไป และไม่มีทางแสดงเจตนา ให้สัญญานั้นกลับมีผลขึ้นได้อีกอย่างไร ฉะนั้น ถ้าเจ้ามรดกถึงแก่กรรมแล้ว ทายาทยังมีความตั้งใจสละมรดกอยู่เช่นเดิม ก็ต้องมีการแสดงเจตนาใหม่ให้ถูกต้องอีกชั้นหนึ่ง
โจทก์และจำเลยต่างเป็นทายาท เมื่อจำเลยไม่ยอมแบ่งที่พิพาทให้ โจทก์ย่อมฟ้องเรียกให้แบ่งได้ และมีผลเท่ากับขอเพิกถอนการจดทะเบียนรับมรดกของจำเลยอยู่ในตัวโดยโจทก์ไม่จำต้องขอให้เพิกถอนทะเบียนอย่างใด
โจทก์และจำเลยต่างเป็นทายาท เมื่อจำเลยไม่ยอมแบ่งที่พิพาทให้ โจทก์ย่อมฟ้องเรียกให้แบ่งได้ และมีผลเท่ากับขอเพิกถอนการจดทะเบียนรับมรดกของจำเลยอยู่ในตัวโดยโจทก์ไม่จำต้องขอให้เพิกถอนทะเบียนอย่างใด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 466/2505
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสละมรดกก่อนเจ้ามรดกถึงแก่กรรมเป็นโมฆะ การฟ้องแบ่งมรดกมีผลเพิกถอนการจดทะเบียนรับมรดก
การสละมรดกก่อนเจ้ามรดกถึงแก่กรรมย่อมเสียไปและไม่มีทางแสดงเจตนาให้สัญญานั้นกลับมีผลขึ้นได้อีกอย่างไรฉะนั้น ถ้าเจ้ามรดกถึงแก่กรรมแล้ว ทายาทยังมีความตั้งใจสละมรดกอยู่เช่นเดิม ก็ต้องมีการแสดงเจตนาใหม่ให้ถูกต้องอีกชั้นหนึ่ง
โจทก์และจำเลยต่างเป็นทายาท เมื่อจำเลยไม่ยอมแบ่งที่พิพาทให้ โจทก์ย่อมฟ้องเรียกให้แบ่งได้และมีผลเท่ากับขอเพิกถอนการจดทะเบียนรับมรดกของจำเลยอยู่ในตัว โดยโจทก์ไม่จำต้องขอให้เพิกถอนทะเบียนอย่างใด
โจทก์และจำเลยต่างเป็นทายาท เมื่อจำเลยไม่ยอมแบ่งที่พิพาทให้ โจทก์ย่อมฟ้องเรียกให้แบ่งได้และมีผลเท่ากับขอเพิกถอนการจดทะเบียนรับมรดกของจำเลยอยู่ในตัว โดยโจทก์ไม่จำต้องขอให้เพิกถอนทะเบียนอย่างใด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 280/2502 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิการรับมรดกไม่ระงับแม้ไม่ร้องสอดคดีก่อน และสิทธิทายาทอื่นย่อมมีผล
การที่โจทก์ไม่ร้องสอดขอแบ่งมรดกเข้ามาในคดีก่อนซึ่งจำเลยเป็นคู่ความเกี่ยวกับมรดกรายเดียวกันอยู่นั้น ไม่เป็นเหตุตัดสิทธิโจทก์จะฟ้องขอแบ่งมรดกนั้นในคดีหลังภายในอายุความ
เมื่อปรากฎว่ายังมีทายาทที่มีสิทธิรับมรดกเช่นเดียวกับโจทก์อยู่อีกคนหนึ่ง การที่ทายาทผู้นั้นนิ่งเฉยอยู่ จะถือว่าทายาทผู้นั้นสละมรดกหาได้ไม่ และจะแบ่งโดยเอาส่วนของทายาทผู้นั้นไปให้แก่โจทก์ไม่ได้ โจทก์คงได้ส่วนแบ่งแต่เฉพาะส่วนของตนเท่านั้น
(อ้างฎีกาที่ 391/2499)
เมื่อปรากฎว่ายังมีทายาทที่มีสิทธิรับมรดกเช่นเดียวกับโจทก์อยู่อีกคนหนึ่ง การที่ทายาทผู้นั้นนิ่งเฉยอยู่ จะถือว่าทายาทผู้นั้นสละมรดกหาได้ไม่ และจะแบ่งโดยเอาส่วนของทายาทผู้นั้นไปให้แก่โจทก์ไม่ได้ โจทก์คงได้ส่วนแบ่งแต่เฉพาะส่วนของตนเท่านั้น
(อ้างฎีกาที่ 391/2499)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 280/2502
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิการรับมรดกไม่ระงับ แม้มิได้ร้องสอดคดีก่อน และทายาทอื่นยังไม่สละสิทธิ
การที่โจทก์ไม่ร้องสอดขอแบ่งมรดกเข้ามาในคดีก่อนซึ่งจำเลยเป็นคู่ความเกี่ยวกับมรดกรายเดียวกันอยู่นั้นไม่เป็นเหตุตัดสิทธิโจทก์จะฟ้องขอแบ่งมรดกนั้นในคดีหลังภายในอายุความ
เมื่อปรากฏว่ายังมีทายาทที่มีสิทธิรับมรดกเช่นเดียวกับโจทก์อยู่อีกคนหนึ่งการที่ทายาทผู้นั้นนิ่งเฉยอยู่จะถือว่าทายาทผู้นั้นสละมรดกหาได้ไม่และจะแบ่งโดยเอาส่วนของทายาทผู้นั้นไปให้แก่โจทก์ไม่ได้โจทก์คงได้ส่วนแบ่งแต่เฉพาะส่วนของตนเท่านั้น(อ้างฎีกาที่391/2499)
เมื่อปรากฏว่ายังมีทายาทที่มีสิทธิรับมรดกเช่นเดียวกับโจทก์อยู่อีกคนหนึ่งการที่ทายาทผู้นั้นนิ่งเฉยอยู่จะถือว่าทายาทผู้นั้นสละมรดกหาได้ไม่และจะแบ่งโดยเอาส่วนของทายาทผู้นั้นไปให้แก่โจทก์ไม่ได้โจทก์คงได้ส่วนแบ่งแต่เฉพาะส่วนของตนเท่านั้น(อ้างฎีกาที่391/2499)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 31/2499
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิครอบครองที่ดินและการสละมรดก ศาลอนุญาตให้สืบพยานบุคคลได้
เมื่อปรากฏว่าฟ้องของโจทก์ไม่ได้อ้างสิทธิเฉพาะการสละมรดกของจำเลยเท่านั้นแต่โจทก์ยังยืนยันสิทธิครอบครองที่ดินรายพิพาทซึ่งไม่มีหนังสือสำคัญมาฝ่ายเดียวถึง 7 ปี เศษดังนี้เรื่องการสละมรดกจึงเป็นแต่เหตุประการหนึ่งที่แสดงว่าจำเลยตกลงใจสละให้แล้ว จึงได้ไม่เข้ามาเกี่ยวข้อง ฉะนั้นโจทก์ย่อมมีสิทธินำสืบพยานบุคคลได้หาเป็นการต้องห้ามที่จะไม่ให้รับฟังพยานบุคคลตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1612 ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 805/2497
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ยินยอมให้ลงชื่อรับมรดก ถือเป็นการโอนกรรมสิทธิ์สมบูรณ์ เพิกถอนมิได้
ยินยอมให้ผู้อื่นลงชื่อรับมฤดกในโฉนดที่ดินรวมทั้งส่วนของตนด้วย ถือได้ว่าผู้มีชื่อในโฉนดย่อมได้รับกรรมสิทธิโดยสมบูรณ์ตามกฎหมายที่ดินแล้ว จะมาร้องขอให้เพิกถอนหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 805/2497 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ยินยอมให้ลงชื่อรับมฤดก ถือเป็นการโอนกรรมสิทธิ์โดยสมบูรณ์ เพิกถอนไม่ได้
ยินยอมให้ผู้อื่นลงชื่อรับมฤดกในโฉนดที่ดินรวมทั้งส่วนของตนด้วย ถือได้ว่าผู้มีชื่ในโฉนดย่อมได้รับกรรมสิทธิโดยสมบูรณ์ตามกฎหมายที่ดินแล้ว จะมาร้องขอให้เพิกถอนหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1749/2494 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแบ่งมรดกที่ดินหลังเจ้าพนักงานที่ดินเปรียบเทียบแล้ว ไม่ถือเป็นการสละมรดกหรือประนีประนอมยอมความ
ทายาทด้วยกันต่างโต้แย้งคัดค้านการประกาศรับมรดกที่ดินของซึ่งกันและกันเจ้าพนักงานที่ดินจึงเปรียบเทียบ ซึ่งเป็นการปฏิบัติการตาม พ.ร.บ.การออกโฉนดที่ดิน ร.ศ.127 มาตรา 52 โดยสั่งให้ลงชื่อทายาทบางคนลงในโฉนดแปลงหนึ่ง และสั่งให้ลงชื่อทายาทอื่นลงในโฉนดอีกแปลงหนึ่ง และให้ฝ่ายที่ไม่พอใจไปฟ้องศาลภายใน 30 วัน เมื่อถึงกำหนดไม่มีใครไปฟ้องร้อง เจ้าพนักงานที่ดินจึงได้ลงชื่อทายาทในโฉนดไปตามที่ได้สั่งแล้วนั้น ดังนี้ จะถือว่าทายาทคนที่ไม่ถูกลงชื่อในโฉนดได้สละมรดกส่วนของตนในโฉนดนั้นยังไม่ได้ และจะว่าเป็นการปรานีประนอมยอมความก็ไม่ได้ ทายาทผู้ไม่ถูกลงชื่อในโฉนดนั้น ย่อมมีสิทธิมาฟ้องขอแบ่งที่ดินนั้นต่อศาลได้ภายในกำหนดอายุความ