พบผลลัพธ์ทั้งหมด 26 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 293/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าอุปการะเลี้ยงดูที่ตกลงกันเอง มีผลเป็นหนี้ค้างชำระ แม้ฐานะเปลี่ยนแปลงก็ไม่อาจขอเปลี่ยนแปลงได้
การตกลงยอมความกำหนดค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตรกันเองโดยศาลมิได้เกี่ยวข้องด้วยนั้น หากต่อมาปรากฏว่าพฤติการณ์ รายได้ หรือฐานะของคู่กรณีเปลี่ยนแปลงไป ก็ชอบที่จะร้องขอต่อศาลให้สั่งตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1596 ได้
ค่าอุปการะเลี้ยงดูที่ศาลจะสั่งได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1596 นั้น ต้องเป็นค่าอุปการะเลี้ยงดูที่จะพึงต้องชำระในอนาคต จะสั่งย้อนไปเกี่ยวกับเงินค่าอุปการะเลี้ยงดูที่ค้างชำระอยู่ก่อนแล้วหาได้ไม่
การที่บุคคลจะไม่ต้องอุปการะเลี้ยงดูผู้อื่นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1595 นั้น มุ่งหมายสำหรับงวดกาลข้างหน้าเท่านั้น ส่วนการอุปการะเลี้ยงดูที่ค้างเกี่ยวอยู่ในครั้งอดีตนั้น ยังคงตกเป็นภาระในอันที่จะต้องรับผิดต่อไปไม่เปลี่ยนแปลง
ค่าอุปการะเลี้ยงดูที่ศาลจะสั่งได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1596 นั้น ต้องเป็นค่าอุปการะเลี้ยงดูที่จะพึงต้องชำระในอนาคต จะสั่งย้อนไปเกี่ยวกับเงินค่าอุปการะเลี้ยงดูที่ค้างชำระอยู่ก่อนแล้วหาได้ไม่
การที่บุคคลจะไม่ต้องอุปการะเลี้ยงดูผู้อื่นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1595 นั้น มุ่งหมายสำหรับงวดกาลข้างหน้าเท่านั้น ส่วนการอุปการะเลี้ยงดูที่ค้างเกี่ยวอยู่ในครั้งอดีตนั้น ยังคงตกเป็นภาระในอันที่จะต้องรับผิดต่อไปไม่เปลี่ยนแปลง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 293/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าอุปการะเลี้ยงดู: หนี้ค้างชำระตามสัญญา แม้ฐานะเปลี่ยนแปลง ก็ยังต้องชำระ
การตกลงยอมความกำหนดค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตรกันเองโดยศาลมิได้เกี่ยวข้องด้วยนั้น หากต่อมาปรากฏว่าพฤติการณ์รายได้ หรือฐานะของคู่กรณีเปลี่ยนแปลงไป ก็ชอบที่จะร้องขอต่อศาลให้สั่งตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1596 ได้
ค่าอุปการะเลี้ยงดูที่ศาลจะสั่งได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1596 นั้น ต้องเป็นค่าอุปการะเลี้ยงดูที่จะพึงต้องชำระในอนาคต จะสั่งย้อนไปเกี่ยวกับเงินค่าอุปการะเลี้ยงดูที่ค้างชำระอยู่ก่อนแล้วหาได้ไม่
การที่บุคคลจะไม่ต้องอุปการะเลี้ยงดูผู้อื่นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1595 นั้น มุ่งหมายสำหรับงวดกาลข้างหน้าเท่านั้น ส่วนการอุปการเลี้ยงดูที่ค้างเกี่ยวอยู่ในครั้งอดีตนั้น ยังคงตกเป็นภาระในอันที่จะต้องรับผิดต่อไปไม่เปลี่ยนแปลง
ค่าอุปการะเลี้ยงดูที่ศาลจะสั่งได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1596 นั้น ต้องเป็นค่าอุปการะเลี้ยงดูที่จะพึงต้องชำระในอนาคต จะสั่งย้อนไปเกี่ยวกับเงินค่าอุปการะเลี้ยงดูที่ค้างชำระอยู่ก่อนแล้วหาได้ไม่
การที่บุคคลจะไม่ต้องอุปการะเลี้ยงดูผู้อื่นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1595 นั้น มุ่งหมายสำหรับงวดกาลข้างหน้าเท่านั้น ส่วนการอุปการเลี้ยงดูที่ค้างเกี่ยวอยู่ในครั้งอดีตนั้น ยังคงตกเป็นภาระในอันที่จะต้องรับผิดต่อไปไม่เปลี่ยนแปลง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 968/2502
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าเลี้ยงดูจากสัญญาประนีประนอม vs. ค่าอุปการะเลี้ยงดูตามกฎหมาย: ศาลฎีกาชี้ขาด
คำฟ้องเดิมของโจทก์เรียกร้องค่าเลี้ยงดูเฉพาะตัวโจทก์เองเท่านั้น การที่โจทก์ร้องขอให้เพิ่มค่าอุปการะเลี้ยงดูอีกจึงต้องเป็นเรื่องสืบเนื่องโดยตรงจากคำฟ้องเดิมของโจทก์นั้นเอง จะยกเอาประเด็นใหม่ขึ้นมาประกอบ อาทิเรื่องความจำเป็นเกี่ยวแก่การศึกษาของบุตรอีกด้วยเช่นนี้ไม่ได้ เพราะค่าอุปการะเลี้ยงดูสำหรับตัวโจทก์เองโดยเฉพาะในฐานะที่เคยเป็นภรรยา กับค่าอุปการะเลี้ยงดูสำหรับบุตร เป็นคนละเรื่องคนละประเด็น และอาศัยหลักกฎหมายต่างกัน
แม้ในคำร้องของโจทก์ ที่ขอค่าอุปการะเลี้ยงดูเพิ่มขึ้น จะได้กล่าวอ้างถึงเรื่องบุตรตลอดจนไม่มีเงินค่าเล่าเรียนให้แก่บุตร และศาลชั้นต้นกับศาลอุทธรณ์ก็ได้วินิจฉัยกล่าวอ้างถึงเช่นนั้น และฝ่ายจำเลยจะไม่โต้แย้งด้วยก็ตาม แต่เมื่อไม่ใช่ประเด็น ศาลฎีกาก็ไม่จำต้องวินิจฉัยถึงความข้อนี้
เมื่อเงินค่าเลี้ยงดูที่โจทก์ได้รับอยู่เป็นผลสืบเนื่องมาจากนิติกรรมโดยศาลบังคับให้ตามสัญญาประนีประนอมยอมความซึ่งได้กระทำไว้ต่อกันในวันจดทะเบียนหย่านั้น ย่อมไม่ใช่เป็นเงินค่าอุปการะเลี้ยงดูที่ศาลกำหนดให้ตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1506 และ มาตรา 1594 วรรคสอง คำว่า "ค่าเลี้ยงดู" กับ "ค่าอุปการะเลี้ยงดู" นั้นมีความหมายอย่างเดียวกัน แต่เหตุแห่งการได้มาซึ่งค่าเลี้ยงดูหรือค่าอุปการะเลี้ยงดูสำหรับภรรยานั่นแหละเป็นสาระสำคัญที่ก่อให้เกิดผลแตกต่างกันขึ้นได้
ตามมาตรา 1506 นั้น ศาลจะต้องพิจารณาเห็นว่า สามีเป็นผู้ผิดแต่ฝ่ายเดียว หากตรงข้ามภรรยาเป็นฝ่ายผิดแล้ว ศาลจะให้สามีจ่ายค่าอุปการะเลี้ยงดูแก่ภรรยาก็ไม่ได้กรณีที่ศาลกำหนดค่าอุปการะเลี้ยงดูให้แก่ภรรยาตามมาตรานี้จึงเป็นไปตาม มาตรา 1594 นั้นด้วยซึ่งเป็นกำหนดตามที่ศาลพิจารณาเห็นสมควร ในวาระหนึ่งต่อมาเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงไป ศาลจึงมีอำนาจที่จะสั่งให้เปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ตามควรแก่กรณี โดยอาศัย มาตรา 1596นั้น
เมื่อโจทก์ได้รับสิทธิ(เกี่ยวกับค่าเลี้ยงดู)ตามสัญญาประนีประนอมยอมความ ศาลก็ไม่ต้องคำนึงถึงความผิดความถูกของฝ่ายใด จำนวนเงินมากหรือน้อยไปเพียงใด กรณีมิได้เป็นไปตาม มาตรา 1506 และ 1594 จึงจะยกเอา มาตรา 1596 ขึ้นมาปรับแก่คดีไม่ได้ เมื่อศาลบังคับคดีให้แก่โจทก์ตามสัญญาประนีประนอมยอมความดังกล่าวและคดีถึงที่สุดไปแล้ว ข้อพิพาททั้งมวลก็ต้องยุติไปตามนั้น
แม้ในคำร้องของโจทก์ ที่ขอค่าอุปการะเลี้ยงดูเพิ่มขึ้น จะได้กล่าวอ้างถึงเรื่องบุตรตลอดจนไม่มีเงินค่าเล่าเรียนให้แก่บุตร และศาลชั้นต้นกับศาลอุทธรณ์ก็ได้วินิจฉัยกล่าวอ้างถึงเช่นนั้น และฝ่ายจำเลยจะไม่โต้แย้งด้วยก็ตาม แต่เมื่อไม่ใช่ประเด็น ศาลฎีกาก็ไม่จำต้องวินิจฉัยถึงความข้อนี้
เมื่อเงินค่าเลี้ยงดูที่โจทก์ได้รับอยู่เป็นผลสืบเนื่องมาจากนิติกรรมโดยศาลบังคับให้ตามสัญญาประนีประนอมยอมความซึ่งได้กระทำไว้ต่อกันในวันจดทะเบียนหย่านั้น ย่อมไม่ใช่เป็นเงินค่าอุปการะเลี้ยงดูที่ศาลกำหนดให้ตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1506 และ มาตรา 1594 วรรคสอง คำว่า "ค่าเลี้ยงดู" กับ "ค่าอุปการะเลี้ยงดู" นั้นมีความหมายอย่างเดียวกัน แต่เหตุแห่งการได้มาซึ่งค่าเลี้ยงดูหรือค่าอุปการะเลี้ยงดูสำหรับภรรยานั่นแหละเป็นสาระสำคัญที่ก่อให้เกิดผลแตกต่างกันขึ้นได้
ตามมาตรา 1506 นั้น ศาลจะต้องพิจารณาเห็นว่า สามีเป็นผู้ผิดแต่ฝ่ายเดียว หากตรงข้ามภรรยาเป็นฝ่ายผิดแล้ว ศาลจะให้สามีจ่ายค่าอุปการะเลี้ยงดูแก่ภรรยาก็ไม่ได้กรณีที่ศาลกำหนดค่าอุปการะเลี้ยงดูให้แก่ภรรยาตามมาตรานี้จึงเป็นไปตาม มาตรา 1594 นั้นด้วยซึ่งเป็นกำหนดตามที่ศาลพิจารณาเห็นสมควร ในวาระหนึ่งต่อมาเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงไป ศาลจึงมีอำนาจที่จะสั่งให้เปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ตามควรแก่กรณี โดยอาศัย มาตรา 1596นั้น
เมื่อโจทก์ได้รับสิทธิ(เกี่ยวกับค่าเลี้ยงดู)ตามสัญญาประนีประนอมยอมความ ศาลก็ไม่ต้องคำนึงถึงความผิดความถูกของฝ่ายใด จำนวนเงินมากหรือน้อยไปเพียงใด กรณีมิได้เป็นไปตาม มาตรา 1506 และ 1594 จึงจะยกเอา มาตรา 1596 ขึ้นมาปรับแก่คดีไม่ได้ เมื่อศาลบังคับคดีให้แก่โจทก์ตามสัญญาประนีประนอมยอมความดังกล่าวและคดีถึงที่สุดไปแล้ว ข้อพิพาททั้งมวลก็ต้องยุติไปตามนั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 968/2502 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าเลี้ยงดูจากสัญญาประนีประนอมยอมความกับการเปลี่ยนแปลงค่าอุปการะเลี้ยงดูสำหรับบุตร
คำฟ้องเดิมของโจทก์เรียกร้องค่าเลี้ยงดูเฉพาะตัวโจทก์เองเท่านั้น การที่โจทก์ร้องขอให้เพิ่มค่าอุปการะเลี้ยงดูอีกจึงต้องเป็นเรื่องสืบเนื่องโดยตรงจากคำฟ้องเดิมของโจทก์นั้นเอง จะยกเอาประเด็นใหม่ขึ้นมาประกอบ อาทิเรื่องความจำเป็นเกี่ยวแก่การศึกษาของบุตรอีกด้วย เช่นนี้ ไม่ได้ เพราะค่าอุปการะเลี้ยงดูสำหรับตัวโจทก์เองโดยเฉพาะในฐานะที่เคยเป็นภรรยา กับค่าอุปการะเลี้ยงดูสำหรับบุตรเป็นคนละเรื่องคนละประเด็น และอาศัยหลักกฎหมายต่างกัน
แม้ในคำร้องของโจทก์ ที่ขอค่าอุปการะเลี้ยงดูเพิ่มขึ้น จะได้กล่าวอ้างถึงเรื่องบุตรตลอดจนไม่มีเงินค่าเล่าเรียนให้แก่บุตรและศาลชั้นต้นกับศาลอุทธรณ์ก็ได้วินิจฉันกล่าวอ้างถึงเช่นนั้น และฝ่ายจำเลยจะไม่โต้แย้งด้วยก็ตาม แต่เมื่อไม่ใช่ประเด็น ศาลฎีกาก็ไม่จำต้องวินิจฉัยถึงความข้อนี้
เมื่อเงินค่าเลี้ยงดูที่โจทก์ได้รับอยู่เป็นผลสืบเนื่องมาจากนิติกรรมโดยศาลบังคับให้ตามสัญญาประนีประนอมยอมความซึ่งได้กระทำไว้ต่อกันในวันจดทะเบียนหย่านั้น ย่อมไม่ใช่เป็นเงินค่าอุปการะเลี้ยงดูที่ศาลกำหนดให้ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1506 และ มาตรา 1594 วรรค 2 คำว่า "ค่าเลี้ยงดู" กับ " ค่าอุปการะเลี้ยงดู" นั้นมีความหมายอย่างเดียวกัน แต่เหตุแห่งการได้มาซึ่งค่าเลี้ยงดูหรือค่าอุปการะเลี้ยงดูสำหรับภรรยานั่นแหละ เป็นสาระสำคัญที่ก่อให้เกิดผลแตกต่างกันขึ้นได้
ตามมาตรา 1506 นั้น ศาลจะต้องพิจารณาเห็นว่า สามีเป็นผู้ผิดแต่ฝ่ายเดียว หากตรงข้ามภรรยาเป็นฝ่ายผิดแล้ว ศาลจะให้สามีจ่ายค่าอุปการะเลี้ยงดูแก่ภรรยาก็ไม่ได้ กรณีที่ศาลกำหนดค่าอุปการะเลี้ยงดูให้แก่ภรรยาตามมาตรานี้ จึงเป็นไปตาม มาตรา 1594 นั้นด้วย ซึ่งเป็นกำหนดตามที่ศาลพิจารณาเห็นสมควร ในวาระหนึ่งต่อมา เหตุการณ์เปลี่ยนแปลงไป ศาลจึงมีอำนาจที่จะส่งให้เปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ตาม ควรแก่กรณี โดยอาศัย มาตรา 1596 นั้น
เมื่อโจทก์ได้รับสิทธิ (เกี่ยวกับค่าเลี้ยงดู) ตามสัญญาประนีประนอมยอมความ ศาลก็ไม่ต้องคำนึงถึงความผิดความถูกของฝ่ายใด จำนวนเงินมากหรือน้อยไปเพียงใด กรณีมิได้เป็นไปตาม มาตรา 1506 และ 1594 จึงจะยกเอา มาตรา 1596 ขึ้นมาปรับแก่คดีไม่ได้ เมื่อศาลบังคับคดีให้แก่โจทก์ตามสัญญาประนีประนอมยอมความดังกล่าวและคดีถึงที่สุดไปแล้ว ข้อพิพาททั้งมวลก็ต้องยุติไปตามนั้น
แม้ในคำร้องของโจทก์ ที่ขอค่าอุปการะเลี้ยงดูเพิ่มขึ้น จะได้กล่าวอ้างถึงเรื่องบุตรตลอดจนไม่มีเงินค่าเล่าเรียนให้แก่บุตรและศาลชั้นต้นกับศาลอุทธรณ์ก็ได้วินิจฉันกล่าวอ้างถึงเช่นนั้น และฝ่ายจำเลยจะไม่โต้แย้งด้วยก็ตาม แต่เมื่อไม่ใช่ประเด็น ศาลฎีกาก็ไม่จำต้องวินิจฉัยถึงความข้อนี้
เมื่อเงินค่าเลี้ยงดูที่โจทก์ได้รับอยู่เป็นผลสืบเนื่องมาจากนิติกรรมโดยศาลบังคับให้ตามสัญญาประนีประนอมยอมความซึ่งได้กระทำไว้ต่อกันในวันจดทะเบียนหย่านั้น ย่อมไม่ใช่เป็นเงินค่าอุปการะเลี้ยงดูที่ศาลกำหนดให้ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1506 และ มาตรา 1594 วรรค 2 คำว่า "ค่าเลี้ยงดู" กับ " ค่าอุปการะเลี้ยงดู" นั้นมีความหมายอย่างเดียวกัน แต่เหตุแห่งการได้มาซึ่งค่าเลี้ยงดูหรือค่าอุปการะเลี้ยงดูสำหรับภรรยานั่นแหละ เป็นสาระสำคัญที่ก่อให้เกิดผลแตกต่างกันขึ้นได้
ตามมาตรา 1506 นั้น ศาลจะต้องพิจารณาเห็นว่า สามีเป็นผู้ผิดแต่ฝ่ายเดียว หากตรงข้ามภรรยาเป็นฝ่ายผิดแล้ว ศาลจะให้สามีจ่ายค่าอุปการะเลี้ยงดูแก่ภรรยาก็ไม่ได้ กรณีที่ศาลกำหนดค่าอุปการะเลี้ยงดูให้แก่ภรรยาตามมาตรานี้ จึงเป็นไปตาม มาตรา 1594 นั้นด้วย ซึ่งเป็นกำหนดตามที่ศาลพิจารณาเห็นสมควร ในวาระหนึ่งต่อมา เหตุการณ์เปลี่ยนแปลงไป ศาลจึงมีอำนาจที่จะส่งให้เปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ตาม ควรแก่กรณี โดยอาศัย มาตรา 1596 นั้น
เมื่อโจทก์ได้รับสิทธิ (เกี่ยวกับค่าเลี้ยงดู) ตามสัญญาประนีประนอมยอมความ ศาลก็ไม่ต้องคำนึงถึงความผิดความถูกของฝ่ายใด จำนวนเงินมากหรือน้อยไปเพียงใด กรณีมิได้เป็นไปตาม มาตรา 1506 และ 1594 จึงจะยกเอา มาตรา 1596 ขึ้นมาปรับแก่คดีไม่ได้ เมื่อศาลบังคับคดีให้แก่โจทก์ตามสัญญาประนีประนอมยอมความดังกล่าวและคดีถึงที่สุดไปแล้ว ข้อพิพาททั้งมวลก็ต้องยุติไปตามนั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 606/2501 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องซ้ำค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตร: สัญญาประนีประนอมยอมความจำกัดสิทธิหน้าที่เฉพาะช่วงเวลา
โจทก์จำเลยเป็นสามีภรรยากันแต่มิได้จดทะเบียน เกิดบุตรคนหนึ่ง โจทก์จึงฟ้องจำเลยให้รับรองเด็กเป็นบุตรและให้จ่ายค่าอุปการะเลี้ยงดู แล้วโจทก์จำเลยตกลงประนีประนอมยอมความกันโดยจำเลยยอมรับรองเด็กเป็นบุตรและจ่ายค่าอุปการะเลี้ยงดูให้โจทก์เป็นเดือนมีกำหนดเวลาโดยมิได้มีเงื่อนไขสงวนสิทธิใด ๆ ของโจทก์ไว้ พ้นกำหนดแล้ว โจทก์จะมาฟ้องให้จำเลยจ่ายค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตรอีกไม่ได้ เป็นการฟ้องซ้ำ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 606/2501
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องซ้ำ ค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตร: สัญญาประนีประนอมจำกัดสิทธิหน้าที่บิดา
โจทก์จำเลยเป็นสามีภรรยากันแต่มิได้จดทะเบียนเกิดบุตรคนหนึ่งโจทก์จึงฟ้องจำเลยให้รับรองเด็กเป็นบุตรและให้จ่ายค่าอุปการะเลี้ยงดูแล้วโจทก์จำเลยตกลงประนีประนอมยอมความกันโดยจำเลยยอมรับรองเด็กเป็นบุตรและจ่ายค่าอุปการะเลี้ยงดูให้โจทก์เป็นเดือนมีกำหนดเวลาโดยมิได้มีเงื่อนไขสงวนสิทธิใด ๆ ของโจทก์ไว้พ้นกำหนดแล้ว โจทก์จะมาฟ้องให้จำเลยจ่ายค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตรอีกไม่ได้ เป็นการฟ้องซ้ำ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1393/2495
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องค่าอุปการะเลี้ยงดู และข้อยกเว้นการใช้บังคับอายุความ รวมถึงเกณฑ์การรับผิดของบิดา
มารดาของผู้เยาว์ ซึ่งเป็นผู้ใช้อำนาจปกครองผู้เยาว์ ย่อมมีอำนาจฟ้องเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดูผู้เยาว์จากบิดาของผู้เยาว์ได้ ไม่เป็นอุทลุมเพราะฟ้องในฐานะส่วนตัวของตนเอง ไม่ใช่ฟ้องในนามของเด็กหรือในฐานะเป็นผู้แทนเด็ก
ภริยาฟ้องเรียกค่าเลี้ยงดูบุตรจากสามีซึ่งหย่ากันแล้วนั้น สามีจะอ้างอายุความตามมาตรา 165(12)มาตัดฟ้องไม่ได้ เพราะเป็นกรณีที่บุตรอยู่กับมารดาในฐานะเป็นมารดาและเป็นผู้ใช้อำนาจปกครอง กรณีไม่ต้องตามมาตรา 165(12) และมาตรา 166
ตามมาตรา 1594 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ระบุว่าบุคคลผู้มีสิทธิเรียกร้องค่าอุปการะเลี้ยงดู ต้องเป็นผู้ไร้ทรัพย์สินและมิสามารถเลี้ยงตนเองได้ และแม้ในเรื่องบิดามารดามีหน้าที่อุปการะเลี้ยงดูและให้การศึกษาแก่บุตรดังที่ระบุไว้ในมาตรา 1536 ในการรับผิดออกค่าอุปการะเลี้ยงดูและการศึกษา ก็ต้องอยู่ภายใต้บทบัญญัติว่าด้วยค่าอุปการะเลี้ยงดูตามมาตรา 1594 ด้วย ฉะนั้นถ้าบุตรมีทรัพย์สินซึ่งมีราคามาก อาจหารายได้เป็นจำนวนท่วมล้นค่าเลี้ยงดูและค่าศึกษาแล้ว บิดาก็ไม่ต้องรับผิดในค่าอุปการะเลี้ยงดูและการศึกษาของบุตรนั้น
ภริยาฟ้องเรียกค่าเลี้ยงดูบุตรจากสามีซึ่งหย่ากันแล้วนั้น สามีจะอ้างอายุความตามมาตรา 165(12)มาตัดฟ้องไม่ได้ เพราะเป็นกรณีที่บุตรอยู่กับมารดาในฐานะเป็นมารดาและเป็นผู้ใช้อำนาจปกครอง กรณีไม่ต้องตามมาตรา 165(12) และมาตรา 166
ตามมาตรา 1594 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ระบุว่าบุคคลผู้มีสิทธิเรียกร้องค่าอุปการะเลี้ยงดู ต้องเป็นผู้ไร้ทรัพย์สินและมิสามารถเลี้ยงตนเองได้ และแม้ในเรื่องบิดามารดามีหน้าที่อุปการะเลี้ยงดูและให้การศึกษาแก่บุตรดังที่ระบุไว้ในมาตรา 1536 ในการรับผิดออกค่าอุปการะเลี้ยงดูและการศึกษา ก็ต้องอยู่ภายใต้บทบัญญัติว่าด้วยค่าอุปการะเลี้ยงดูตามมาตรา 1594 ด้วย ฉะนั้นถ้าบุตรมีทรัพย์สินซึ่งมีราคามาก อาจหารายได้เป็นจำนวนท่วมล้นค่าเลี้ยงดูและค่าศึกษาแล้ว บิดาก็ไม่ต้องรับผิดในค่าอุปการะเลี้ยงดูและการศึกษาของบุตรนั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1436/2493 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องภริยาเรียกค่าเลี้ยงดูจากสามี กรณีหนี้เกิดจากการอุปการะเลี้ยงดูครอบครัว
ภริยาขอหย่าขาดจากสามีเมื่อมีหนี้อันเกี่ยวกับค่าอุปการะเลี้ยงดู เช่นต้องไปซื้อเชื่อสิ่งของและกู้ยืมเงินผู้มีชื่อมาใช้จ่ายในสิ่งที่จำเป็นกับการครองชีพของตัวภริยาและบุตรซึ่งสามีมี ีหน้าที่ต้องรับผิด และเมื่อภริยาเรียกร้องให้สามีชำระ, สามีก็ไม่ชำระให้ดังนี้ย่อมตกเป็นภาระแก่ภริยา, ภริยาย่อมขอให้ศาลแสดงว่าสามีมีหน้าที่จะต้องรับผิดชำระหนี้ดังกล่าวได้ และศาลก็พิพากษาให้สามีมีหน้าที่ต้องรับผิดในหนี้ตามจำนวนที่ภริยาฟ้องมานั้นได้
ในกรณีดังกล่าวนี้ภริยาจะฟ้องแทนเจ้าหนี้โดยเจ้าหนี้ไม่ได้มอบอำนาจให้ไม่ได้หรือจะฟ้องให้สามีชำระหนี้แก่ภริยาเพื่อภริยาจะได้นำไปชำระแก่เจ้าหนี้ก็ไม่ได้
ในกรณีดังกล่าวนี้ภริยาจะฟ้องแทนเจ้าหนี้โดยเจ้าหนี้ไม่ได้มอบอำนาจให้ไม่ได้หรือจะฟ้องให้สามีชำระหนี้แก่ภริยาเพื่อภริยาจะได้นำไปชำระแก่เจ้าหนี้ก็ไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1436/2493
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องขอให้ชำระหนี้ค่าอุปการะเลี้ยงดูระหว่างการฟ้องหย่า: ศาลแสดงว่าจำเลยมีหน้าที่รับผิดได้
ภริยาขอหย่าขาดจากสามีเมื่อมีหนี้อันเกี่ยวกับค่าอุปการะเลี้ยงดู เช่นต้องไปซื้อเชื่อสิ่งของและกู้ยืมเงินผู้มีชื่อมาใช้จ่ายในสิ่งที่จำเป็นกับการครองชีพของตัวภริยาและบุตรซึ่งสามีมีหน้าที่ต้องรับผิด และเมื่อภริยาเรียกร้องให้สามีชำระ สามีก็ไม่ชำระให้ ดังนี้ ย่อมตกเป็นภาระแก่ภริยา ภริยาย่อมขอให้ศาลแสดงว่าสามีมีหน้าที่จะต้องรับผิดชำระหนี้ดังกล่าวได้ และศาลก็พิพากษาให้สามีมีหน้าที่ต้องรับผิดในหนี้ตามจำนวนที่ภริยาฟ้องมานั้นได้
ในกรณีดังกล่าวนี้ ภริยาจะฟ้องแทนเจ้าหนี้โดยเจ้าหนี้ไม่ได้มอบอำนาจให้ ไม่ได้ หรือจะฟ้องให้สามีชำระหนี้แก่ภริยาเพื่อภริยาจะได้นำไปชำระแก่เจ้าหนี้ก็ไม่ได้
ในกรณีดังกล่าวนี้ ภริยาจะฟ้องแทนเจ้าหนี้โดยเจ้าหนี้ไม่ได้มอบอำนาจให้ ไม่ได้ หรือจะฟ้องให้สามีชำระหนี้แก่ภริยาเพื่อภริยาจะได้นำไปชำระแก่เจ้าหนี้ก็ไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 96-97/2485 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขอหย่าและสิทธิในการปกครองบุตร กรณีภริยาเล่นการพนันและสงสัยมีชู้ ศาลพิจารณาเหตุผลและสิทธิของบิดา
เพียงแต่สงสัยหรือเข้าใจเอาเองว่าภริยาเป็นชู้ยังไม่เป็นเหตุหย่า และการที่ภริยาชอบเล่นการพะนันอย่างเดียวก็ไม่เป็นเหตุหย่าบุตร์ซึ่งยังไม่บรรลุนิติภาวะต้องอยู่ในความปกครองของบิดา มารดาอ้างเหตุเพียงว่าเป็นห่วงบุตร์เกรงจะไม่ได้รับความสุขโดยมารดาเลี้ยงอาจรังแก ยังไม่เป็นเหตุเพียงพอที่จะขอปกครองบุตร์ ภริยาออกจากบ้านไปโดยไม่มีเหตุอันสมควร ไม่มีสิทธิเรียกค่าเลี้ยงดูจากสามี ภริยาฟ้องเรียกค่าเลี้ยงดูและค่าที่อดยู่สำหรับตนเองจะวินิจฉัยถึงค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตร์ด้วยไม่ได้เพราะเกินคำฟ้อง