พบผลลัพธ์ทั้งหมด 93 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 372/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับรองบุตรโดยไม่ได้จดทะเบียนสมรส และสิทธิในการรับมรดก
บิดามารดาของผู้เยาว์ไม่ได้จดทะเบียนสมรสกัน ผู้เยาว์จึงไม่ใช่บุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของบิดา เมื่อปรากฏหลักฐานทางสูติบัตรและทะเบียนสำมะโนครัวว่าผู้เยาว์เป็นบุตรและมีพฤติการณ์ซึ่งเป็นที่รู้กันทั่วไปว่า บิดามารดาผู้เยาว์เป็นสามีภริยากัน อยู่ร่วมเรือนเดียวกันโดยเปิดเผย บิดาผู้เยาว์ได้แนะนำมารดาผู้เยาว์ต่อบุคคลอื่นว่าเป็นภริยา บิดาผู้เยาว์เคยไปที่สำนักงานทะเบียนท้องถิ่นเพื่อแจ้งการเกิดของผู้เยาว์ แต่ไม่สบายจึงต้องกลับเสียก่อนแล้วให้คนอื่นไปแจ้งการเกิดแทน ดังนี้ ฟังได้ว่าบิดาได้รับรองผู้เยาว์เป็นบุตรแล้ว จึงถือได้ว่าผู้เยาว์เป็นผู้สืบสันดานเหมือนบุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 372/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับรองบุตรโดยไม่ได้จดทะเบียนสมรส: สิทธิในการรับมรดก
บิดามารดาของผู้เยาว์ไม่ได้จดทะเบียนสมรสกัน ผู้เยาว์จึงไม่ใช่บุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของบิดาเมื่อปรากฏหลักฐานทางสูติบัตรและทะเบียนสำมะโนครัวว่าผู้เยาว์เป็นบุตรและมีพฤติการณ์ซึ่งเป็นที่รู้กันทั่วไป ว่า บิดามารดาผู้เยาว์เป็นสามีภริยากัน อยู่ร่วมเรือนเดียวกันโดยเปิดเผย บิดาผู้เยาว์ได้แนะนำมารดาผู้เยาว์ต่อบุคคลอื่นว่าเป็นภริยา บิดาผู้เยาว์ เคยไปที่สำนักงานทะเบียนท้องถิ่นเพื่อแจ้งการเกิดของผู้เยาว์แต่ไม่สบาย จึงต้องกลับเสียก่อนแล้วให้คนอื่นไปแจ้งการเกิดแทน ดังนี้ ฟังได้ว่า บิดาได้รับรองผู้เยาว์เป็นบุตรแล้ว จึงถือได้ว่าผู้เยาว์เป็นผู้สืบสันดาน เหมือนบุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 207/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเรียกร้องมรดกทั้งฐานะบุตรบุญธรรมและทายาทตามบัญชีเครือญาติ: ศาลต้องพิจารณาประเด็นทั้งสอง
โจทก์ฟ้องเรียกทรัพย์มรดกของ พ. โดยอ้างว่าเป็นบุตรบุญธรรมของ พ. ประการหนึ่งกับอ้างว่าเป็นทายาทของ พ. ตามบัญชีเครือญาติ ท้ายฟ้องด้วยอีกประการหนึ่ง ตามบัญชีเครือญาติโจทก์แสดงว่า พ. มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันหลายคนรวมทั้ง ว. บิดาโจทก์ ว. ตายไปแล้ว ซึ่งพอเป็นที่เข้าใจถึงการเป็นทายาทของโจทก์ว่าโจทก์มีสิทธิรับมรดก ของ พ. แทนที่ ว. ถือได้ว่าโจทก์ได้บรรยายถึงสภาพการเป็นทายาท ของโจทก์ว่าเป็นมาโดยลำดับอย่างไรไว้ในคำฟ้องแล้วเพราะบัญชีเครือญาติ ก็เป็นส่วนหนึ่งของคำฟ้อง
แม้โจทก์จะไม่มีสิทธิรับมรดกของ พ. ในฐานะเป็นบุตรบุญธรรมแต่เมื่อปรากฏว่าโจทก์ได้ฟ้องเรียกทรัพย์มรดกในฐานะที่เป็นทายาทตามบัญชีเครือญาติท้ายฟ้องมาด้วย คดีจึงมีประเด็นซึ่งจะต้องพิจารณาวินิจฉัยว่าโจทก์เป็นทายาทรับมรดกแทนที่ ว. บิดา ตามบัญชีเครือญาติท้ายฟ้องจริงหรือไม่
แม้โจทก์จะไม่มีสิทธิรับมรดกของ พ. ในฐานะเป็นบุตรบุญธรรมแต่เมื่อปรากฏว่าโจทก์ได้ฟ้องเรียกทรัพย์มรดกในฐานะที่เป็นทายาทตามบัญชีเครือญาติท้ายฟ้องมาด้วย คดีจึงมีประเด็นซึ่งจะต้องพิจารณาวินิจฉัยว่าโจทก์เป็นทายาทรับมรดกแทนที่ ว. บิดา ตามบัญชีเครือญาติท้ายฟ้องจริงหรือไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 207/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องรับมรดกตามบัญชีเครือญาติ แม้ไม่มีสถานะบุตรบุญธรรม ศาลต้องพิจารณาประเด็นการเป็นทายาท
โจทก์ฟ้องเรียกทรัพย์มรดกของ พ. โดยอ้างว่าเป็นบุตรบุญธรรมของ พ. ประการหนึ่ง กับอ้างว่าเป็นทายาทของ พ. ตามบัญชีเครือญาติท้ายฟ้องด้วยอีกประการหนึ่ง ตามบัญชีเครือญาติ โจทก์แสดงว่า พ. มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันหลายคนรวมทั้ง ว. บิดาโจทก์ ว. ตายไปแล้ว ซึ่งพอเป็นที่เข้าใจถึงการเป็นทายาทของโจทก์ ว่าโจทก์มีสิทธิรับมรดกของ พ. แทนที่ ว. ถือได้ว่าโจทก์ได้บรรยายถึงสภาพการเป็นทายาทของโจทก์ว่าเป็นมาโดยลำดับอย่างไรไว้ในคำฟ้องแล้ว เพราะบัญชีเครือญาติก็เป็นส่วนหนึ่งขอคำฟ้อง
แม้โจทก์จะไม่มีสิทธิรับมรดกของ พ. ในฐานะเป็นบุตรบุญธรรม แต่เมื่อปรากฏว่า โจทก์ได้ฟ้องเรียกทรัพย์มรดกในฐานะที่เป็นทายาทตามบัญชีเครือญาติท้ายฟ้องมาด้วย คดีจึงมีประเด็นซึ่งจะต้องพิจารณาวินิจฉัยว่าโจทก์เป็นทายาทรับมรดกแทนที่ ว. บิดา ตามบัญชีเครือญาติ ท้ายฟ้องจริงหรือไม่
แม้โจทก์จะไม่มีสิทธิรับมรดกของ พ. ในฐานะเป็นบุตรบุญธรรม แต่เมื่อปรากฏว่า โจทก์ได้ฟ้องเรียกทรัพย์มรดกในฐานะที่เป็นทายาทตามบัญชีเครือญาติท้ายฟ้องมาด้วย คดีจึงมีประเด็นซึ่งจะต้องพิจารณาวินิจฉัยว่าโจทก์เป็นทายาทรับมรดกแทนที่ ว. บิดา ตามบัญชีเครือญาติ ท้ายฟ้องจริงหรือไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 135/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับมรดกแทนที่และการหมดสิทธิรับมรดกจากไม่เรียกร้องสิทธิภายในกำหนด
ค. ซึ่งเป็นบุตรเจ้ามรดกคนหนึ่งถึงแก่ความตายก่อนเจ้ามรดก ค. มีบุตรคือ จำเลยเป็นผู้สืบสันดาน จำเลยย่อมเป็นผู้รับมรดกแทนที่ ค.
จำเลยมิได้ครอบครองมรดกและมิได้เรียกร้องเอาภายใน 1 ปี ย่อมหมดสิทธิรับมรดก การที่บุตรของ ค. คนอื่นปลูกเรือนอยู่ในที่ดินมรดก หากเป็นความจริงก็เป็นสิทธิของผู้นั้น ส่วนจำเลยหมดสิทธิไปแล้ว จะคัดค้านขอรับมรดกด้วยหาได้ไม่
คดีพิพาทกันในระหว่างทายาทว่า จำเลยมีสิทธิขอแบ่งมรดกหรือไม่ โจทก์ก็ฟ้องเอาทรัพย์มรดกส่วนของ ค.1 ใน 3 ตามที่ถือกรรมสิทธิ์ร่วมกันในโฉนด ประเด็นในคดีจึงมีเฉพาะเรื่องทรัพย์มรดกของนางคลี่ มิได้พิพาทกับเจ้าของร่วมว่านางคลี่เจ้ามรดกหรือโจทก์มีกรรมสิทธิ์เกินหนึ่งในสามหรือตามอาณาเขตที่ครอบครอง ศาลจะพิพากษานอกฟ้องไม่ได้
จำเลยมิได้ครอบครองมรดกและมิได้เรียกร้องเอาภายใน 1 ปี ย่อมหมดสิทธิรับมรดก การที่บุตรของ ค. คนอื่นปลูกเรือนอยู่ในที่ดินมรดก หากเป็นความจริงก็เป็นสิทธิของผู้นั้น ส่วนจำเลยหมดสิทธิไปแล้ว จะคัดค้านขอรับมรดกด้วยหาได้ไม่
คดีพิพาทกันในระหว่างทายาทว่า จำเลยมีสิทธิขอแบ่งมรดกหรือไม่ โจทก์ก็ฟ้องเอาทรัพย์มรดกส่วนของ ค.1 ใน 3 ตามที่ถือกรรมสิทธิ์ร่วมกันในโฉนด ประเด็นในคดีจึงมีเฉพาะเรื่องทรัพย์มรดกของนางคลี่ มิได้พิพาทกับเจ้าของร่วมว่านางคลี่เจ้ามรดกหรือโจทก์มีกรรมสิทธิ์เกินหนึ่งในสามหรือตามอาณาเขตที่ครอบครอง ศาลจะพิพากษานอกฟ้องไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 135/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับมรดกแทนที่และการหมดสิทธิรับมรดกเนื่องจากไม่เรียกร้องภายใน 1 ปี
ค. ซึ่งเป็นบุตรเจ้ามรดกคนหนึ่งถึงแก่ความตายก่อนเจ้ามรดกค. มีบุตรคือจำเลยเป็นผู้สืบสันดาน จำเลยย่อมเป็นผู้รับมรดกแทนที่ ค.
จำเลยมิได้ครอบครองมรดกและมิได้เรียกร้องเอาภายใน 1 ปี ย่อมหมดสิทธิรับมรดก การที่บุตรของ ค. คนอื่นปลูกเรือนอยู่ในที่ดินมรดกหากเป็นความจริงก็เป็นสิทธิของผู้นั้นส่วนจำเลยหมดสิทธิไปแล้วจะคัดค้านขอรับมรดกด้วยหาได้ไม่
คดีพิพาทกันในระหว่างทายาทว่า จำเลยมีสิทธิขอแบ่งมรดกหรือไม่ โจทก์ก็ฟ้องเอาทรัพย์มรดกส่วนของ ค. 1 ใน 3 ตามที่ถือกรรมสิทธิ์ร่วมกันในโฉนด ประเด็นในคดีจึงมีเฉพาะเรื่องทรัพย์มรดกของนางคลี่ มิได้พิพาทกับเจ้าของร่วมว่านางคลี่เจ้ามรดกหรือโจทก์ มีกรรมสิทธิ์เกินหนึ่งในสามหรือตามอาณาเขตที่ครอบครอง ศาลจะพิพากษานอกฟ้องไม่ได้
จำเลยมิได้ครอบครองมรดกและมิได้เรียกร้องเอาภายใน 1 ปี ย่อมหมดสิทธิรับมรดก การที่บุตรของ ค. คนอื่นปลูกเรือนอยู่ในที่ดินมรดกหากเป็นความจริงก็เป็นสิทธิของผู้นั้นส่วนจำเลยหมดสิทธิไปแล้วจะคัดค้านขอรับมรดกด้วยหาได้ไม่
คดีพิพาทกันในระหว่างทายาทว่า จำเลยมีสิทธิขอแบ่งมรดกหรือไม่ โจทก์ก็ฟ้องเอาทรัพย์มรดกส่วนของ ค. 1 ใน 3 ตามที่ถือกรรมสิทธิ์ร่วมกันในโฉนด ประเด็นในคดีจึงมีเฉพาะเรื่องทรัพย์มรดกของนางคลี่ มิได้พิพาทกับเจ้าของร่วมว่านางคลี่เจ้ามรดกหรือโจทก์ มีกรรมสิทธิ์เกินหนึ่งในสามหรือตามอาณาเขตที่ครอบครอง ศาลจะพิพากษานอกฟ้องไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 134/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสิ้นสิทธิรับมรดกและการพิจารณาความประมาทในการขับรถ ทำให้เกิดอันตรายต่อผู้อื่น
ค. ซึ่งเป็นบุตรเจ้ามรดกคนหนึ่งถึงแก่ความตายก่อนเจ้ามรดก ค. มีบุตรคือ จำเลยเป็นผู้สืบสันดาน จำเลยย่อมเป็นผู้รับมรดกแทนที่ ค.
จำเลยมิได้ครอบครองมรดกและมิได้เรียกร้องเอาภายใน 1 ปี ย่อมหมดสิทธิรับมรดก การที่บุตรของ ค. คนอื่นปลูกเรือนอยู่ในที่ดินมรดก หากเป็นความจริงก็เป็นสิทธิของผู้นั้น ส่วนจำเลยหมดสิทธิไปแล้ว จะคัดค้านขอรับมรดก หากเป็นความจริงก็เป็นสิทธิของผู้นั้น ส่วนจำเลยหมกสิทธิไปแล้ว จะคัดค้านขอรับมรดกด้วยหาได้ไม่
คดีพิพาทกันในระหว่างทายาทว่า จำเลยมีสิทธิขอแบ่งมรดกหรือไม่ โจทก์ก็ฟ้องเอาทรัพย์มรดกส่วนของ ค.1 ใน 3 ตามที่ถือกรรมสิทธิ์ร่วมกันในโฉนด ประเด็นในคดีจึงมีเฉพาะเรื่องทรัพย์มรดกของนางคลี่ มิได้พิพาทกับเจ้าของร่วมว่านางคลี่เจ้ามรดกหรือโจทก์มีกรรมสิทธิ์เกินหนึ่งในสามหรือตามอาณาเขตที่ครอบครอง ศาลจะพิพากษานอกฟ้องไม่ได้
จำเลยมิได้ครอบครองมรดกและมิได้เรียกร้องเอาภายใน 1 ปี ย่อมหมดสิทธิรับมรดก การที่บุตรของ ค. คนอื่นปลูกเรือนอยู่ในที่ดินมรดก หากเป็นความจริงก็เป็นสิทธิของผู้นั้น ส่วนจำเลยหมดสิทธิไปแล้ว จะคัดค้านขอรับมรดก หากเป็นความจริงก็เป็นสิทธิของผู้นั้น ส่วนจำเลยหมกสิทธิไปแล้ว จะคัดค้านขอรับมรดกด้วยหาได้ไม่
คดีพิพาทกันในระหว่างทายาทว่า จำเลยมีสิทธิขอแบ่งมรดกหรือไม่ โจทก์ก็ฟ้องเอาทรัพย์มรดกส่วนของ ค.1 ใน 3 ตามที่ถือกรรมสิทธิ์ร่วมกันในโฉนด ประเด็นในคดีจึงมีเฉพาะเรื่องทรัพย์มรดกของนางคลี่ มิได้พิพาทกับเจ้าของร่วมว่านางคลี่เจ้ามรดกหรือโจทก์มีกรรมสิทธิ์เกินหนึ่งในสามหรือตามอาณาเขตที่ครอบครอง ศาลจะพิพากษานอกฟ้องไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 619/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับมรดกแทนที่ของทายาทโดยธรรมและการสละมรดกแทนผู้เยาว์ต้องได้รับอนุมัติจากศาล
เมื่อเจ้ามรดกตาย ทรัพย์มรดกย่อมตกได้แก่ทายาทโดยธรรมของเจ้ามรดก เมื่อทายาทโดยธรรมคนใดคนหนึ่งตายก่อนเจ้ามรดก ส่วนมรดกที่ทายาทโดยธรรมจะได้รับย่อมตกทอดแก่ผู้สืบสันดานทุกคนของทายาทโดยธรรมนั้นในฐานะเป็นผู้รับมรดกแทนที่ ดังนั้น เมื่อทายาทโดยธรรมตาย มีผู้เอาชื่อผู้สืบสันดานคนหนึ่งใส่ลงในหน้าโฉนดเป็นผู้รับมรดกจึงหาทำให้ผู้สืบสันดานคนอื่นๆ เสียสิทธิในการรับมรดกแทนที่ในที่ดินนั้นไปไม่
คำสั่งของผู้ตายให้ยกที่ดินให้แก่ใครคนหนึ่งนั้นมิใช่พินัยกรรมจึงหาลบล้างสิทธิของทายาทโดยธรรม หรือผู้รับมรดกแทนที่ของทายาทโดยธรรมนั้นไม่
การสละมรดกจะต้องแสดงเจตนาชัดแจ้งเป็นหนังสือมอบไว้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ หรือทำเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความ
การที่มารดาจะสละมรดกแทนผู้เยาว์ได้ จะต้องได้รับอนุมัติจากศาลก่อน
คำสั่งของผู้ตายให้ยกที่ดินให้แก่ใครคนหนึ่งนั้นมิใช่พินัยกรรมจึงหาลบล้างสิทธิของทายาทโดยธรรม หรือผู้รับมรดกแทนที่ของทายาทโดยธรรมนั้นไม่
การสละมรดกจะต้องแสดงเจตนาชัดแจ้งเป็นหนังสือมอบไว้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ หรือทำเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความ
การที่มารดาจะสละมรดกแทนผู้เยาว์ได้ จะต้องได้รับอนุมัติจากศาลก่อน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 619/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับมรดกแทนที่ของทายาทโดยธรรม และการสละมรดกแทนผู้เยาว์ต้องมีอนุมัติจากศาล
เมื่อเจ้ามรดกตาย ทรัพย์มรดกย่อมตกได้แก่ทายาทโดยธรรมของเจ้ามรดก เมื่อทายาทโดยธรรมคนใดคนหนึ่งตายก่อนเจ้ามรดก ส่วนมรดกที่ทายาทโดยธรรมจะได้รับย่อมตกทอดแก่ผู้สืบสันดานทุกคนของทายาทโดยธรรมนั้นในฐานะเป็นผู้รับมรดกแทนที่ ดังนั้น เมื่อทายาทโดยธรรมตาย มีผู้เอาชื่อผู้สืบสันดานคนหนึ่งใส่ลงในหน้าโฉนดเป็นผู้รับมรดกจึงหาทำให้ผู้สืบสันดานคนอื่น ๆ เสียสิทธิในการรับมรดกแทนที่ในที่ดินนั้นไปไม่
คำสั่งของผู้ตายให้ยกที่ดินให้แก่ใครคนหนึ่งนั้นมิใช่พินัยกรรม จึงหาลบล้างสิทธิของทายาทโดยธรรมหรือผู้รับมรดกแทนที่ของทายาทโดยธรรมนั้นไม่
การสละมรดกจะต้องแสดงเจตนาชัดแจ้งเป็นหนังสือมอบไว้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ หรือทำเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความ
การที่มารดาจะสละมรดกแทนผู้เยาว์ได้ จะต้องได้รับอนุมัติจากศาลก่อน
คำสั่งของผู้ตายให้ยกที่ดินให้แก่ใครคนหนึ่งนั้นมิใช่พินัยกรรม จึงหาลบล้างสิทธิของทายาทโดยธรรมหรือผู้รับมรดกแทนที่ของทายาทโดยธรรมนั้นไม่
การสละมรดกจะต้องแสดงเจตนาชัดแจ้งเป็นหนังสือมอบไว้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ หรือทำเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความ
การที่มารดาจะสละมรดกแทนผู้เยาว์ได้ จะต้องได้รับอนุมัติจากศาลก่อน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1240/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแบ่งมรดกเจ้าของรวมต้องตามสิทธิรับมรดกที่ปรากฏชัดเจน ข้อสันนิษฐานตามกฎหมายใช้ไม่ได้
การแบ่งส่วนเจ้าของรวมต้องเป็นไปตามส่วนที่ตนเป็นเจ้าของ ซึ่งแล้วแต่ข้อเท็จจริงว่าตนมีสิทธิเพียงใด การที่ยกเอาข้อสันนิษฐานตามมาตรา 1157 มาแบ่งเท่ากันในเมื่อปรากฎสิทธิของเจ้าของรวมอยู่ชัดแจ้งแล้วนั้นจึงไม่ถูกต้อง
บุคคล 5 คน มีชื่อในโฉนดร่วมกันโดยไม่ระบุว่าผู้ใดมีสิทธิเท่าใด หากข้อเท็จจริงที่นำสืบปรากฎชัดว่า ได้มีชื่อในโฉนดร่วมกันนั้นเพราะได้รับโอนมรดกและสิทธิในการรับมรดกของแต่ละคนก็ปรากฎชัดตามทางนำสืบด้วแล้ว ดังนี้ จะยกข้อสันนิษฐานมาให้แบ่ง 5 ส่วนได้คนละเท่ากัน ตามมาตรา 13+7 ไม่ได้
บุคคล 5 คน มีชื่อในโฉนดร่วมกันโดยไม่ระบุว่าผู้ใดมีสิทธิเท่าใด หากข้อเท็จจริงที่นำสืบปรากฎชัดว่า ได้มีชื่อในโฉนดร่วมกันนั้นเพราะได้รับโอนมรดกและสิทธิในการรับมรดกของแต่ละคนก็ปรากฎชัดตามทางนำสืบด้วแล้ว ดังนี้ จะยกข้อสันนิษฐานมาให้แบ่ง 5 ส่วนได้คนละเท่ากัน ตามมาตรา 13+7 ไม่ได้