พบผลลัพธ์ทั้งหมด 9 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1524/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องคดีโดยจำเลยเป็นผู้เยาว์ ศาลมีอำนาจแยกคดีเพื่อให้ถูกต้องตามกฎหมาย
ในคำฟ้องช่องจำเลย โจทก์เขียนว่า นายจรินทร์ จันทรศิลปิน ในฐานะส่วนตัวและในฐานะผู้ปกครองเด็กหญิงนวลจันทรก์ จันทรศิลปิน ผู้เยาว์ ดังนี้ ถือว่าโจทก์ได้ฟ้องเด็กหญิงนวลจันทร์โดยนายจรินทร์เป็นผู้ปกครองด้วย
เมื่อจำเลยผู้หนึ่งเป็นผู้เยาว์และศาลได้ดำเนินกระบวนพิจารณาจนพิพากษาคดีไปแล้ว โดยมิได้สั่งให้แก้ไขข้อบกพร่องในเรื่องความสามารถ ศาลอุทธรณ์ย่อมมีอำนาจสั่งให้แยกคดีที่จำเลยเป็นผู้เยาว์ออกเป็นคดีหนึ่งต่างหาก และให้ดำเนินการใหม่ให้ถูกต้องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 56 แล้วพิพากษาใหม่ได้
เมื่อจำเลยผู้หนึ่งเป็นผู้เยาว์และศาลได้ดำเนินกระบวนพิจารณาจนพิพากษาคดีไปแล้ว โดยมิได้สั่งให้แก้ไขข้อบกพร่องในเรื่องความสามารถ ศาลอุทธรณ์ย่อมมีอำนาจสั่งให้แยกคดีที่จำเลยเป็นผู้เยาว์ออกเป็นคดีหนึ่งต่างหาก และให้ดำเนินการใหม่ให้ถูกต้องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 56 แล้วพิพากษาใหม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1524/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องคดีกับผู้เยาว์โดยไม่มีผู้แทนตามกฎหมาย: ศาลมีอำนาจแยกคดีเพื่อให้การพิจารณาถูกต้อง
ในคำฟ้องช่องจำเลย โจทก์เขียนว่านายจรินทร์จันทรศิลปินในฐานะส่วนตัวและในฐานะผู้ปกครองเด็กหญิงนวลจันทร์จันทรศิลปิน ผู้เยาว์ ดังนี้ ถือว่าโจทก์ได้ฟ้องเด็กหญิงนวลจันทร์โดยนายจรินทร์เป็นผู้ปกครองด้วย
เมื่อจำเลยผู้หนึ่งเป็นผู้เยาว์และศาลได้ดำเนินกระบวนพิจารณาจนพิพากษาคดีไปแล้ว โดยมิได้สั่งให้แก้ไขข้อบกพร่องในเรื่องความสามารถ ศาลอุทธรณ์ย่อมมีอำนาจสั่งให้แยกคดีที่จำเลยเป็นผู้เยาว์ออกเป็นคดีหนึ่งต่างหาก และให้ดำเนินการใหม่ให้ถูกต้องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 56 แล้วพิพากษาใหม่ได้
เมื่อจำเลยผู้หนึ่งเป็นผู้เยาว์และศาลได้ดำเนินกระบวนพิจารณาจนพิพากษาคดีไปแล้ว โดยมิได้สั่งให้แก้ไขข้อบกพร่องในเรื่องความสามารถ ศาลอุทธรณ์ย่อมมีอำนาจสั่งให้แยกคดีที่จำเลยเป็นผู้เยาว์ออกเป็นคดีหนึ่งต่างหาก และให้ดำเนินการใหม่ให้ถูกต้องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 56 แล้วพิพากษาใหม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1552/2504 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คนใบ้ไม่ถือเป็นผู้ไร้ความสามารถ จนกว่าศาลจะมีคำสั่ง สามารถดำเนินคดีได้เองหรือมอบอำนาจ
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 1 (12) และมาตรา 56 ศาลจะตั้งผู้แทนเฉพาะคดีให้ก็ต่อเมื่อบุคคลใดเป็นผู้ไร้ความสามารถและไม่มีผู้แทนโดยชอบธรรมหรือผู้แทนโดยชอบธรรมทำหน้าที่ไม่ได้
บุคคลใดแม้จะเป็นคนใบ้มาแต่กำเนิดก็ตาม เมื่อศาลยังมิได้สั่งให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ ก็ย่อมไม่ใช่บุคคลผู้ไร้ความสามารถตามกฎหมาย ฉะนั้น จึงมีอำนาจดำเนินคดีได้อย่างบุคคลธรรมดา ผู้อื่นจะร้องขอให้ศาลชั้นต้นเป็นผู้แทนเฉพาะคดีไม่ได้
ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 38/2504
บุคคลใดแม้จะเป็นคนใบ้มาแต่กำเนิดก็ตาม เมื่อศาลยังมิได้สั่งให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ ก็ย่อมไม่ใช่บุคคลผู้ไร้ความสามารถตามกฎหมาย ฉะนั้น จึงมีอำนาจดำเนินคดีได้อย่างบุคคลธรรมดา ผู้อื่นจะร้องขอให้ศาลชั้นต้นเป็นผู้แทนเฉพาะคดีไม่ได้
ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 38/2504
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1215/2492
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจำหน่ายคดีเนื่องจากผู้เยาว์บรรลุนิติภาวะ และไม่มีประโยชน์ในการบังคับคดีต่อ
ในระหว่างพิจารณาศาลสั่งยกคำร้องในเรื่องข้อตัดฟ้องของจำเลย จำเลยแถลงว่า ยังติดใจคัดค้านและขอสงวนสิทธิเพื่ออุทธรณ์ แล้วจำเลยได้ยื่นอุทธรณ์คำสั่งของศาล ศาลชั้นต้นสั่งไม่รับอุทธรณ์ จำเลยยื่นคำแถลงว่าพอใจคำสั่งไม่รับอุทธรณ์ของศาลแล้ว จึงขอค่าธรรมเนียมคืนดังนี้ เป็นเรื่องที่จำเลยพอใจในการสั่งของศาล ไม่ใช่พอใจที่จะไม่อุทธรณ์ เมื่อศาลพิพากษาคดีแล้ว จำเลยย่อมอุทธรณ์คัดค้านคำสั่งนั้นได้ เพราะจำเลยได้โต้แย้งคำสั่งไว้ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 226(2) แล้ว
เมื่อความปรากฏว่าจำเลยเป็นผู้เยาว์ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 1(12) กรณีก็ต้องตามมาตรา 56 การที่ผู้แทนโดยชอบธรรมจะให้อนุญาตหรือยินยอมแก่ผู้เยาว์ ที่จะดำเนินคดีหรือไม่เป็นอำนาจของผู้แทนโดยชอบธรรม ศาลไม่มีอำนาจบังคับผู้แทนโดยชอบธรรมให้ดำเนินคดีแทนผู้เยาว์
การหมายเรียกตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา57(3) เป็นการหมายเรียกให้เข้ามาเป็นคู่ความ ถ้าผู้แทนโดยชอบธรรมไม่ให้ความยินยอมแก่ผู้เยาว์ในการดำเนินคดี หรือไม่เข้าดำเนินคดีแทนผู้เยาว์ตามที่ควรศาลจะตั้งผู้แทนเฉพาะคดีให้ตามมาตรา 56 วรรคท้ายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งก็ไม่ได้ เพราะเป็นบทบัญญัติเฉพาะแต่ในกรณีไม่มีผู้แทนโดยชอบธรรม หรือผู้แทนโดยชอบธรรมทำหน้าที่ไม่ได้ แต่ถ้าในกรณีที่บิดาเป็นผู้ปกครองและไม่ยอมให้คำยินยอมเช่นนี้ ผู้เยาว์อาจขอต่อศาลให้รอคดีไว้หรือศาลสั่งรอไว้เองก็ได้ โดยให้ผู้เยาว์ไปหาญาติสนิท ดำเนินการตามมาตรา 1552 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ถอนอำนาจบิดาในส่วนนี้ฐานใช้อำนาจปกครองโดยมิชอบเสียก่อนได้
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 56 ไม่ได้ห้ามไม่ให้ฟ้องผู้เยาว์ เป็นแต่ว่าถ้าถูกฟ้อง ผู้เยาว์จะดำเนินคดีไม่ได้ เว้นแต่จะได้รับความยินยอมของผู้แทนโดยชอบธรรมหรือผู้แทนโดยชอบธรรม เข้าดำเนินคดีแทนเสียทีเดียว ถ้าผู้แทนโดยชอบธรรมไม่ระวังผลประโยชน์ของผู้เยาว์ ก็ไม่ใช่ความผิดของโจทก์ จะบังคับโจทก์ไม่ได้ศาลจึงชอบที่จะคอยระวังผลประโยชน์ของผู้เยาว์ให้ตามสมควร เพื่อรักษาประโยชน์ของผู้เยาว์ ศาลอาจจะแจ้งไปยังพนักงานอัยการเพื่อพิจารณาและดำเนินการตามมาตรา 1552 นี้ก็ได้ เมื่อมีการถอนอำนาจแล้ว ก็เป็นหน้าที่ที่จะใช้มาตรา 56 วรรคท้ายได้ แต่ศาลจะหมายเรียกผู้แทนโดยชอบธรรม ให้เข้ามาแก้คดีแทนผู้เยาว์นั้นหามีกฎหมายสนับสนุนไม่
การบังคับคดีเป็นหน้าที่ของศาลชั้นต้น การที่ขอให้ศาลอุทธรณ์ทุเลาการบังคับไว้ในระหว่างอุทธรณ์ เมื่อศาลอุทธรณ์ไม่ให้ทุเลา ก็หมายความว่าไม่ให้ถือเอาการอุทธรณ์เป็นการทุเลาการบังคับ แม้จะมีการอุทธรณ์ ก็ให้ศาลล่างดำเนินการบังคับคดีต่อไปตามอำนาจที่ศาลชั้นต้นมีอยู่ในเรื่องการบังคับคดี ไม่ใช่ว่าถ้าศาลอุทธรณ์ไม่ให้ทุเลาแล้ว ก็เป็นการบังคับศาลชั้นต้นให้บังคับคดีโดยตัดอำนาจที่ศาลชั้นต้นมีอยู่ในเรื่องบังคับคดีเสียเลย
โจทก์ฟ้องขอให้จำเลยส่งบุตรสาวโจทก์อายุ 18 ปีในระหว่างการพิจารณาของศาลฎีกาบุตรสาวโจทก์บรรลุนิติภาวะแล้ว ศาลฎีกาชอบที่จะจำหน่ายคดีเสีย แม้กรณีไม่ต้องด้วย ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 132 ศาลฎีกาก็ยังจำหน่ายคดีได้
ถ้าหากไม่มีประโยชน์ที่ศาลจะชี้ขาดแล้วเช่นคดีนี้แต่คดีนี้ศาลล่างดำเนินการพิจารณามาสับสน จะเพียงแต่จำหน่ายคดี โดยให้คำพิพากษาศาลอุทธรณ์คงไว้ หาชอบไม่ ทั้งจะให้ศาลล่างพิจารณาใหม่ก็ไม่ได้ เพราะบุตรสาวโจทก์ที่ฟ้องเรียกคืนบรรลุนิติภาวะแล้ว เช่นนี้ศาลฎีกาจึงพิพากษายกคำพิพากษาศาลล่าง และให้จำหน่ายคดีเสีย
เมื่อความปรากฏว่าจำเลยเป็นผู้เยาว์ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 1(12) กรณีก็ต้องตามมาตรา 56 การที่ผู้แทนโดยชอบธรรมจะให้อนุญาตหรือยินยอมแก่ผู้เยาว์ ที่จะดำเนินคดีหรือไม่เป็นอำนาจของผู้แทนโดยชอบธรรม ศาลไม่มีอำนาจบังคับผู้แทนโดยชอบธรรมให้ดำเนินคดีแทนผู้เยาว์
การหมายเรียกตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา57(3) เป็นการหมายเรียกให้เข้ามาเป็นคู่ความ ถ้าผู้แทนโดยชอบธรรมไม่ให้ความยินยอมแก่ผู้เยาว์ในการดำเนินคดี หรือไม่เข้าดำเนินคดีแทนผู้เยาว์ตามที่ควรศาลจะตั้งผู้แทนเฉพาะคดีให้ตามมาตรา 56 วรรคท้ายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งก็ไม่ได้ เพราะเป็นบทบัญญัติเฉพาะแต่ในกรณีไม่มีผู้แทนโดยชอบธรรม หรือผู้แทนโดยชอบธรรมทำหน้าที่ไม่ได้ แต่ถ้าในกรณีที่บิดาเป็นผู้ปกครองและไม่ยอมให้คำยินยอมเช่นนี้ ผู้เยาว์อาจขอต่อศาลให้รอคดีไว้หรือศาลสั่งรอไว้เองก็ได้ โดยให้ผู้เยาว์ไปหาญาติสนิท ดำเนินการตามมาตรา 1552 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ถอนอำนาจบิดาในส่วนนี้ฐานใช้อำนาจปกครองโดยมิชอบเสียก่อนได้
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 56 ไม่ได้ห้ามไม่ให้ฟ้องผู้เยาว์ เป็นแต่ว่าถ้าถูกฟ้อง ผู้เยาว์จะดำเนินคดีไม่ได้ เว้นแต่จะได้รับความยินยอมของผู้แทนโดยชอบธรรมหรือผู้แทนโดยชอบธรรม เข้าดำเนินคดีแทนเสียทีเดียว ถ้าผู้แทนโดยชอบธรรมไม่ระวังผลประโยชน์ของผู้เยาว์ ก็ไม่ใช่ความผิดของโจทก์ จะบังคับโจทก์ไม่ได้ศาลจึงชอบที่จะคอยระวังผลประโยชน์ของผู้เยาว์ให้ตามสมควร เพื่อรักษาประโยชน์ของผู้เยาว์ ศาลอาจจะแจ้งไปยังพนักงานอัยการเพื่อพิจารณาและดำเนินการตามมาตรา 1552 นี้ก็ได้ เมื่อมีการถอนอำนาจแล้ว ก็เป็นหน้าที่ที่จะใช้มาตรา 56 วรรคท้ายได้ แต่ศาลจะหมายเรียกผู้แทนโดยชอบธรรม ให้เข้ามาแก้คดีแทนผู้เยาว์นั้นหามีกฎหมายสนับสนุนไม่
การบังคับคดีเป็นหน้าที่ของศาลชั้นต้น การที่ขอให้ศาลอุทธรณ์ทุเลาการบังคับไว้ในระหว่างอุทธรณ์ เมื่อศาลอุทธรณ์ไม่ให้ทุเลา ก็หมายความว่าไม่ให้ถือเอาการอุทธรณ์เป็นการทุเลาการบังคับ แม้จะมีการอุทธรณ์ ก็ให้ศาลล่างดำเนินการบังคับคดีต่อไปตามอำนาจที่ศาลชั้นต้นมีอยู่ในเรื่องการบังคับคดี ไม่ใช่ว่าถ้าศาลอุทธรณ์ไม่ให้ทุเลาแล้ว ก็เป็นการบังคับศาลชั้นต้นให้บังคับคดีโดยตัดอำนาจที่ศาลชั้นต้นมีอยู่ในเรื่องบังคับคดีเสียเลย
โจทก์ฟ้องขอให้จำเลยส่งบุตรสาวโจทก์อายุ 18 ปีในระหว่างการพิจารณาของศาลฎีกาบุตรสาวโจทก์บรรลุนิติภาวะแล้ว ศาลฎีกาชอบที่จะจำหน่ายคดีเสีย แม้กรณีไม่ต้องด้วย ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 132 ศาลฎีกาก็ยังจำหน่ายคดีได้
ถ้าหากไม่มีประโยชน์ที่ศาลจะชี้ขาดแล้วเช่นคดีนี้แต่คดีนี้ศาลล่างดำเนินการพิจารณามาสับสน จะเพียงแต่จำหน่ายคดี โดยให้คำพิพากษาศาลอุทธรณ์คงไว้ หาชอบไม่ ทั้งจะให้ศาลล่างพิจารณาใหม่ก็ไม่ได้ เพราะบุตรสาวโจทก์ที่ฟ้องเรียกคืนบรรลุนิติภาวะแล้ว เช่นนี้ศาลฎีกาจึงพิพากษายกคำพิพากษาศาลล่าง และให้จำหน่ายคดีเสีย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1215/2492 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจำหน่ายคดีเนื่องจากผู้เยาว์บรรลุนิติภาวะและไม่มีประโยชน์ในการชี้ขาด ศาลฎีกามีอำนาจจำหน่ายคดีได้แม้ไม่เข้าข่ายมาตรา 172
ในระหว่างพิจารณา ศาลสั่งยกคำร้องในเรื่องข้อตัดฟ้องของจำเลย ๆแถลงว่า ยังติดใจคัดค้านและขอสงวนสิทธิเพื่ออุทธรณ์ แล้วจำเลยได้ยื่นอุทธรณ์คำสั่งของศาล ศาลชั้นต้นสั่งไม่รับอุทธรณ์ จำเลยยื่นคำแถลงว่าพอใจคำสั่งไม่รับอุทธรณ์ของศาลแล้วจึงขอค่าธรรมเนียมคืน ดังนี้ เป็นเรื่องที่จำเลยพอใจในการสั่งของศาล ไม่ใช่พอใจที่จะไม่อุทธรณ์ เมื่อศาลพิพากษาคดีแล้ว จำเลยย่อมอุทธรณ์คัดค้านคำสั่งนั้นได้ เพราะจำเลยได้โต้แย้งคำสั่งไว้ตาม ป.ม.วิ.แพ่ง มาตรา 226(2) แล้ว
เมื่อความปรากฎว่าจำเลยเป็นผู้เยาว์ ตาม ป.ม.วิ.แพ่ง มาตรา 1(12) กรณีก็ต้องตามมาตรา 56 การที่ผู้แทนโดยชอบธรรมจะให้อนุญาตหรือยินยอมแต่ผู้เยาว์ ที่จะดำเนินคดีหรือไม่เป็นอำนาจของผู้แทนโดยชอบธรรม ศาลไม่มีอำนาจบังคับผู้แทนโดยชอบธรรมให้ดำเนินคดีแทนผู้เยาว์
การหมายเรียกตาม ป.ม.วิ.แพ่งมาตรา 57(3) เป็นการหมายเรียกให้เข้ามาเป็นคู่ความ ถ้าผู้แทนโดยชอบธรรมไม่ให้ความยินยอมแก่ผู้เยาว์ในการดำเนินคดี หรือไม่เข้าดำเนินคดีแทนผู้เยาว์ตามที่ควรศาลจะตั้งผู้แทนฉะเพาะคดีให้ตามมาตรา 56 วรรคท้าย ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งก็ไม่ได้ เพราะเป็นบทบัญญัติฉะเพาะแต่ในกรณีไม่มีผู้แทนโดยชอบธรรม หรือผู้แทนโดยชอบธรรมทำหน้าที่ไม่ได้ แต่ถ้าในกรณีที่บิดาเป็นผู้ปกครองและไม่ยอมให้คำยินยอมเช่นนี้ ผู้เยาว์อาจขอต่อศาลให้รอคดีไว้หรือศาลสั่งรอไว้เองก็ได้ โดยให้ผู้เยาว์ไปหาญาติสนิท ดำเนินการตามมาตรา 1552 ป.ม.แพ่ง ฯ ถอนอำนาจบิดาในส่วนนี้ฐานใช้อำนาจปกครองโดยมิชอบเสียก่อนได้
ป.ม.วิ.แพ่งมาตรา 56 ไม่ได้ห้ามไม่ให้ฟ้องผู้เยาว์ เป็นแต่ว่าถ้าถูกฟ้อง ผู้เยาว์จะดำเนินคดีไม่ได้ เว้นแต่จะได้รับความยินยอมของผู้แทนโดยชอบธรรมหรือผู้แทนโดยชอบธรรม เข้าดำเนินคดีแทนเสียทีเดียว ถ้าผู้แทนโดยชอบธรรมไม่ระวังผลประโยชน์ของผู้เยาว์ ก็ไม่ใช่ความผิดของโจทก์ จะบังคับโจทก์ไม่ได้ ศาลจึงชอบที่จะคอยระวังผลประโยชน์ของผู้เยาว์ให้ตามสมควร เพื่อรักษาประโยชน์ของผู้เยาว์ศาลอาจจะแจ้งไปยังพนักงานอัยยการเพื่อพิจารณาและดำเนินการตามมาตรา 1552 นี้ก็ได้เมื่อมีการถอนอำนาจแล้ว ก็เป็นหน้าที่ที่จะใช้มาตรา 56 วรรคท้ายได้ แต่ศาลจะหมายเรียกผู้แทนโดยชอบธรรม ให้เข้ามาแก้คดีแทนผู้เยาว์นั้นหามีกฎหมายสนับสนุนไม่
การบังคับคดีเป็นหน้าที่ของศาลชั้นต้น การที่ขอให้ศาลอุทธรณ์ทุเลาการบังคับไว้ในระหว่างอุทธรณ์ เมื่อศาลอุทธรณ์ไม่ให้ทุเลา ก็หมายความว่าไม่ให้ถือเอาการอุทธรณ์เป็นการทุเลาการบังคับ แม้จะมีการอุทธรณ์ ก็ให้ศาลล่างดำเนินการบังคับคดีต่อไป ตามอำนาจที่ศาลชั้นต้นมีอยู่ในเรื่องการบังคับคดี ไม่ใช่ว่าถ้าศาลอุทธรณ์ไม่ให้ทุเลาแล้ว ก็เป็นการบังคับศาลชั้นต้นให้บังคับคดีโดยตัดอำนาจที่ศาลชั้นต้นมีอยู่ในเรื่องบังคับคดีเสียเลย
โจทก์ฟ้องขอให้จำเลยส่งบุตรสาวโจทก์อายุ 18 ปี ในระหว่างการพิจารณาของศาลฎีกาบุตรสาวโจทก์บรรลุนิติภาวะแล้ว ศาลฎีกาชอบที่จะจำหน่ายคดีเสียแม้กรณีไม่ต้องด้วย ป.ม.วิ.แพ่งมาตรา 132 ศาลฎีกาก็ยังจำหน่ายคดีได้
ถ้าหากไม่มีประโยชน์ที่ศาลจะชี้ขาดแล้วเช่นคดีนี้ แต่คดีนี้ศาลล่างดำเนินการพิจารณามาสับสน จะเพียงแต่จำหน่ายคดี โดยให้คำพิพากษาศาลอุทธรณ์คงไว้ หาชอบไม่ ทั้งจะให้ศาลล่างพิจารณาใหม่ก็ไม่ได้ เพราะบุตรสาวโจทก์ที่ฟ้องเรียกคืนบรรลุนิติภาวะแล้ว เช่นนี้ ศาลฎีกาจึงพิพากษายกคำพิพากษาศาลล่าง และให้จำหน่ายคดีเสีย.
เมื่อความปรากฎว่าจำเลยเป็นผู้เยาว์ ตาม ป.ม.วิ.แพ่ง มาตรา 1(12) กรณีก็ต้องตามมาตรา 56 การที่ผู้แทนโดยชอบธรรมจะให้อนุญาตหรือยินยอมแต่ผู้เยาว์ ที่จะดำเนินคดีหรือไม่เป็นอำนาจของผู้แทนโดยชอบธรรม ศาลไม่มีอำนาจบังคับผู้แทนโดยชอบธรรมให้ดำเนินคดีแทนผู้เยาว์
การหมายเรียกตาม ป.ม.วิ.แพ่งมาตรา 57(3) เป็นการหมายเรียกให้เข้ามาเป็นคู่ความ ถ้าผู้แทนโดยชอบธรรมไม่ให้ความยินยอมแก่ผู้เยาว์ในการดำเนินคดี หรือไม่เข้าดำเนินคดีแทนผู้เยาว์ตามที่ควรศาลจะตั้งผู้แทนฉะเพาะคดีให้ตามมาตรา 56 วรรคท้าย ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งก็ไม่ได้ เพราะเป็นบทบัญญัติฉะเพาะแต่ในกรณีไม่มีผู้แทนโดยชอบธรรม หรือผู้แทนโดยชอบธรรมทำหน้าที่ไม่ได้ แต่ถ้าในกรณีที่บิดาเป็นผู้ปกครองและไม่ยอมให้คำยินยอมเช่นนี้ ผู้เยาว์อาจขอต่อศาลให้รอคดีไว้หรือศาลสั่งรอไว้เองก็ได้ โดยให้ผู้เยาว์ไปหาญาติสนิท ดำเนินการตามมาตรา 1552 ป.ม.แพ่ง ฯ ถอนอำนาจบิดาในส่วนนี้ฐานใช้อำนาจปกครองโดยมิชอบเสียก่อนได้
ป.ม.วิ.แพ่งมาตรา 56 ไม่ได้ห้ามไม่ให้ฟ้องผู้เยาว์ เป็นแต่ว่าถ้าถูกฟ้อง ผู้เยาว์จะดำเนินคดีไม่ได้ เว้นแต่จะได้รับความยินยอมของผู้แทนโดยชอบธรรมหรือผู้แทนโดยชอบธรรม เข้าดำเนินคดีแทนเสียทีเดียว ถ้าผู้แทนโดยชอบธรรมไม่ระวังผลประโยชน์ของผู้เยาว์ ก็ไม่ใช่ความผิดของโจทก์ จะบังคับโจทก์ไม่ได้ ศาลจึงชอบที่จะคอยระวังผลประโยชน์ของผู้เยาว์ให้ตามสมควร เพื่อรักษาประโยชน์ของผู้เยาว์ศาลอาจจะแจ้งไปยังพนักงานอัยยการเพื่อพิจารณาและดำเนินการตามมาตรา 1552 นี้ก็ได้เมื่อมีการถอนอำนาจแล้ว ก็เป็นหน้าที่ที่จะใช้มาตรา 56 วรรคท้ายได้ แต่ศาลจะหมายเรียกผู้แทนโดยชอบธรรม ให้เข้ามาแก้คดีแทนผู้เยาว์นั้นหามีกฎหมายสนับสนุนไม่
การบังคับคดีเป็นหน้าที่ของศาลชั้นต้น การที่ขอให้ศาลอุทธรณ์ทุเลาการบังคับไว้ในระหว่างอุทธรณ์ เมื่อศาลอุทธรณ์ไม่ให้ทุเลา ก็หมายความว่าไม่ให้ถือเอาการอุทธรณ์เป็นการทุเลาการบังคับ แม้จะมีการอุทธรณ์ ก็ให้ศาลล่างดำเนินการบังคับคดีต่อไป ตามอำนาจที่ศาลชั้นต้นมีอยู่ในเรื่องการบังคับคดี ไม่ใช่ว่าถ้าศาลอุทธรณ์ไม่ให้ทุเลาแล้ว ก็เป็นการบังคับศาลชั้นต้นให้บังคับคดีโดยตัดอำนาจที่ศาลชั้นต้นมีอยู่ในเรื่องบังคับคดีเสียเลย
โจทก์ฟ้องขอให้จำเลยส่งบุตรสาวโจทก์อายุ 18 ปี ในระหว่างการพิจารณาของศาลฎีกาบุตรสาวโจทก์บรรลุนิติภาวะแล้ว ศาลฎีกาชอบที่จะจำหน่ายคดีเสียแม้กรณีไม่ต้องด้วย ป.ม.วิ.แพ่งมาตรา 132 ศาลฎีกาก็ยังจำหน่ายคดีได้
ถ้าหากไม่มีประโยชน์ที่ศาลจะชี้ขาดแล้วเช่นคดีนี้ แต่คดีนี้ศาลล่างดำเนินการพิจารณามาสับสน จะเพียงแต่จำหน่ายคดี โดยให้คำพิพากษาศาลอุทธรณ์คงไว้ หาชอบไม่ ทั้งจะให้ศาลล่างพิจารณาใหม่ก็ไม่ได้ เพราะบุตรสาวโจทก์ที่ฟ้องเรียกคืนบรรลุนิติภาวะแล้ว เช่นนี้ ศาลฎีกาจึงพิพากษายกคำพิพากษาศาลล่าง และให้จำหน่ายคดีเสีย.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1241/2491 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ทางจำเป็น-ภาระจำยอม: การฟ้องร้องขอเปิดทางผ่านที่ดิน และประเด็นค่าทดแทน
จำเลยให้การว่า โจทก์เป็นหญิงมีสามี ไม่อาจดำเนินคดีฟ้องร้องโดยลำพังตนเองได้เท่านั้น จำเลยไม่ได้คัดค้านว่า ไม่ได้รับอนุญาตจากสามี หรือหนังสืออนุญาตใช้ไม่ได้เพราะเหตุใด เมื่อศาลพอใจในความสามารถของโจทก์ตามหนังสืออนุญาตของสามีโจทก์ที่ติดมาท้ายฟ้องแล้ว เป็นอันฟังได้ว่า โจทก์มีสิทธิฟ้องคดี ไม่จำเป็นต้องนำสืบอีก
โจทก์บรรยายฟ้องเรื่องทางจำเป็นและมีคำขอเรื่องภาระจำยอมอยู่ท้ายฟ้อง แต่โจทก์มิได้บรรยายในฟ้องว่า เป็นภาระจำยอมเพราะเหตุใด ย่อมต้องถือว่าโจทก์ฟ้องคดีในเรื่องทางจำเป็นอย่างเดียว
แม้เจ้าของที่ดิน ซึ่งตกอยู่ในที่ล้อมจะมีทั้งสิทธิที่จะผ่านที่ดินของผู้อื่นและทำหน้าที่ชดใช้ค่าทดแทนให้แก่เขาก็ดี มาตรา 1349 ไม่ได้บังคับให้บังคับให้ปฏิบัติหน้าที่เสียก่อนแล้วจึงใช้สิทธิได้ ฉะนั้นเมื่อ
จำเลยซึ่งเป็นเจ้าของสิทธิเรียกค่าทดแทนยังไม่เรียกร้องเอาค่าทดแทนขึ้นมาในคดีนี้ คดีก็ไม่มีประเด็นที่จะให้ศาลวินิจฉัยถึง.
( อ้างฎีกา 311/89 )
โจทก์บรรยายฟ้องเรื่องทางจำเป็นและมีคำขอเรื่องภาระจำยอมอยู่ท้ายฟ้อง แต่โจทก์มิได้บรรยายในฟ้องว่า เป็นภาระจำยอมเพราะเหตุใด ย่อมต้องถือว่าโจทก์ฟ้องคดีในเรื่องทางจำเป็นอย่างเดียว
แม้เจ้าของที่ดิน ซึ่งตกอยู่ในที่ล้อมจะมีทั้งสิทธิที่จะผ่านที่ดินของผู้อื่นและทำหน้าที่ชดใช้ค่าทดแทนให้แก่เขาก็ดี มาตรา 1349 ไม่ได้บังคับให้บังคับให้ปฏิบัติหน้าที่เสียก่อนแล้วจึงใช้สิทธิได้ ฉะนั้นเมื่อ
จำเลยซึ่งเป็นเจ้าของสิทธิเรียกค่าทดแทนยังไม่เรียกร้องเอาค่าทดแทนขึ้นมาในคดีนี้ คดีก็ไม่มีประเด็นที่จะให้ศาลวินิจฉัยถึง.
( อ้างฎีกา 311/89 )
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1241/2491
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ทางจำเป็น vs. ภาระจำยอม: ศาลพิจารณาจากข้อเท็จจริงและหนังสืออนุญาตของสามี แม้มีคำขอภาระจำยอมแต่ไม่ได้บรรยายเหตุ
จำเลยให้การว่า โจทก์เป็นหญิงมีสามี ไม่อาจดำเนินคดีฟ้องร้องโดยลำพังตนเองได้เท่านั้น จำเลยไม่ได้คัดค้านว่า ไม่ได้รับอนุญาตจากสามี หรือหนังสืออนุญาตใช้ไม่ได้ เพราะเหตุใด เมื่อศาลพอใจในความสามารถของโจทก์ตามหนังสืออนุญาตของสามีโจทก์ที่ติดมาท้ายฟ้องแล้วเป็นอันฟังได้ว่า โจทก์มีสิทธิฟ้องคดี ไม่จำต้องนำสืบอีก
โจทก์บรรยายฟ้องเรื่องทางจำเป็นและมีคำขอเรื่องภารจำยอมอยู่ท้ายฟ้อง แต่โจทก์มิได้บรรยายในฟ้องว่าเป็นทางภารจำยอมเพราะเหตุใด ย่อมต้องถือว่าโจทก์ฟ้องคดีในเรื่องทางจำเป็นอย่างเดียว
แม้เจ้าของที่ดิน ซึ่งตกอยู่ในที่ล้อมจะมีทั้งสิทธิที่จะผ่านที่ดินของผู้อื่นและหน้าที่ชดใช้ค่าทดแทนให้แก่เขาก็ดี มาตรา 1349 ไม่ได้บังคับให้ปฏิบัติหน้าที่เสียก่อนแล้วจึงใช้สิทธิได้ ฉะนั้นเมื่อจำเลย ซึ่งเป็นเจ้าของสิทธิเรียกค่าทดแทนยังไม่เรียกร้องเอาค่าทดแทนขึ้นมาในคดีนี้ คดีก็ไม่มีประเด็นจะให้ศาลวินิจฉัยถึง (อ้างฎีกา 311/2489)
พิพาทกันเรื่องทางเดินวิวาทซึ่งรับกันว่าที่ดินของโจทก์ตกอยู่ในที่ล้อม ที่ดินของจำเลยได้ล้อมอยู่ แม้โจทก์จะระบุเลขโฉนดผิด ก็ไม่เป็นการเสียหายแก่รูปคดีอย่างไร
โจทก์ฟ้องขอให้เปิดทางจำเป็น ศาลชั้นต้นฟังว่าเป็นทางภารจำยอมศาลอุทธรณ์ฟังว่าเป็นทางภารจำยอมและทางจำเป็นพิพากษาให้เปิดทางจำเป็นคู่ความฎีกาในข้อเท็จจริงได้
โจทก์บรรยายฟ้องเรื่องทางจำเป็นและมีคำขอเรื่องภารจำยอมอยู่ท้ายฟ้อง แต่โจทก์มิได้บรรยายในฟ้องว่าเป็นทางภารจำยอมเพราะเหตุใด ย่อมต้องถือว่าโจทก์ฟ้องคดีในเรื่องทางจำเป็นอย่างเดียว
แม้เจ้าของที่ดิน ซึ่งตกอยู่ในที่ล้อมจะมีทั้งสิทธิที่จะผ่านที่ดินของผู้อื่นและหน้าที่ชดใช้ค่าทดแทนให้แก่เขาก็ดี มาตรา 1349 ไม่ได้บังคับให้ปฏิบัติหน้าที่เสียก่อนแล้วจึงใช้สิทธิได้ ฉะนั้นเมื่อจำเลย ซึ่งเป็นเจ้าของสิทธิเรียกค่าทดแทนยังไม่เรียกร้องเอาค่าทดแทนขึ้นมาในคดีนี้ คดีก็ไม่มีประเด็นจะให้ศาลวินิจฉัยถึง (อ้างฎีกา 311/2489)
พิพาทกันเรื่องทางเดินวิวาทซึ่งรับกันว่าที่ดินของโจทก์ตกอยู่ในที่ล้อม ที่ดินของจำเลยได้ล้อมอยู่ แม้โจทก์จะระบุเลขโฉนดผิด ก็ไม่เป็นการเสียหายแก่รูปคดีอย่างไร
โจทก์ฟ้องขอให้เปิดทางจำเป็น ศาลชั้นต้นฟังว่าเป็นทางภารจำยอมศาลอุทธรณ์ฟังว่าเป็นทางภารจำยอมและทางจำเป็นพิพากษาให้เปิดทางจำเป็นคู่ความฎีกาในข้อเท็จจริงได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 566/2487 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความสามารถในการฟ้องคดีของผู้เยาว์: การพิจารณาคดีที่ไม่ถูกต้องและผลกระทบต่อคำพิพากษา
ไนคดีที่จำเลยเปนผู้เยาว์และดำเนินไปโดยมิได้ปติบัติไห้ถูกต้องไนเรื่องความสามารถนั้น สาลดีกามีอำนาดกำหนดไห้สาลชั้นต้นพิจารนาไหม่โดยให้แยกคดีที่ผู้เยาว์เปนจำเลยออกจากคดีเดิมและไห้ยกเว้นค่าทำเนียบสาลอุธรน์ดีกาสำหรับฝ่ายที่เคยเสียมาแล้ว
หากจะอุธรน์ดีกาต่อไปและงดคดีส่วนตัวจำเลยอื่นไว้รอคดีสำหรับตัวจำเลยที่เปนผู้เยาว์ด้วย
หากจะอุธรน์ดีกาต่อไปและงดคดีส่วนตัวจำเลยอื่นไว้รอคดีสำหรับตัวจำเลยที่เปนผู้เยาว์ด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 566/2487
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลฎีกาในการพิจารณาคดีผู้เยาว์และการงดคดีส่วนตัว
ในคดีที่จำเลยเป็นผู้เยาว์และดำเนินคดีไปโดยมิได้ปฏิบัติให้ถูกต้องในเรื่องความสามารถนั้น ศาลฎีกามีอำนาจกำหนดให้ศาลชั้นต้นพิจารณาใหม่โดยให้แยกคดีที่ผู้เยาว์เป็นจำเลยออกจากคดีเดิมและให้ยกเว้นค่าธรรมเนียมชั้นอุทธรณ์ฎีกาสำหรับฝ่ายที่เคยเสียมาแล้วได้ หากจะอุทธรณ์ฎีกาต่อไปและงดคดีส่วนตัวจำเลยอื่นไว้รอคดีสำหรับตัวจำเลยที่เป็นผู้เยาว์ด้วย