พบผลลัพธ์ทั้งหมด 220 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 979/2501 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยักยอกทรัพย์: การกระทำต้องแสดงการเบียดบังทรัพย์เป็นของตน ไม่ใช่แค่ไม่ยอมไถ่คืน
โจทก์บรรยายฟ้องความผิดฐานยักยอกระบุการกระทำที่เป็นความผิดเฉพาะแต่ตอนที่ว่า "เจ้าทรัพย์ได้ไปขอไถ่แหวนเพชรที่จำนำจำเลยไว้จำเลยไม่ยอมให้ไถ่" เช่นนี้ ไม่เป็นการแสดงว่าจำเลยเบียดบังที่จะเอาทรัพย์(แหวน เพชร) นั้นเป็นของตนโดยทุจริต หากเป็นแต่เพียงแสดงว่าจำเลยผิดสัญญาในทางแพ่งเท่านั้น ส่วนข้อความที่บรรยายในฟ้องตอนต้นที่ว่า "จำเลยมีเจตนาทุจริตเบียดบังเอาแหวนเพชร ซึ่งได้รับจำนำไว้เป็นประโยชน์ของตนเสีย" นั้น เป็นเพียงข้อความที่แสดงเจตนาของจำเลยว่าจะยักยอกทรัพย์เท่านั้น หาใช่การกระทำไม่
เมื่อฟ้องของโจทก์ระบุการกระทำผิดแต่เพียงว่าเจ้าทรัพย์ได้ไปขอไถ่แหวนเพชรที่จำนำจำเลยไว้ จำเลยไม่ยอมให้ไถ่เช่นนี้ โจทก์จะนำสืบถึงการกระทำอย่างอื่นเพื่อแสดงว่าจำเลยเบียดบังเอาแหวนเพชร เป็นของตนก็ย่อมไม่ได้ เพราะเป็นการนอกฟ้องนอกประเด็น
เมื่อฟ้องของโจทก์แม้จะสืบได้ความก็ลงโทษจำเลยไม่ได้ ก็แสดงให้เห็นว่าเป็นฟ้องที่ไม่สมบูรณ์มาแต่ต้น
เมื่อฟ้องของโจทก์ระบุการกระทำผิดแต่เพียงว่าเจ้าทรัพย์ได้ไปขอไถ่แหวนเพชรที่จำนำจำเลยไว้ จำเลยไม่ยอมให้ไถ่เช่นนี้ โจทก์จะนำสืบถึงการกระทำอย่างอื่นเพื่อแสดงว่าจำเลยเบียดบังเอาแหวนเพชร เป็นของตนก็ย่อมไม่ได้ เพราะเป็นการนอกฟ้องนอกประเด็น
เมื่อฟ้องของโจทก์แม้จะสืบได้ความก็ลงโทษจำเลยไม่ได้ ก็แสดงให้เห็นว่าเป็นฟ้องที่ไม่สมบูรณ์มาแต่ต้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 979/2501
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิดยักยอก: การกระทำต้องแสดงการเบียดบังทรัพย์โดยทุจริต ไม่ใช่แค่การไม่ยอมไถ่คืน
โจทก์บรรยายฟ้องความผิดฐานยักยอกระบุการกระทำที่เป็นความผิดเฉพาะแต่ตอนที่ว่า "เจ้าทรัพย์ได้ไปขอไถ่แหวนเพชรที่จำนำจำเลยไว้จำเลยไม่ยอมให้ไถ่" เช่นนี้ ไม่เป็นการแสดงว่าจำเลยเบียดบังที่จะเอาทรัพย์(แหวนเพชร)นั้นเป็นของตนโดยทุจริต หากเป็นแต่เพียงแสดงว่าจำเลยผิดสัญญาในทางแพ่งเท่านั้น ส่วนข้อความที่บรรยายในฟ้องตอนต้นที่ว่า "จำเลยมีเจตนาทุจริตเบียดบังเอาแหวนเพชรซึ่งได้รับจำนำไว้เป็นประโยชน์ของตนเสีย" นั้น เป็นเพียงข้อความที่แสดงเจตนาของจำเลยว่าจะยักยอกทรัพย์เท่านั้น หาใช่การกระทำไม่
เมื่อฟ้องของโจทก์ระบุการกระทำผิดแต่เพียงว่าเจ้าทรัพย์ได้ไปขอไถ่แหวนเพชรที่จำนำจำเลยไว้ จำเลยไม่ยอมให้ไถ่ เช่นนี้ โจทก์จะนำสืบถึงการกระทำอย่างอื่นเพื่อแสดงว่าจำเลยเบียดบังเอาแหวนเพชรเป็นของตนก็ย่อมไม่ได้ เพราะเป็นการนอกฟ้องนอกประเด็น
เมื่อฟ้องของโจทก์แม้จะสืบได้ความก็ลงโทษจำเลยไม่ได้ก็แสดงให้เห็นว่าเป็นฟ้องที่ไม่สมบูรณ์มาแต่ต้น
เมื่อฟ้องของโจทก์ระบุการกระทำผิดแต่เพียงว่าเจ้าทรัพย์ได้ไปขอไถ่แหวนเพชรที่จำนำจำเลยไว้ จำเลยไม่ยอมให้ไถ่ เช่นนี้ โจทก์จะนำสืบถึงการกระทำอย่างอื่นเพื่อแสดงว่าจำเลยเบียดบังเอาแหวนเพชรเป็นของตนก็ย่อมไม่ได้ เพราะเป็นการนอกฟ้องนอกประเด็น
เมื่อฟ้องของโจทก์แม้จะสืบได้ความก็ลงโทษจำเลยไม่ได้ก็แสดงให้เห็นว่าเป็นฟ้องที่ไม่สมบูรณ์มาแต่ต้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1864-1865/2500
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องหมิ่นประมาทต้องระบุพฤติการณ์ประกอบ หากฟ้องไม่ชัดเจน ศาลมีอำนาจยกฟ้อง และห้ามฟ้องซ้ำ
การฟ้องว่าจำเลยหมิ่นประมาทใส่ความโจทก์ โดยโจทก์บรรยายฟ้องกล่าวถ้อยคำที่ไม่เป็นคำใส่ความอยู่ในตัว โจทก์จะต้องบรรยายถึงพฤติการณ์ประกอบมาเพื่อให้เห็นว่าเป็นคำใส่ความอย่างไร และความจริงเป็นอย่างใด เมื่อฟ้องไม่บรรยายเช่นนี้ศาลมีอำนาจยกฟ้องโดยถือว่าฟ้องขาดองค์สำคัญแห่งความผิด
เมื่อศาลสั่งยกฟ้องโดยเหตุผลว่าฟ้องของโจทก์ไม่มีมูลความผิด โจทก์ย่อมมีสิทธิที่จะอุทธรณ์คำพิพากษาไป จะมาฟ้องใหม่ไม่ได้เพราะไม่มีกฎหมายสนับสนุนให้ฟ้องคดีกรรมเดียวได้หลายครั้ง
เมื่อศาลสั่งยกฟ้องโดยเหตุผลว่าฟ้องของโจทก์ไม่มีมูลความผิด โจทก์ย่อมมีสิทธิที่จะอุทธรณ์คำพิพากษาไป จะมาฟ้องใหม่ไม่ได้เพราะไม่มีกฎหมายสนับสนุนให้ฟ้องคดีกรรมเดียวได้หลายครั้ง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1864-1865/2500 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องหมิ่นประมาทต้องบรรยายพฤติการณ์ประกอบคำกล่าวเพื่อให้เห็นว่าเป็นการใส่ความและความจริงเป็นอย่างไร
การฟ้องว่าจำเลยหมิ่นประมาทใส่ความโจทก์ โดยโจทก์บรรยายฟ้องกล่าวถ้อยคำที่ไม่เป็นคำใส่ความอยู่ในตัว โจทก์จะต้องบรรยายถึงพฤติการณ์ประกอบมาเพื่อให้เห็นว่าเป็นคำใส่ความอย่างไร และความจริงเป็นอย่างใด เมื่อฟ้องไม่บรรยายเช่นนี้ ศาลมีอำนาจยกฟ้องโดยถือว่าฟ้องขาดองค์สำคัญแห่งความผิด
เมื่อศาลสั่งยกฟ้องโดยเหตุผลว่าฟ้องของโจทก์ไม่มีมูลความผิดโจทก์ย่อมมีสิทธิที่จะอุทธรณ์คำพิพากษาไป จะมาฟ้องใหม่ไม่ได้เพราะไม่มีกฎหมายสนับสนุนให้ฟ้องคดีกรรมเดียวได้หลายครั้ง.
เมื่อศาลสั่งยกฟ้องโดยเหตุผลว่าฟ้องของโจทก์ไม่มีมูลความผิดโจทก์ย่อมมีสิทธิที่จะอุทธรณ์คำพิพากษาไป จะมาฟ้องใหม่ไม่ได้เพราะไม่มีกฎหมายสนับสนุนให้ฟ้องคดีกรรมเดียวได้หลายครั้ง.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1109/2499
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฐานะเจ้าพนักงาน: การพิจารณาจากกฎหมายข้าราชการ และกฎหมายเฉพาะของมหาวิทยาลัย
ฟ้องขอให้ลงโทษตามกฎหมายอาญา มาตรา 145 จะต้องได้ความว่าจำเลยเป็นเจ้าพนักงาน โดยปกติผู้ที่จะเป็นเจ้าพนักงานจะต้องเป็นข้าราชการตามกฎหมายเว้นแต่จะมีกฎหมาย บัญญัติไว้เป็นพิเศษให้เป็นเจ้าพนักงาน จำเลยเป็นผู้รักษาการในตำแหน่งเลขาธิการมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ตั้งแต่ พ.ศ.2494 ในปัจจุบันเป็นเลขาธิการก็ตามตามตำแหน่งนี้ก็ไม่อยู่ในความหมายของ พระราชบัญญัติข้าราชการพลเรือนมาตรา 23 ส่วนในพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ.2495มาตรา 50 ถึง 54 บัญญัติให้สิทธิต่างๆ แก่เจ้าหน้าที่มหาวิทยาลัยบางประการเหมือนกับข้าราชการพลเรือนสามัญทุกประการก็ตาม แต่ก็มิได้มีบทบัญญัติใดให้ผู้ที่ทำงานในมหาวิทยาลัยเป็นเจ้าพนักงาน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 538/2498 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องอาญาแจ้งความเท็จต้องระบุวันเวลาชัดเจน หากฟ้องไม่ระบุเวลาของความผิด ถือเป็นฟ้องไม่ถูกต้อง
ฟ้องของโจทก์ข้อ 1. ระบุวันเวลาที่โจทก์ไปตัดไม้ ส่วนฟ้องข้อ 2. มีข้อความเพียงว่าเนื่องจากโจทก์ตัดไม้ในข้อ 1. จำเลยไปแจ้งความเท็จแก่เจ้าหน้าที่แต่มิได้ระบุวันเวลาไว้ แม้จะอ่านฟ้องข้อ 1,2 รวมกันก็ไม่ได้ความว่าจำเลยไปแจ้งในวันเวลาที่โจทก์ตัดไม้ จึงถือว่าฟ้องของโจทก์ไม่ปรากฎเวลาตามมาตรา 158 (5) ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย ต้องยกฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 538/2498
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องอาญาแจ้งความเท็จต้องระบุวันเวลาชัดเจน หากฟ้องไม่ระบุเวลาถือเป็นฟ้องไม่ถูกต้อง
ฟ้องของโจทก์ข้อ 1 ระบุวันเวลาที่โจทก์ไปตัดไม้ส่วนฟ้องข้อ 2 มีข้อความเพียงว่าเนื่องจากโจทก์ตัดไม้ในข้อ 1 จำเลยไปแจ้งความเท็จแก่เจ้าหน้าที่แต่มิได้ระบุวันเวลาไว้ แม้จะอ่านฟ้องข้อ 1,2 รวมกันก็ไม่ได้ความว่าจำเลยไปแจ้งในวันเวลาที่โจทก์ตัดไม้ จึงถือว่าฟ้องของโจทก์ไม่ปรากฏเวลาตามมาตรา 158(5) ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ไม่ถูกต้องตามกฎหมายต้องยกฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 39/2498 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การลงโทษตามฐานความผิดที่ถูกต้อง แม้โจทก์อ้างมาตราผิด ศาลมีอำนาจลงโทษตามมาตราที่ถูกต้องได้
ถ้าศาลเห็นว่าข้อเท็จจริงตามฟ้องนั้น โจทก์สืบสม แต่โจทก์อ้างฐานความผิดหรือมาตราผิด ศาลมีอำนาจลงโทษจำเลยตามฐานความผิดที่ถูกต้องได้
ข้อเท็จจริงฟังได้ว่าจำเลยมีไม้แปรรูปไว้ในครอบครองเกินกว่า 0.20 เมตรลูกบาศก์ โดยไม่ได้รับอนุญาต แต่โจทก์ขอให้ลงโทษตาม พ.ร.บ.ป่าไม้ พ.ศ. 2484 ม. 48,71 ไม่ได้อ้าง ม.73 มาดังนี้ เมื่อศาลเห็นว่าโจทก์อ้างมาตราผิดไป ศาลก็มีอำนาจลงโทษจำเลยตาม ม. 73 อันเป็นฐานความผิดที่ถูกได้.
ข้อเท็จจริงฟังได้ว่าจำเลยมีไม้แปรรูปไว้ในครอบครองเกินกว่า 0.20 เมตรลูกบาศก์ โดยไม่ได้รับอนุญาต แต่โจทก์ขอให้ลงโทษตาม พ.ร.บ.ป่าไม้ พ.ศ. 2484 ม. 48,71 ไม่ได้อ้าง ม.73 มาดังนี้ เมื่อศาลเห็นว่าโจทก์อ้างมาตราผิดไป ศาลก็มีอำนาจลงโทษจำเลยตาม ม. 73 อันเป็นฐานความผิดที่ถูกได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 39/2498
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลในการลงโทษตามฐานความผิดที่ถูกต้อง แม้โจทก์ฟ้องผิดมาตรา
ถ้าศาลเห็นว่าข้อเท็จจริงตามฟ้องนั้น โจทก์สืบสมแต่โจทก์อ้างฐานความผิดหรือมาตราผิดศาลมีอำนาจลงโทษจำเลยตามฐานความผิดที่ถูกต้องได้
ข้อเท็จจริงฟังได้ว่าจำเลยมีไม้แปรรูปไว้ในครอบครองเกินกว่า 0.20เมตรลูกบาศก์ โดยไม่ได้รับอนุญาตแต่โจทก์ขอให้ลงโทษตาม พ.ร.บ.ป่าไม้ พ.ศ.2484 มาตรา 48,71 ไม่ได้อ้าง มาตรา 73 มาดังนี้เมื่อศาลเห็นว่าโจทก์อ้างมาตราผิดไป ศาลก็มีอำนาจลงโทษจำเลยตาม มาตรา73 อันเป็นฐานความผิดที่ถูกได้(เนื้อฎีกาที่ 1285/92)
ข้อเท็จจริงฟังได้ว่าจำเลยมีไม้แปรรูปไว้ในครอบครองเกินกว่า 0.20เมตรลูกบาศก์ โดยไม่ได้รับอนุญาตแต่โจทก์ขอให้ลงโทษตาม พ.ร.บ.ป่าไม้ พ.ศ.2484 มาตรา 48,71 ไม่ได้อ้าง มาตรา 73 มาดังนี้เมื่อศาลเห็นว่าโจทก์อ้างมาตราผิดไป ศาลก็มีอำนาจลงโทษจำเลยตาม มาตรา73 อันเป็นฐานความผิดที่ถูกได้(เนื้อฎีกาที่ 1285/92)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1828-1829/2497 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจโจทก์ฟ้องอาญา, การวิวาทต่อเนื่อง, การลดโทษฐานยั่วโทสะ, และการยกฟ้อง
ทำร้ายกันในขณะทำการวิวาทยังไม่ขาดตอน ต้องถือว่าเป็นการกระทำต่อเนื่องกัน กรณีย์วิวาทกัน ผู้ที่วิวาทกันไม่ใช่ผู้เสียหาย จึงเป็นโจทก์ฟ้องไม่ได้
ศาลชั้นต้นพิพากษาจำคุกจำเลยตาม ก.ม.ลักษณะอาญา ม.244,60, ให้จำคุก 10 ปี ลดตามมาตรา 59 เสีย 1 ใน 3 คงจำคุก 6 ปี 8 เดือน เมื่อศาลอุทธรณ์ฟังว่าจำเลยทำผิดโดยถูกยั่วโทษะ จึงแก้ให้ลดโทษตามม.55 กึ่งหนึ่ง เช่นนี้เป็นการแก้มาก คู่ความย่อมฎีกา เช่นนี้เป็นการแก้มาก คู่ความย่อมฎีกาในข้อเท็จจริงได้
คดีที่ศาลพิจารณารวมกัน มีอุทธรณ์ขึ้นมาฉะเพาะคดีเดี่ยว คู่ความในคดีที่ไม่ได้อุทธรณ์จะมาฎีกาในชั้นฎีกาไม่ได้ เพราะคดีนั้นถึ่งที่สุดแล้ว
คดีที่มีการพิจารณารวมกัน ศาลลงโทษบทหนักตามฟ้องคดีหนึ่งมีอุทธรณ์ฎีกาขึ้นมาฉะเพาะคดีทีศาลลงโทษบทหนักนี้ คดีที่ไม่มีอุทธรณ์ฎีกาก็เป็นอันยุติ เมื่อศาลเห็นว่าจำเลยไม่มีความผิดในคดีที่ฎีกาขึ้นมา ศาลก็พิพากษายกฟ้อง ปล่อยจำเลยไป
ศาลชั้นต้นพิพากษาจำคุกจำเลยตาม ก.ม.ลักษณะอาญา ม.244,60, ให้จำคุก 10 ปี ลดตามมาตรา 59 เสีย 1 ใน 3 คงจำคุก 6 ปี 8 เดือน เมื่อศาลอุทธรณ์ฟังว่าจำเลยทำผิดโดยถูกยั่วโทษะ จึงแก้ให้ลดโทษตามม.55 กึ่งหนึ่ง เช่นนี้เป็นการแก้มาก คู่ความย่อมฎีกา เช่นนี้เป็นการแก้มาก คู่ความย่อมฎีกาในข้อเท็จจริงได้
คดีที่ศาลพิจารณารวมกัน มีอุทธรณ์ขึ้นมาฉะเพาะคดีเดี่ยว คู่ความในคดีที่ไม่ได้อุทธรณ์จะมาฎีกาในชั้นฎีกาไม่ได้ เพราะคดีนั้นถึ่งที่สุดแล้ว
คดีที่มีการพิจารณารวมกัน ศาลลงโทษบทหนักตามฟ้องคดีหนึ่งมีอุทธรณ์ฎีกาขึ้นมาฉะเพาะคดีทีศาลลงโทษบทหนักนี้ คดีที่ไม่มีอุทธรณ์ฎีกาก็เป็นอันยุติ เมื่อศาลเห็นว่าจำเลยไม่มีความผิดในคดีที่ฎีกาขึ้นมา ศาลก็พิพากษายกฟ้อง ปล่อยจำเลยไป