พบผลลัพธ์ทั้งหมด 95 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2079/2518
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเครื่องหมายการค้า: แม้เลียนแบบแต่โจทก์มิได้จดทะเบียนภายใน 5 ปี ไม่มีสิทธิขอห้ามหรือเรียกคืนสินค้า
อ. ผู้รับมอบอำนาจจากโจทก์เบิกความว่า บริษัทโจทก์จดทะเบียนเป็นบริษัทจำกัดส่งใบรับรองภาษาอังกฤษของหอการค้าและอุตสาหกรรมแห่งโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น มีเจ้าหน้าที่ลงนามรับรอง พร้อมกับคำแปล นอกจากนี้ใบมอบอำนาจซึ่งมีคำแปลประกอบก็ปรากฏว่า ท. ประธานกรรมการบริษัทโจทก์ เป็นผู้มอบอำนาจและแต่งตั้งให้ อ. ฟ้องคดีนี้ มี ม.ผู้จัดการหอการค้ารับรองลายเซ็นชื่อ กระทรวงการต่างประเทศญี่ปุ่นรับรองลายเซ็นของผู้จัดการหอการค้าฯ และสถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงโตเกียวรับรองลายเซ็นชื่อของเจ้าพนักงานกระทรวงการต่างประเทศอีกชั้นหนึ่ง ดังนี้ เมื่อจำเลยมิได้นำสืบหักล้างว่าเอกสารดังกล่าวไม่ใช่เอกสารแท้จริง และมิได้เถียงว่าคำแปลไม่ถูกต้อง จึงเป็นการเพียงพอที่จะให้ฟังได้ว่าบริษัทโจทก์จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลมอบอำนาจให้ อ. ฟ้องคดีนี้แทนได้ และคดีหาจำเป็นต้องมีพยานบุคคลมาสืบการแปลเอกสารนั้นอีกไม่
เครื่องหมายการค้าของโจทก์พิมพ์เป็นอักษรโรมันไว้ที่หีบห่อ (กล่อง)สำหรับบรรจุสินค้าเครื่องกันสะเทือนว่า KAYABA และ KYB ส่วนของจำเลยใช้คำว่า KAYADA และ KYD ซึ่งต่างกับของโจทก์เพียงอักษร D ส่วนของโจทก์เป็นอักษร B เท่านั้น นอกนั้นเหมือนกันหมดทุกตัวอักษร ทั้งสำเนียงการอ่านก็คล้ายกัน ลักษณะหีบห่อ(กล่อง) สีสรร ตลอดจนการวางรูปของตัวอักษรก็เหมือนหรือคล้ายกับของโจทก์ที่สุด และยังใช้กับสินค้าเครื่องกันสะเทือนเหมือนกัน ดังนี้นับได้ว่าอาจทำให้สาธารณชนหลงผิดว่าเป็นเครื่องหมายการค้าของโจทก์เครื่องหมายการค้าของจำเลยจึงมีลักษณะเหมือนหรือคล้ายกับเครื่องหมายการค้าของโจทก์ เมื่อโจทก์เป็นเจ้าของเครื่องหมายการค้าของโจทก์มาก่อนจำเลยใช้เครื่องหมายการค้าของจำเลย การกระทำของจำเลยจึงเป็นการเลียนเครื่องหมายการค้าของโจทก์ และเป็นการล่วงสิทธิเครื่องหมายการค้าของโจทก์ โจทก์จึงมีสิทธิที่จะจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าของโจทก์ดีกว่าจำเลย และชอบที่จะฟ้องร้องเกี่ยวกับกรณีพิพาทระหว่างโจทก์จำเลยว่าฝ่ายใดสมควรที่จะได้รับการจดทะเบียนดีกว่ากันนั้นได้
ในกรณีดังกล่าว แม้โจทก์จะมีสิทธิจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าของโจทก์ดีกว่าจำเลย และจำเลยไม่มีสิทธิจะจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าของจำเลย เพราะเป็นการเลียนแบบล่วงสิทธิเครื่องหมายการค้าของโจทก์ก็ตาม แต่เมื่อปรากฏว่าโจทก์ยังมิได้จดทะเบียนเครื่องหมายการค้าของโจทก์ และนับแต่ได้ใช้พระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ.2474 มาจนถึงวันฟ้องก็เป็นเวลาเกินกว่า 5 ปีแล้ว ดังนี้ โจทก์จึงนำคดีสู่ศาลเพื่อป้องกันหรือเรียกค่าเสียหายในการล่วงสิทธิเครื่องหมายการค้าของโจทก์ไม่ได้ เพราะต้องห้ามตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ.2474 มาตรา 29 วรรคแรกและกรณีไม่ต้องด้วยวรรคสองเพราะไม่มีประเด็นเรื่องการลวงขาย โจทก์จึงหมดสิทธิเรียกค่าเสียหายในการล่วงสิทธิเครื่องหมายการค้าจากจำเลย และตราบใดที่โจทก์ยังไม่ได้จดทะเบียนเครื่องหมายการค้าของโจทก์ให้บริบูรณ์ตามกฎหมายเสียก่อนโจทก์ย่อมไม่มีสิทธิที่จะร้องขอให้ศาลสั่งห้ามมิให้จำเลยผลิตสินค้าที่ใช้เครื่องหมายการค้าของจำเลย และไม่มีสิทธิที่จะขอให้ศาลบังคับให้จำเลยเรียกเก็บคืนซึ่งสินค้าที่มีเครื่องหมายการค้าของจำเลยจากตลาดการค้าได้
เครื่องหมายการค้าของโจทก์พิมพ์เป็นอักษรโรมันไว้ที่หีบห่อ (กล่อง)สำหรับบรรจุสินค้าเครื่องกันสะเทือนว่า KAYABA และ KYB ส่วนของจำเลยใช้คำว่า KAYADA และ KYD ซึ่งต่างกับของโจทก์เพียงอักษร D ส่วนของโจทก์เป็นอักษร B เท่านั้น นอกนั้นเหมือนกันหมดทุกตัวอักษร ทั้งสำเนียงการอ่านก็คล้ายกัน ลักษณะหีบห่อ(กล่อง) สีสรร ตลอดจนการวางรูปของตัวอักษรก็เหมือนหรือคล้ายกับของโจทก์ที่สุด และยังใช้กับสินค้าเครื่องกันสะเทือนเหมือนกัน ดังนี้นับได้ว่าอาจทำให้สาธารณชนหลงผิดว่าเป็นเครื่องหมายการค้าของโจทก์เครื่องหมายการค้าของจำเลยจึงมีลักษณะเหมือนหรือคล้ายกับเครื่องหมายการค้าของโจทก์ เมื่อโจทก์เป็นเจ้าของเครื่องหมายการค้าของโจทก์มาก่อนจำเลยใช้เครื่องหมายการค้าของจำเลย การกระทำของจำเลยจึงเป็นการเลียนเครื่องหมายการค้าของโจทก์ และเป็นการล่วงสิทธิเครื่องหมายการค้าของโจทก์ โจทก์จึงมีสิทธิที่จะจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าของโจทก์ดีกว่าจำเลย และชอบที่จะฟ้องร้องเกี่ยวกับกรณีพิพาทระหว่างโจทก์จำเลยว่าฝ่ายใดสมควรที่จะได้รับการจดทะเบียนดีกว่ากันนั้นได้
ในกรณีดังกล่าว แม้โจทก์จะมีสิทธิจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าของโจทก์ดีกว่าจำเลย และจำเลยไม่มีสิทธิจะจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าของจำเลย เพราะเป็นการเลียนแบบล่วงสิทธิเครื่องหมายการค้าของโจทก์ก็ตาม แต่เมื่อปรากฏว่าโจทก์ยังมิได้จดทะเบียนเครื่องหมายการค้าของโจทก์ และนับแต่ได้ใช้พระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ.2474 มาจนถึงวันฟ้องก็เป็นเวลาเกินกว่า 5 ปีแล้ว ดังนี้ โจทก์จึงนำคดีสู่ศาลเพื่อป้องกันหรือเรียกค่าเสียหายในการล่วงสิทธิเครื่องหมายการค้าของโจทก์ไม่ได้ เพราะต้องห้ามตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ.2474 มาตรา 29 วรรคแรกและกรณีไม่ต้องด้วยวรรคสองเพราะไม่มีประเด็นเรื่องการลวงขาย โจทก์จึงหมดสิทธิเรียกค่าเสียหายในการล่วงสิทธิเครื่องหมายการค้าจากจำเลย และตราบใดที่โจทก์ยังไม่ได้จดทะเบียนเครื่องหมายการค้าของโจทก์ให้บริบูรณ์ตามกฎหมายเสียก่อนโจทก์ย่อมไม่มีสิทธิที่จะร้องขอให้ศาลสั่งห้ามมิให้จำเลยผลิตสินค้าที่ใช้เครื่องหมายการค้าของจำเลย และไม่มีสิทธิที่จะขอให้ศาลบังคับให้จำเลยเรียกเก็บคืนซึ่งสินค้าที่มีเครื่องหมายการค้าของจำเลยจากตลาดการค้าได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2079/2518 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลียนแบบเครื่องหมายการค้า การจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า และสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายจากการละเมิด
อ.ผู้รับมอบอำนาจจากโจทก์เบิกความว่า บริษัทโจทก์จดทะเบียนเป็นบริษัทจำกัดส่งใบรับรองภาษาอังกฤษของหอการค้าและอุตสาหกรรมแห่งโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น มีเจ้าหน้าที่ลงนามรับรอง พร้อมกับคำแปล นอกจากนี้ใบมอบอำนาจซึ่งมีคำแปรประกอบก็ปรากฏว่า ท. ประธานกรรมการบริษัทโจทก์เป็นผู้มอบอำนาจและแต่งตั้งให้ อ. ฟ้องคดีนี้ มี ม. ผู้จัดการหอการค้ารับรองลายเซ็นชื่อ กระทรวงการต่างประเทศญี่ปุ่นรับรองลายเซ็นของผู้จัดการหอการค้าฯ และสถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงโตเกียวรับรองลายเซ็นชื่อของเจ้าพนักงานกระทรวงการต่างประเทศอีกชั้นหนึ่ง ดังนี้ เมื่อจำเลยมิได้นำสืบหักล้างว่าเอกสารดังกล่าวไม่ใช่เอกสารแท้จริง และมิได้เถียงว่าคำแปลไม่ถูกต้อง จึงเป็นการเพียงพอที่จะให้ฟังได้ว่าบริษัทโจทก์จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลมอบอำนาจให้ อ.ฟ้องคดีนี้แทนได้ และคดีหาจำเป็นต้องมีพยานบุคคลมาสืบการแปลเอกสารนั้นอีกไม่
เครื่องหมายการค้าของโจทก์พิมพ์เป็นอักษรโรมันไว้ที่หีบห่อ(กล่อง) สำหรับบรรจุสินค้าเครื่องกันสะเทือนว่า KAYABA และ KYB ส่วนของจำเลยใช้คำว่า KAYADA และ KYD ซึ่งต่างกับของโจทก์เพียงอักษร D ส่วนของโจทก์เป็นอักษร B เท่านั้น นอกนั้นเหมือนกันหมดทุกตัวอักษร ทั้งสำเนียงการอ่านก็คล้ายกัน ลักษณะหีบห่อ(กล่อง) สีสรร ตลอดจนการวางรูปของตัวอักษรก็เหมือนกันหรือคล้ายกับของโจทก์ที่สุด และยังใช้สินค้าเครื่องกันสะเทือนเหมือนกัน ดังนี้ นับได้ว่าอาจทำให้สาธารณชนหลงผิดว่าเป็นเครื่องหมายการค้าของโจทก์ เครื่องหมายการค้าของจำเลยจึงมีลักษณะเหมือนหรือคล้ายกับเครื่องหมายการค้าของโจทก์ เมื่อโจทก์เป็นเจ้าของเครื่องหมายการค้าของโจทก์มาก่อนจำเลยใช้เครื่องหมายการค้าของจำเลย การกระทำของจำเลยจึงเป็นการเลียนเครื่องหมายการค้าของโจทก์ และเป็นการล่วงสิทธิเครื่องหมายการค้าของโจทก์ โจทก์จึงมีสิทธิที่จะจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าของโจทก์ดีกว่าจำเลย และชอบที่จะฟ้องร้องเกี่ยวกับกรณีพิพาทระหว่างโจทก์กับจำเลยว่าฝ่ายใดสมควรที่จะได้รับการจดทะเบียนดีกว่ากันนั้นได้
ในกรณีดังกล่าว แม้โจทก์จะมีสิทธิจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าของโจทก์ดีกว่าจำเลย และจำเลยไม่มีสิทธิจะจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าของจำเลย เพราะเป็นการเลียนแบบล่วงสิทธิเครื่องหมายการค้าของโจทก์ก็ตาม แต่เมื่อปรากฏว่าโจทก์ยังมิได้จดทะเบียนเครื่องหมายการค้าของโจทก์ และนับแต่ได้ใช้พระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ. 2474 มาจนถึงวันฟ้องก็เป็นเวลาเกินกว่า 5 ปีแล้ว ดังนี้ โจทก์จึงนำคดีสู่ศาลเพื่อป้องกันหรือเรียกค่าเสียหายในการล่วงสิทธิเครื่องหมายการค้าของโจทก์ไม่ได้ เพราะต้องห้ามตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ. 2474 มาตรา 29 วรรคแรก และกรณีไม่ต้องด้วยวรรค 2 เพราะไม่มีประเด็นเรื่องการลวงขาย โจทก์จึงหมดสิทธิเรียกค่าเสียหายให้การล่วงสิทธิเครื่องหมายการค้าจากจำเลย และตราบใดที่โจทก์ยังไม่ได้จดทะเบียนเครื่องหมายการค้าของโจทก์ให้บริบูรณ์ตามกฎหมายเสียก่อน โจทก์ย่อมไม่สิทธิที่จะร้องขอให้ศาลสั่งห้ามมิให้จำเลยผลิตสินค้าที่ใช้เครื่องหมายการค้าของจำเลย และไม่มีสิทธิที่จะขอให้ศาลบังคับให้จำเลยเรียกเก็บคืนซึ่งสินค้าที่มีเครื่องหมายการค้าของจำเลยจากตลาดการค้าได้
เครื่องหมายการค้าของโจทก์พิมพ์เป็นอักษรโรมันไว้ที่หีบห่อ(กล่อง) สำหรับบรรจุสินค้าเครื่องกันสะเทือนว่า KAYABA และ KYB ส่วนของจำเลยใช้คำว่า KAYADA และ KYD ซึ่งต่างกับของโจทก์เพียงอักษร D ส่วนของโจทก์เป็นอักษร B เท่านั้น นอกนั้นเหมือนกันหมดทุกตัวอักษร ทั้งสำเนียงการอ่านก็คล้ายกัน ลักษณะหีบห่อ(กล่อง) สีสรร ตลอดจนการวางรูปของตัวอักษรก็เหมือนกันหรือคล้ายกับของโจทก์ที่สุด และยังใช้สินค้าเครื่องกันสะเทือนเหมือนกัน ดังนี้ นับได้ว่าอาจทำให้สาธารณชนหลงผิดว่าเป็นเครื่องหมายการค้าของโจทก์ เครื่องหมายการค้าของจำเลยจึงมีลักษณะเหมือนหรือคล้ายกับเครื่องหมายการค้าของโจทก์ เมื่อโจทก์เป็นเจ้าของเครื่องหมายการค้าของโจทก์มาก่อนจำเลยใช้เครื่องหมายการค้าของจำเลย การกระทำของจำเลยจึงเป็นการเลียนเครื่องหมายการค้าของโจทก์ และเป็นการล่วงสิทธิเครื่องหมายการค้าของโจทก์ โจทก์จึงมีสิทธิที่จะจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าของโจทก์ดีกว่าจำเลย และชอบที่จะฟ้องร้องเกี่ยวกับกรณีพิพาทระหว่างโจทก์กับจำเลยว่าฝ่ายใดสมควรที่จะได้รับการจดทะเบียนดีกว่ากันนั้นได้
ในกรณีดังกล่าว แม้โจทก์จะมีสิทธิจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าของโจทก์ดีกว่าจำเลย และจำเลยไม่มีสิทธิจะจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าของจำเลย เพราะเป็นการเลียนแบบล่วงสิทธิเครื่องหมายการค้าของโจทก์ก็ตาม แต่เมื่อปรากฏว่าโจทก์ยังมิได้จดทะเบียนเครื่องหมายการค้าของโจทก์ และนับแต่ได้ใช้พระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ. 2474 มาจนถึงวันฟ้องก็เป็นเวลาเกินกว่า 5 ปีแล้ว ดังนี้ โจทก์จึงนำคดีสู่ศาลเพื่อป้องกันหรือเรียกค่าเสียหายในการล่วงสิทธิเครื่องหมายการค้าของโจทก์ไม่ได้ เพราะต้องห้ามตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ. 2474 มาตรา 29 วรรคแรก และกรณีไม่ต้องด้วยวรรค 2 เพราะไม่มีประเด็นเรื่องการลวงขาย โจทก์จึงหมดสิทธิเรียกค่าเสียหายให้การล่วงสิทธิเครื่องหมายการค้าจากจำเลย และตราบใดที่โจทก์ยังไม่ได้จดทะเบียนเครื่องหมายการค้าของโจทก์ให้บริบูรณ์ตามกฎหมายเสียก่อน โจทก์ย่อมไม่สิทธิที่จะร้องขอให้ศาลสั่งห้ามมิให้จำเลยผลิตสินค้าที่ใช้เครื่องหมายการค้าของจำเลย และไม่มีสิทธิที่จะขอให้ศาลบังคับให้จำเลยเรียกเก็บคืนซึ่งสินค้าที่มีเครื่องหมายการค้าของจำเลยจากตลาดการค้าได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1579/2518
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในเครื่องหมายการค้า: ผู้ใช้ก่อนย่อมมีสิทธิมากกว่า แม้ไม่ได้จดทะเบียน แต่ไม่มีสิทธิเรียกค่าเสียหายได้
โจทก์ผลิตเครื่องอุปกรณ์ไฟฟ้าใช้เครื่องหมายการค้าว่า "VETO"(วีโต้)ส่งออกจำหน่ายทั่วโลก และส่งมาจำหน่ายในประเทศไทยอย่างน้อยตั้งแต่ พ.ศ.2502 เมื่อ พ.ศ.2507 จำเลยได้ยื่นคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าคำว่า "VETO"สำหรับจำพวกสินค้า 50 ทั้งจำพวกกองทะเบียนเครื่องหมายการค้ารับจดทะเบียนให้แล้ว แต่เมื่อ 2-3 ปี มานี้ จำเลยเคยสั่งซื้ออุปกรณ์ไฟฟ้าซึ่งใช้เครื่องหมายการค้าวีโต้ของโจทก์ไปจำหน่าย หาได้เคยผลิตอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้เครื่องหมายวีโต้ขึ้นจำหน่ายไม่ ที่จำเลยขอจดทะเบียนไว้นั้นก็เพื่อจะใช้กับสินค้าเครื่องอุปกรณ์ไฟฟ้าที่จำเลยจะผลิตขึ้นในโอกาสต่อไป โจทก์มีสิทธิในเครื่องหมายการค้าคำว่า "VETO" ดีกว่าจำเลย จึงมีสิทธิฟ้องขอให้ศาลมีคำสั่งเพิกถอนเครื่องหมายการค้าคำว่า"VETO" ซึ่งจำเลยจดทะเบียนไว้แล้วและห้ามจำเลยใช้เครื่องหมายการค้าดังกล่าวได้ตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้ามาตรา 41(อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 355/2504) แต่โจทก์มิได้จดทะเบียนเครื่องหมายการค้าไว้ จึงไม่มีสิทธิฟ้องบังคับให้จำเลยใช้ค่าเสียหายที่ล่วงละเมิดสิทธิเครื่องหมายการค้าของโจทก์ตามมาตรา 29 วรรคแรก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 433/2518
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตสิทธิเครื่องหมายการค้า: การจดทะเบียนที่ไม่ผูกขาด + ความแตกต่างของเครื่องหมาย
เครื่องหมายการค้าของโจทก์ที่จดทะเบียนไว้เป็นอักษรโรมันคำว่า TASTE อยู่เหนือรูปปลา ภายในรูปอาร์ม การจดทะเบียนโจทก์ไม่ถือเป็นสิทธิแต่ผู้เดียวที่จะใช้อักษรโรมันคำว่า TASTE ทั้งรวมหรือแยกกันแต่ลำพังจากรูปปลา อาร์มซึ่งการจดทะเบียนได้ระบุไว้ด้วยว่า ไม่ให้สิทธิแก่ผู้ขอจดทะเบียนแต่ผู้เดียวที่จะใช้อักษรโรมันคำว่า TASTEทั้งรวมหรือแยกกันตามลำพังจากรูปปลาอาร์ม ฉะนั้น โจทก์จึงมีสิทธิเฉพาะเครื่องหมายการค้าตามที่จดทะเบียนไว้เท่านั้นกล่าวคือ ต้องเป็นอักษรโรมันคำว่า TASTE อยู่เหนือรูปปลาภายในรูปอาร์มเครื่องหมายการค้าที่มีแต่เพียงอักษรโรมันอย่างเดียวใช้คำว่า TASTE หรือการใช้อักษรไทยคำว่า เทสท์ จึงไม่เป็นของโจทก์ที่จะมีสิทธิแต่ผู้เดียวตามความหมายของมาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ.2474 โจทก์จึงนำคดีสู่ศาลเพื่อป้องกันหรือเรียกค่าเสียหายในการล่วงสิทธิเครื่องหมายการค้าที่ ไม่ได้จดทะเบียนนั้นไม่ได้ ตามมาตรา 29
ความตอนท้ายของมาตรา 19 แก้ไขโดยพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2504 มาตรา 6 วรรคแรกที่ว่าคำแสดงปฏิเสธอันลงไว้ในทะเบียนนั้นไม่กระทบสิทธิแห่งเจ้าของโดยประการอันมิได้เป็นปัญหาเนื่องแต่การจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าที่เจ้าของให้คำแสดงปฏิเสธนั้นหมายถึงสิทธิประการอื่นเช่นสิทธิฟ้องร้องคดีซึ่งจำเลยเอาสินค้าของจำเลยไปลวงขายว่าเป็นสินค้าของโจทก์ ดังมีบัญญัติไว้ในมาตรา 29 วรรคสอง เป็นต้น แต่โจทก์มิได้ฟ้องโดยอาศัยสิทธิประการอื่น
เครื่องหมายการค้าโจทก์ใช้ตัวเอนว่า 'TASTE' และยังมีอักษรตัวตรงในบรรทัดล่างว่า 'MODERNFROMU.S.A.' ส่วนเครื่องหมายการค้าจำเลยแม้จะเป็นอักษรโรมันคำว่า TASTE แต่ก็เป็นอักษรตัวตรงและบรรทัดต่อไปใช้อักษรไทยตัวใหญ่กว่าว่า 'เทสท์' โดยมีอักษรไทยบรรทัดถัดไปอีกว่า'23 บางลำภู' อันเป็นการแตกต่างกันเห็นได้ชัดแม้แต่ชื่อร้านของจำเลยก็ใช้เป็นภาษาไทยว่า เทสท์ จึงถือไม่ได้ว่าจำเลยได้กระทำละเมิดต่อสิทธิของโจทก์แต่ประการใด
ความตอนท้ายของมาตรา 19 แก้ไขโดยพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2504 มาตรา 6 วรรคแรกที่ว่าคำแสดงปฏิเสธอันลงไว้ในทะเบียนนั้นไม่กระทบสิทธิแห่งเจ้าของโดยประการอันมิได้เป็นปัญหาเนื่องแต่การจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าที่เจ้าของให้คำแสดงปฏิเสธนั้นหมายถึงสิทธิประการอื่นเช่นสิทธิฟ้องร้องคดีซึ่งจำเลยเอาสินค้าของจำเลยไปลวงขายว่าเป็นสินค้าของโจทก์ ดังมีบัญญัติไว้ในมาตรา 29 วรรคสอง เป็นต้น แต่โจทก์มิได้ฟ้องโดยอาศัยสิทธิประการอื่น
เครื่องหมายการค้าโจทก์ใช้ตัวเอนว่า 'TASTE' และยังมีอักษรตัวตรงในบรรทัดล่างว่า 'MODERNFROMU.S.A.' ส่วนเครื่องหมายการค้าจำเลยแม้จะเป็นอักษรโรมันคำว่า TASTE แต่ก็เป็นอักษรตัวตรงและบรรทัดต่อไปใช้อักษรไทยตัวใหญ่กว่าว่า 'เทสท์' โดยมีอักษรไทยบรรทัดถัดไปอีกว่า'23 บางลำภู' อันเป็นการแตกต่างกันเห็นได้ชัดแม้แต่ชื่อร้านของจำเลยก็ใช้เป็นภาษาไทยว่า เทสท์ จึงถือไม่ได้ว่าจำเลยได้กระทำละเมิดต่อสิทธิของโจทก์แต่ประการใด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 433/2518 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตสิทธิเครื่องหมายการค้า: การจดทะเบียนที่มีข้อจำกัดและผลต่อการฟ้องละเมิด
เครื่องหมายการค้าของโจทก์ที่จดทะเบียนไว้เป็นอักษรโรมัน คำว่าTASTE อยู่เหนือรูปปลา ภายในรูปอาร์ม การจดทะเบียนโจทก์ไม่ถือเป็นสิทธิแต่ผู้เดียวที่จะใช้อักษรโรมันคำว่า TASTE ทั้งรวมหรือแยกกันแต่ลำพังจากรูปปลา อาร์ม ซึ่งการจดทะเบียนได้ระบุไว้ด้วยว่าไม่ให้สิทธิแก่ผู้ขอจดทะเบียนแต่ผู้เดียวที่จะใช้อักษรโรมันคำว่า TASTE ทั้งรวมหรือแยกกันตามลำพังจากรูปปลา อาร์ม ฉะนั้นโจทก์จึงมีสิทธิเฉพาะเครื่องหมายการค้าตามที่จดทะเบียนไว้เท่านั้น กล่าวคือ ต้องเป็นอักษรโรมันคำว่า TASTE อยู่เหนือรูปปลาภายในรูปอาร์ม เครื่องหมายการค้าที่มีแต่เพียงอักษรโรมันอย่างเดียวใช้คำว่า TASTE หรือการใช้อักษรไทยคำว่า เทสท์ จึงไม่เป็นของโจทก์ที่จะมีสิทธิแต่ผู้เดียวตามความหมายของมาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ. 2474 โจทก์จึงนำคดีสู่ศาลเพื่อป้องกันหรือเรียกค่าเสียหายในการล่วงสิทธิเครื่องหมายการค้าที่ไม่ได้จดทะเบียนนั้นไม่ได้ ตามมาตรา 29
ความตอนท้ายของมาตรา 19 แก้ไขโดยพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2504 มาตรา 6 วรรคแรกที่ว่าคำแสดงปฏิเสธอันลงไว้ในทะเบียนนั้นไม่กระทบสิทธิแห่งเจ้าของโดยประการอันมิได้เป็นปัญหา เนื่องแต่การจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าที่เจ้าของให้คำแสดงปฏิเสธนั้น หมายถึงสิทธิประการอื่นเช่นสิทธิฟ้องร้องคดีซึ่งจำเลยเอาสินค้าของจำเลยไปลวงขายว่าเป็นสินค้าของโจทก์ ดังมีบัญญัติไว้ในมาตรา 29 วรรคสองเป็นต้น แต่โจทก์มิได้ฟ้องโดยอาศัยสิทธิประการอื่น
เครื่องหมายการค้าโจทก์ใช้ตัวเอนว่า "TASTE" และยังมีอักษรตัวตรงในบรรทัดล่างว่า "Modern from U.S.A." ส่วนเครื่องหมายการค้าจำเลยแม้จะเป็นอักษรโรมันคำว่า TASTE แต่ก็เป็นอักษรตัวตรงและบรรทัดต่อไปใช้อักษรไทยตัวใหญ่กว่าว่า "เทสท์" โดยมีอักษรไทยบรรทัดถัดไปอีกว่า "23 บางลำภู" อันเป็นการแตกต่างกันเห็นได้ชัดแม้แต่ชื่อร้านของจำเลยก็ใช้เป็นภาษาไทยว่า เทสท์ จึงถือไม่ได้ว่าจำเลยได้กระทำละเมิดต่อสิทธิของโจทก์แต่ประการใด
ความตอนท้ายของมาตรา 19 แก้ไขโดยพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2504 มาตรา 6 วรรคแรกที่ว่าคำแสดงปฏิเสธอันลงไว้ในทะเบียนนั้นไม่กระทบสิทธิแห่งเจ้าของโดยประการอันมิได้เป็นปัญหา เนื่องแต่การจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าที่เจ้าของให้คำแสดงปฏิเสธนั้น หมายถึงสิทธิประการอื่นเช่นสิทธิฟ้องร้องคดีซึ่งจำเลยเอาสินค้าของจำเลยไปลวงขายว่าเป็นสินค้าของโจทก์ ดังมีบัญญัติไว้ในมาตรา 29 วรรคสองเป็นต้น แต่โจทก์มิได้ฟ้องโดยอาศัยสิทธิประการอื่น
เครื่องหมายการค้าโจทก์ใช้ตัวเอนว่า "TASTE" และยังมีอักษรตัวตรงในบรรทัดล่างว่า "Modern from U.S.A." ส่วนเครื่องหมายการค้าจำเลยแม้จะเป็นอักษรโรมันคำว่า TASTE แต่ก็เป็นอักษรตัวตรงและบรรทัดต่อไปใช้อักษรไทยตัวใหญ่กว่าว่า "เทสท์" โดยมีอักษรไทยบรรทัดถัดไปอีกว่า "23 บางลำภู" อันเป็นการแตกต่างกันเห็นได้ชัดแม้แต่ชื่อร้านของจำเลยก็ใช้เป็นภาษาไทยว่า เทสท์ จึงถือไม่ได้ว่าจำเลยได้กระทำละเมิดต่อสิทธิของโจทก์แต่ประการใด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2844/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เครื่องหมายการค้าเหมือนหรือคล้ายกันทำให้ประชาชนหลงผิด แม้ต่างจำพวกสินค้า ผู้ใช้สิทธิไม่สุจริตต้องรับผิด
โจทก์จดทะเบียนเครื่องหมายการค้าคำว่า TELLME อยู่ภายในวงรีสำหรับสินค้าจำพวก 48 ทั้งจำพวก ได้แก่ เครื่องหอม เครื่องสำอางโดยโจทก์ได้คิดประดิษฐ์ขึ้นใช้กับสินค้าของโจทก์ไว้ก่อน ต่อมาจำเลยจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าคำว่า TELLME สำหรับสินค้าจำพวก 38 ทั้งจำพวก ได้แก่ เครื่องนุ่งห่มและแต่งกายเครื่องหมายการค้าของโจทก์จำเลยเป็นคำประดิษฐ์ใช้ภาษาอังกฤษซึ่งเป็นอักษรโรมันคำเดียวกัน ต่างกันแต่เพียงว่าของโจทก์เป็นตัวเขียน ของจำเลยเป็นตัวพิมพ์ แม้ของโจทก์จะอยู่ในวงกลมรูปรีของจำเลยไม่มีเส้นกรอบ ก็หาใช่เป็นข้อแตกต่างที่เห็นเด่นชัดอย่างใด ไม่สำเนียงที่เรียกขานไม่ว่าจะเป็นตัวพิมพ์หรือตัวเขียนก็อ่านว่า 'เทลมี'อย่างเดียวกัน และปรากฏว่าสินค้าเครื่องหมายการค้าของโจทก์เป็นที่แพร่หลาย โจทก์ได้แพร่ภาพโฆษณาทางโทรทัศน์ ภาพยนตร์ เอกสารสิ่งพิมพ์และกระจายเสียงทางวิทยุซึ่งจำเลยมิได้ทำเลย ดังนี้ถือว่าเครื่องหมายการค้าทั้งสองมีลักษณะเหมือนหรือคล้ายกันอันอาจทำให้ประชาชนหลงผิด แม้จำเลยจะจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าของจำเลยในสินค้าต่างจำพวกกับสินค้าของโจทก์ ซึ่งใช้เครื่องหมายการค้านั้นอยู่ก่อนแล้ว ก็ย่อมทำให้โจทก์เสียหายเพราะผู้ซื้อหรือใช้สินค้าอาจหลงผิดว่าสินค้าของจำเลยเป็นสินค้าของโจทก์ผลิตขึ้น การกระทำของจำเลยจึงเป็นการใช้สิทธิไม่สุจริต โจทก์มีสิทธิห้ามจำเลยใช้เครื่องหมายการค้าดังกล่าวต่อไปได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2844/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เครื่องหมายการค้าคล้ายกันทำให้ประชาชนหลงผิด แม้ต่างจำพวกสินค้า ถือเป็นการใช้สิทธิไม่สุจริต
โจทก์จดทะเบียนเครื่องหมายการค้าคำว่า TELLME อยู่ภายในวงรีสำหรับสินค้าจำพวก 48 ทั้งจำพวก ได้แก่ เครื่องหอม เครื่องสำอาง โดยโจทก์ได้คิดประดิษฐ์ขึ้นใช้กับสินค้าของโจทก์ไว้ก่อน ต่อมาจำเลยจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าคำว่า TELLME สำหรับสินค้าจำพวก 38 ทั้งจำพวก ได้แก่ เครื่องนุ่งห่มและแต่งกายเครื่องหมายการค้าของโจทก์จำเลยเป็นคำประดิษฐ์ใช้ภาษาอังกฤษซึ่งเป็นอักษรโรมันคำเดียวกัน ต่างกันแต่เพียงว่าของโจทก์เป็นตัวเขียน ของจำเลยเป็นตัวพิมพ์ แม้ของโจทก์จะอยู่ในวงกลมรูปรีของจำเลยไม่มีเส้นกรอบ ก็หาใช่เป็นข้อแตกต่างที่เห็นเด่นชัดอย่างใดไม่สำเนียงที่เรียกขานไม่ว่าจะเป็นตัวพิมพ์หรือตัวเขียนก็อ่านว่า 'เทลมี'อย่างเดียวกัน และปรากฏว่าสินค้าเครื่องหมายการค้าของโจทก์เป็นที่แพร่หลาย โจทก์ได้แพร่ภาพโฆษณาทางโทรทัศน์ ภาพยนตร์ เอกสารสิ่งพิมพ์และกระจายเสียงทางวิทยุซึ่งจำเลยมิได้ทำเลย ดังนี้ถือว่าเครื่องหมายการค้าทั้งสองมีลักษณะเหมือนหรือคล้ายกันอันอาจทำให้ประชาชนหลงผิด แม้จำเลยจะจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าของจำเลยในสินค้าต่างจำพวกกับสินค้าของโจทก์ ซึ่งใช้เครื่องหมายการค้านั้นอยู่ก่อนแล้ว ก็ย่อมทำให้โจทก์เสียหาย เพราะผู้ซื้อหรือใช้สินค้าอาจหลงผิดว่าสินค้าของจำเลยเป็นสินค้าของโจทก์ผลิตขึ้น การกระทำของจำเลยจึงเป็นการใช้สิทธิไม่สุจริต โจทก์มีสิทธิห้ามจำเลยใช้เครื่องหมายการค้าดังกล่าวต่อไปได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1778/2514 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลียนแบบเครื่องหมายการค้าจนลวงสาธารณชน แม้ต่างกันเพียงบางตัวอักษรก็ถือว่าละเมิดได้
โจทก์จดทะเบียนการค้าคำว่า "DEGUADIN" ซึ่งใช้กับสินค้ายาอมแก้เจ็บคอ แก้หวัด และอาการที่คล้ายคลึงกันมาประมาณ10 ปีแล้ว จำเลยมาขอจดทะเบียน คำว่า "DEORADIN" ใช้กับสินค้ายาอมแก้เจ็บคอและหวัดเช่นเดียวกัน เห็นได้ว่าเครื่องหมายการค้าของโจทก์จำเลยเป็นตัวอักษรโรมันทั้งหมด 8 ตัวเท่ากัน พิมพ์ด้วยตัวพิมพ์ขนาดไล่เลี่ยกัน ตัวอักษรเหมือนกันถึง 6 ตัว คือ ตัวหน้า 2 ตัว ตัวท้าย 4 ตัว คงผิดกันแต่ตัวกลางสองตัว คือ ของโจทก์ GU ของจำเลยเป็น OR คนที่ไม่สันทัดจัดเจนในภาษาต่างประเทศมองดูแล้วอาจหลงผิดคิดว่าเป็นเครื่องหมายการค้าเดียวกันได้ง่ายสำเนียงที่เรียกขานก็คล้ายคลึงกัน เพราะขึ้นต้นด้วยคำว่า "D" ลงท้ายสำเนียง "DIN" เหมือนกัน เครื่องหมายการค้าทั้งสองนี้มีลักษณะคล้ายกันจนถึงกับนับได้ว่าเป็นลวงสาธารณชนได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1778/2514
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เครื่องหมายการค้าคล้ายคลึงกันจนลวงสาธารณชน ศาลพิพากษาห้ามใช้เครื่องหมายและบรรจุภัณฑ์
โจทก์จดทะเบียนการค้าคำว่า "DEGUADIN" ซึ่งใช้กับสินค้ายาอมแก้เจ็บคอ แก้หวัด และอาการที่คล้ายคลึงกันมาประมาณ10 ปีแล้ว จำเลยมาขอจดทะเบียน คำว่า "DEORADIN" ใช้กับสินค้ายาอมแก้เจ็บคอและหวัดเช่นเดียวกัน เห็นได้ว่าเครื่องหมายการค้าของโจทก์จำเลยเป็นตัวอักษรโรมันทั้งหมด 8 ตัวเท่ากัน พิมพ์ด้วยตัวพิมพ์ขนาดไล่เลี่ยกัน ตัวอักษรเหมือนกันถึง 6 ตัว คือ ตัวหน้า2 ตัว ตัวท้าย 4 ตัว คงผิดกันแต่ตัวกลางสองตัว คือ ของโจทก์GU ของจำเลยเป็น OR คนที่ไม่สันทัดจัดเจนในภาษาต่างประเทศมองดูแล้วอาจหลงผิดคิดว่าเป็นเครื่องหมายการค้าเดียวกันได้ง่ายสำเนียงที่เรียกขานก็คล้ายคลึงกัน เพราะขึ้นต้นด้วยคำว่า "D" ลงท้ายสำเนียง "DIN" เหมือนกัน เครื่องหมายการค้าทั้งสองนี้มีลักษณะคล้ายกันจนถึงกับนับได้ว่าเป็นลวงสาธารณชนได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1080/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การละเมิดเครื่องหมายการค้า: การเลียนแบบลักษณะการค้าทำให้ผู้บริโภคสับสนถือเป็นการละเมิด แม้เครื่องหมายการค้าจะแตกต่างกัน
การจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าของโจทก์และของจำเลยเป็นเครื่องหมายคำเป็นอักษรโรมัน คือ ของโจทก์ คำว่า COLGATEและ GARDENT ส่วนของจำเลยคำว่า COLDANG เห็นว่ามีความแตกต่างกันทั้งตัวอักษรและการอ่านออกเสียง ตัวอักษรที่จำเลยขอจดทะเบียนเป็นเครื่องหมายการค้านั้น ไม่มีลักษณะคล้ายเหมือนกับอักษรเครื่องหมายการค้าของโจทก์แต่ประการใด
จำเลยจงใจใช้เครื่องหมายการค้าของจำเลยโดยทำเลียนแบบเครื่องหมายการค้าของโจทก์ทุกอย่าง กล่าวคือ จำเลยผลิตและจำหน่ายยาสีฟันบรรจุในสลากกล่องซึ่งมีรูปร่างลักษณะการวางตัวอักษร ตลอดจนสีที่ใช้ก็คล้ายเหมือนกับกล่องเครื่องหมายการค้าของโจทก์ทุกอย่าง ทำให้คนซื้อหลงเข้าใจผิดไปว่ายาสีฟัน COLDANG ของจำเลยคือยาสีฟัน COLGATE ของโจทก์ แม้จำเลยจะมีสิทธิในเครื่องหมายการค้าที่จำเลยขอจดทะเบียนไว้ก็ตาม แต่จำเลยก็ไม่อาจใช้เครื่องหมายนั้นมาประดิษฐ์ดัดแปลงโดยจงใจเลียนแบบเครื่องหมายการค้าของโจทก์เพื่อให้คนหลงเชื่อว่าเป็นสินค้าของโจทก์ การกระทำของจำเลยจึงเป็นการใช้สิทธิซึ่งมีแต่จะเกิดความเสียหายแก่โจทก์ นับว่าเป็นการละเมิดสิทธิในเครื่องหมายการค้าของโจทก์
เมื่ออ่านฟ้องของโจทก์โดยตลอดแล้ว ก็ย่อมเข้าใจได้ว่าค่าเสียหายที่โจทก์ฟ้องนั้นคือ โจทก์ขาดประโยชน์ในการจำหน่ายสินค้า ไม่เป็นฟ้องเคลือบคลุม
โจทก์บรรยายฟ้องว่า โจทก์ขาดประโยชน์ในการจำหน่าย แต่ศาลวินิจฉัยว่าโจทก์ขายสินค้าได้น้อยลง ดังนี้ ไม่เป็นการวินิจฉัยนอกประเด็น เพราะการขายได้น้อยลงก็คือขาดประโยชน์ในการจำหน่าย
เมื่อมีการจดทะเบียนตั้งบริษัทคอลเกตปาล์มโอลีฟ (ประเทศไทย)จำกัด ซึ่งเป็นผู้ผลิตยาสีฟันคอลเกตขึ้นในประเทศไทย โดยบริษัทโจทก์ (บริษัทคอลเกตปาล์มโอลีฟ) เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ จำเลยเลียนเครื่องหมายการค้าของโจทก์ โจทก์ย่อมฟ้องจำเลยได้
จำเลยจงใจใช้เครื่องหมายการค้าของจำเลยโดยทำเลียนแบบเครื่องหมายการค้าของโจทก์ทุกอย่าง กล่าวคือ จำเลยผลิตและจำหน่ายยาสีฟันบรรจุในสลากกล่องซึ่งมีรูปร่างลักษณะการวางตัวอักษร ตลอดจนสีที่ใช้ก็คล้ายเหมือนกับกล่องเครื่องหมายการค้าของโจทก์ทุกอย่าง ทำให้คนซื้อหลงเข้าใจผิดไปว่ายาสีฟัน COLDANG ของจำเลยคือยาสีฟัน COLGATE ของโจทก์ แม้จำเลยจะมีสิทธิในเครื่องหมายการค้าที่จำเลยขอจดทะเบียนไว้ก็ตาม แต่จำเลยก็ไม่อาจใช้เครื่องหมายนั้นมาประดิษฐ์ดัดแปลงโดยจงใจเลียนแบบเครื่องหมายการค้าของโจทก์เพื่อให้คนหลงเชื่อว่าเป็นสินค้าของโจทก์ การกระทำของจำเลยจึงเป็นการใช้สิทธิซึ่งมีแต่จะเกิดความเสียหายแก่โจทก์ นับว่าเป็นการละเมิดสิทธิในเครื่องหมายการค้าของโจทก์
เมื่ออ่านฟ้องของโจทก์โดยตลอดแล้ว ก็ย่อมเข้าใจได้ว่าค่าเสียหายที่โจทก์ฟ้องนั้นคือ โจทก์ขาดประโยชน์ในการจำหน่ายสินค้า ไม่เป็นฟ้องเคลือบคลุม
โจทก์บรรยายฟ้องว่า โจทก์ขาดประโยชน์ในการจำหน่าย แต่ศาลวินิจฉัยว่าโจทก์ขายสินค้าได้น้อยลง ดังนี้ ไม่เป็นการวินิจฉัยนอกประเด็น เพราะการขายได้น้อยลงก็คือขาดประโยชน์ในการจำหน่าย
เมื่อมีการจดทะเบียนตั้งบริษัทคอลเกตปาล์มโอลีฟ (ประเทศไทย)จำกัด ซึ่งเป็นผู้ผลิตยาสีฟันคอลเกตขึ้นในประเทศไทย โดยบริษัทโจทก์ (บริษัทคอลเกตปาล์มโอลีฟ) เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ จำเลยเลียนเครื่องหมายการค้าของโจทก์ โจทก์ย่อมฟ้องจำเลยได้