พบผลลัพธ์ทั้งหมด 57 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 952/2507
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การคัดค้านพยานภายหลังต้องทำในขณะเบิกความ และการแบ่งทรัพย์สินระหว่างวัดกับบุคคลธรรมดา
ถ้าคู่ความฝ่ายที่ต้องนำสืบพยานภายหลังมิได้ถามค้านพยานของคู่ความฝ่ายที่นำสืบก่อนไว้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 89 วรรคหนึ่ง ต่อมากลับนำพยานของตนมาสืบถึงข้อความดังกล่าวนั้น เช่นนี้ คู่ความฝ่ายที่นำสืบก่อนต้องคัดค้านเสียในขณะที่พยานของฝ่ายนำสืบภายหลังกำลังเบิกความ มิฉะนั้นจะมาคัดค้านภายหลังไม่ได้
ในกรณีที่วัดกับบุคคลอื่นเป็นเจ้าของทรัพย์ร่วมกันเมื่อมีเหตุที่จะต้องแบ่งทรัพย์ต่อกัน ศาลก็พิพากษาให้แบ่งทรัพย์นั้นได้ และย่อมพิพากษาถึงวิธีการแบ่งทรัพย์ตามที่ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บัญญัติไว้ได้ ไม่เป็นการขัดต่อพระราชบัญญัติคณะสงฆ์
ในกรณีที่วัดกับบุคคลอื่นเป็นเจ้าของทรัพย์ร่วมกันเมื่อมีเหตุที่จะต้องแบ่งทรัพย์ต่อกัน ศาลก็พิพากษาให้แบ่งทรัพย์นั้นได้ และย่อมพิพากษาถึงวิธีการแบ่งทรัพย์ตามที่ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บัญญัติไว้ได้ ไม่เป็นการขัดต่อพระราชบัญญัติคณะสงฆ์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 955/2504 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อตกลงชี้เขตเพื่อบังคับคดี ไม่ถือเป็นการโอนกรรมสิทธิ์ที่วัด และสิทธิการครอบครองที่ดิน
ในการบังคับคดีที่ศาลพิพากษาให้ทำลายโฉนดเฉพาะส่วนที่ออกทับที่ของวัดตามแผนที่วิวาทนั้น เมื่อเขตด้านหนึ่งในแผนที่ไม่แสดงระยะที่แน่นอนไว้คู่ความจึงตกลงกันชี้เขตของด้านนั้นให้รังวัดไปตามที่ตกลงชี้เขตกัน ย่อมเป็นความตกลงเพื่อให้การบังคับคดีเป็นไปตามคำพิพากษานั่นเองไม่ใช่เป็นการเปลี่ยนแปลงโอนกรรมสิทธิ์ที่วัดอันจะขัดต่อ พ.ร.บ.คณะสงฆ์ พ.ศ. 2484 มาตรา 41 แต่อย่างใด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 955/2504
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อตกลงชี้เขตเพื่อบังคับคดี ไม่ถือเป็นการโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินวัด
ในการบังคับคดีที่ศาลพิพากษาให้ทำลายโฉนดเฉพาะส่วนที่ออกทับที่ของวัดตามแผนที่วิวาทนั้น เมื่อเขตด้านหนึ่งในแผนที่ไม่แสดงระยะที่แน่นอนไว้ คู่ความจึงตกลงกันชี้เขตของด้านนั้นให้รังวัดไปตามที่ตกลงชี้เขตกัน ย่อมเป็นความตกลงเพื่อให้การบังคับคดีเป็นไปตามคำพิพากษานั่นเอง ไม่ใช่เป็นการเปลี่ยนแปลงโอนกรรมสิทธิ์ที่วัดอันจะขัดต่อ พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ.2484มาตรา 41 แต่อย่างใด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 721/2504 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ที่ธรณีสงฆ์ไม่อาจถูกอ้างกรรมสิทธิ์โดยอายุความปรปักษ์ กฎหมายห้ามโอนกรรมสิทธิ์
ที่ธรณีสงฆ์นั้น ตามกฎหมายผู้ใดจะยกอายุความครอบครองโดยอาศัยอำนาจปรปักษ์ขึ้นใช้ยันกับวัดไม่ได้
ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 15/2504
ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 15/2504
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1516/2503 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความและสิทธิในมรดก: การขาดอายุความของสิทธิเรียกร้องในพินัยกรรมเมื่อทายาทครอบครองมรดกเกิน 10 ปี
โจทก์ฟ้องว่า ที่ดินพิพาทเป็นของโจทก์ทั้งหมดโดยผู้ตายทำพินัยกรรมการยกให้ จำเลยต่อสู้ว่าเป็นของบุตรสาวผู้ตายทั้งหมดและบุตรสาวผู้ตายได้ทำพินัยกรรมยกให้จำเลยครึ่งหนึ่งโจทก์ครึ่งหนึ่ง ถึงแม้จำเลยจะรับรู้สิทธิของโจทก์ว่ามีอยู่ครึ่งหนึ่ง ของที่ดินตามพินัยกรรมก็ตาม ก็ต้องคำนวนทุนทรัพย์ที่พิพาทตามราคาที่ดินทั้งหมด ไม่ใช่มรดกตอนหลัง
เมื่อเจ้ามรดกตาย มรดกย่อมตกทอดแก่ทายาท นั้น ทายาทก็อาจเสียไปซึ่งสิทธิในมรดกได้ตามกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายแพ่งพาณิชย์ มาตรา 1599 วรรคท้าย
เจ้าของที่ดินทำพินัยกรรมยกที่ดินให้วัดโจทก์โดยระบุให้ยายและมารดามีสิทธิเก็บกินตลอดชีวิต เมื่อเจ้าของที่ดินตายแล้ว โจทก์มิได้ใช้สิทธิแก่ที่ดินนี้ประการใด ปล่อยให้มารดาของเจ้ามรดกครอบครองที่ดินและจดทะเบียนโอนรับมรดกเป็นของตนด้วย ซึ่งเป็นเวลาเกินกว่า 10 ปีแล้ว ดังนี้ สิทธิเรียกร้องของโจทก์ในฐานะผู้รับพินัยกรรมจึงขาดอายุความไปแล้วตามประมวลกฎหมายแพ่งพาณิชย์ มาตรา 11754 วรรคท้าย ศาลฎีกาประชุมใหญ่มีมติว่า วัดโจทก์หมดสิทธิตามพินัยกรรมแล้ว (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 13/2503)
เมื่อเจ้ามรดกตาย มรดกย่อมตกทอดแก่ทายาท นั้น ทายาทก็อาจเสียไปซึ่งสิทธิในมรดกได้ตามกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายแพ่งพาณิชย์ มาตรา 1599 วรรคท้าย
เจ้าของที่ดินทำพินัยกรรมยกที่ดินให้วัดโจทก์โดยระบุให้ยายและมารดามีสิทธิเก็บกินตลอดชีวิต เมื่อเจ้าของที่ดินตายแล้ว โจทก์มิได้ใช้สิทธิแก่ที่ดินนี้ประการใด ปล่อยให้มารดาของเจ้ามรดกครอบครองที่ดินและจดทะเบียนโอนรับมรดกเป็นของตนด้วย ซึ่งเป็นเวลาเกินกว่า 10 ปีแล้ว ดังนี้ สิทธิเรียกร้องของโจทก์ในฐานะผู้รับพินัยกรรมจึงขาดอายุความไปแล้วตามประมวลกฎหมายแพ่งพาณิชย์ มาตรา 11754 วรรคท้าย ศาลฎีกาประชุมใหญ่มีมติว่า วัดโจทก์หมดสิทธิตามพินัยกรรมแล้ว (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 13/2503)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1516/2503
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความมรดกและการเสียสิทธิในพินัยกรรม: กรณีที่ทายาทครอบครองมรดกเกิน 10 ปี
โจทก์ฟ้องว่า ที่ดินพิพาทเป็นของโจทก์ทั้งหมดโดยผู้ตายทำพินัยกรรมยกให้ จำเลยต่อสู้ว่าเป็นของบุตรสาวผู้ตายทั้งหมดและบุตรสาวผู้ตายได้ทำพินัยกรรมยกให้จำเลยครึ่งหนึ่งโจทก์ครึ่งหนึ่ง ถึงแม้จำเลยจะรับรู้สิทธิของโจทก์ว่ามีอยู่ครึ่งหนึ่งของที่ดินตามพินัยกรรมก็ตาม ก็ต้องคำนวณทุนทรัพย์ที่พิพาทตามราคาที่ดินทั้งหมด ไม่ใช่เพียงครึ่งหนึ่งเพราะพิพาทกันในชั้นมรดกเดิม ไม่ใช่มรดกตอนหลัง
เมื่อเจ้ามรดกตาย มรดกย่อมตกทอดแก่ทายาท นั้น ทายาทก็อาจเสียไปซึ่งสิทธิในมรดกได้ตามกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1599 วรรคท้าย
เจ้าของที่ดินทำพินัยกรรมยกที่ดินให้วัดโจทก์โดยระบุให้ยายและมารดามีสิทธิเก็บกินตลอดชีวิต เมื่อเจ้าของที่ดินตายแล้ว โจทก์มิได้ใช้สิทธิแก่ที่ดินนี้ประการใดปล่อยให้มารดาของเจ้ามรดกครอบครองที่ดินและจดทะเบียนโอนรับมรดกเป็นของตนด้วย ซึ่งเป็นเวลาเกินกว่า 10 ปีแล้ว ดังนี้ สิทธิเรียกร้องของโจทก์ในฐานะผู้รับพินัยกรรมจึงขาดอายุความไปแล้วตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1754 วรรคท้าย ศาลฎีกาประชุมใหญ่มีมติว่า วัดโจทก์หมดสิทธิตามพินัยกรรมแล้ว (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 13/2503)
เมื่อเจ้ามรดกตาย มรดกย่อมตกทอดแก่ทายาท นั้น ทายาทก็อาจเสียไปซึ่งสิทธิในมรดกได้ตามกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1599 วรรคท้าย
เจ้าของที่ดินทำพินัยกรรมยกที่ดินให้วัดโจทก์โดยระบุให้ยายและมารดามีสิทธิเก็บกินตลอดชีวิต เมื่อเจ้าของที่ดินตายแล้ว โจทก์มิได้ใช้สิทธิแก่ที่ดินนี้ประการใดปล่อยให้มารดาของเจ้ามรดกครอบครองที่ดินและจดทะเบียนโอนรับมรดกเป็นของตนด้วย ซึ่งเป็นเวลาเกินกว่า 10 ปีแล้ว ดังนี้ สิทธิเรียกร้องของโจทก์ในฐานะผู้รับพินัยกรรมจึงขาดอายุความไปแล้วตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1754 วรรคท้าย ศาลฎีกาประชุมใหญ่มีมติว่า วัดโจทก์หมดสิทธิตามพินัยกรรมแล้ว (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 13/2503)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 947-958/2503 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การอุทิศที่ดินวัดโดยปริยายเพื่อขยายถนนหลวง การก่อสร้างในเขตทางหลวงโดยไม่ได้รับอนุญาตเป็นความผิด
การที่วัดได้ยินยอมให้มีการขยายเขตถนนเดิมซึ่งได้ใช้เป็นทางหลวงอยู่แล้วเข้าไปในที่วัด และเมื่อทางหลวงนี้เป็นสาธารณะสมบัติของแผ่นดิน กรณีจึงเป็นว่า วัดได้อุทิศที่ดินส่วนนี้โดยปริยาย ให้เป็นทางหลวง
การอุทิศของวัดเช่นนี้มิได้ ไม่ขัดต่อพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2484 มาตรา 41 เพราะกรณีเช่นนี้ ไม่เข้าลักษณะเป็นการโอนกรรมสิทธิ์ตามที่กฎหมายนั้นระบุไว้ ฉะนั้น การที่จำเลยปลูกปักอาคารลงในเขตทางหลวงโดยมิได้รับอนุญาต ก็ย่อมเป็นความผิดตามกฎหมาย (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 13/2503)
การอุทิศของวัดเช่นนี้มิได้ ไม่ขัดต่อพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2484 มาตรา 41 เพราะกรณีเช่นนี้ ไม่เข้าลักษณะเป็นการโอนกรรมสิทธิ์ตามที่กฎหมายนั้นระบุไว้ ฉะนั้น การที่จำเลยปลูกปักอาคารลงในเขตทางหลวงโดยมิได้รับอนุญาต ก็ย่อมเป็นความผิดตามกฎหมาย (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 13/2503)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 947-958/2503
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การอุทิศที่ดินวัดโดยปริยายเพื่อขยายทางหลวง การปลูกสร้างอาคารในเขตทางหลวงเป็นความผิด
การที่วัดได้ยินยอมให้มีการขยายเขตถนนเดิมซึ่งได้ใช้เป็นทางหลวงอยู่แล้วเข้าไปในที่วัด และเมื่อทางหลวงนี้เป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน กรณีจึงเป็นว่า วัดได้อุทิศที่ดินส่วนนี้โดยปริยาย ให้เป็นทางหลวง
การอุทิศของวัดเช่นนี้มิได้ ไม่ขัดต่อพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ.2484 มาตรา 41 เพราะกรณีเช่นนี้ไม่เข้าลักษณะเป็นการโอนกรรมสิทธิ์ตามที่กฎหมายนั้นระบุไว้ ฉะนั้น การที่จำเลยปลูกปักอาคารลงในเขตทางหลวงโดยมิได้รับอนุญาต ก็ย่อมเป็นความผิดตามกฎหมาย (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 13/2503)
การอุทิศของวัดเช่นนี้มิได้ ไม่ขัดต่อพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ.2484 มาตรา 41 เพราะกรณีเช่นนี้ไม่เข้าลักษณะเป็นการโอนกรรมสิทธิ์ตามที่กฎหมายนั้นระบุไว้ ฉะนั้น การที่จำเลยปลูกปักอาคารลงในเขตทางหลวงโดยมิได้รับอนุญาต ก็ย่อมเป็นความผิดตามกฎหมาย (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 13/2503)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 293/2501
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ที่ดินวัดและธรณีสงฆ์: แม้ครอบครองนาน โจทก์ไม่เกิดกรรมสิทธิ์
เมื่อที่ดินเป็นของวัดและเป็นที่ธรณีสงฆ์ของวัดจำเลยแม้โจทก์เข้าครอบครองมาเกิน 10 ปี โจทก์ก็หาได้กรรมสิทธิ์ไม่ (อ้างฎีกาที่ 305/2497)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 293/2501 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ที่ดินวัดเป็นที่ธรณีสงฆ์ แม้ครอบครองเกิน 10 ปี ก็ไม่ทำให้ได้กรรมสิทธิ์
เมื่อที่ดินเป็นของวัดและเป็นที่ธรณีสงฆ์ของวัดจำเลย แม้โจทก์เข้าครอบครองมาเกิน 10 ปี โจทก์ก็หาได้กรรมสิทธิ์ไม่ (อ้างฎีกาที่ 305/2497)