พบผลลัพธ์ทั้งหมด 19 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1099/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อกำหนดพินัยกรรมมอบอำนาจจัดการทรัพย์สินให้ผู้รับมรดกโดยไม่จำกัดจำนวนทรัพย์สินเป็นโมฆะ และการตัดทายาทต้องระบุชัดเจน
ตามข้อกำหนดในพินัยกรรมข้อ 3 กำหนดการเผื่อตายในเรื่องทรัพย์สินตามที่ระบุไว้ในข้อเดียวกันนั้นว่า. เมื่อตนถึงแก่ความตายไปแล้ว ให้จำเลยทั้งสี่เป็นผู้จัดการศพปกครองทรัพย์และจัดการในเรื่องทรัพย์สินของผู้ตาย. แม้จะมีคำว่าข้าพเจ้าเต็มใจยกให้จำเลยทั้งสี่ แต่ก็มีข้อความติดต่อเกี่ยวเนื่องกันต่อไปว่า. เป็นผู้ปกครองทรัพย์ของข้าพเจ้า. ข้อความต่อไปที่ว่า. นอกจากจำเลยทั้งสี่ที่ระบุนามในหนังสือนี้แล้ว. ผู้อื่นไม่มีสิทธิจะปกครองทรัพย์ของข้าพเจ้าเป็นอันขาด. ก็มีความหมายเป็นในเรื่องการปกครองทรัพย์เช่นเดียวกับข้อความในตอนแรก. ต่างกับข้อความที่กำหนดไว้ในข้อ 1 และ 2 แห่งพินัยกรรมฉบับเดียวกันซึ่งมีข้อความกำหนดไว้เป็นที่แน่นอนว่า. ได้ยกทรัพย์สิ่งใดให้แก่บุคคลใด โดยระบุชื่อไว้อย่างชัดแจ้ง.ไม่มีข้อความต่อไปว่า. ยกให้ปกครองและจัดการดังที่กล่าวไว้ในข้อ 3. ส่วนข้อความต่อไปที่ว่า.ทรัพย์สินที่ข้าพเจ้าได้ระบุไว้และมิได้ระบุให้เป็นอำนาจของจำเลยทั้งสี่จัดการโดยเด็ดขาด. หากเห็นว่าควรจะยกให้แก่ผู้ใดก็ให้ดำเนินการได้ตามความประสงค์ถ้าไม่เห็นสมควรประการใด. ก็แล้วแต่จำเลยทั้งสี่จะจัดการให้เป็นไปตามความประสงค์ทั้งสิ้นนั้น. ข้อความดังกล่าวเห็นได้ว่า. การที่จะยกทรัพย์ตามพินัยกรรมให้แก่บุคคลใด มากน้อยก็สุดแล้วแต่ใจของจำเลยทั้งสี่. กล่าวคือ ให้เป็นไปตามความประสงค์ของจำเลยทั้งสี่. ข้อกำหนดดังกล่าวจึงเป็นการกำหนดบุคคลซึ่งไม่อาจจะทราบตัวแน่นอนได้. เป็นผู้รับพินัยกรรม. และเป็นข้อกำหนดที่ให้บุคคลใดยกทรัพย์สินมากน้อยเท่าใดก็ได้ตามแต่ใจของบุคคลนั้น. ข้อกำหนดดังกล่าวจึงเป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1706.
ข้อความในพินัยกรรมกล่าวแต่เพียงว่า บุคคลอื่นแม้จะเกี่ยวเป็นญาติพี่น้องลูกหลานของข้าพเจ้าไม่มีสิทธิเรียกร้องเอาทรัพย์หรือปกครองทรัพย์ของข้าพเจ้าเท่านั้น. ไม่มีข้อความตอนใดหรือในที่ใดระบุไว้ชัดแจ้งว่า. ตัดนาง ย. หรือโจทก์ซึ่งเป็นบุตรของนาง ย. มิให้รับมรดก. ฉะนั้นโจทก์ซึ่งเป็นผู้รับมรดกแทนที่ของนาง ย. ซึ่งเป็นพี่ของนาง บ. จึงมีสิทธิรับมรดกของนาง บ..
ข้อความในพินัยกรรมกล่าวแต่เพียงว่า บุคคลอื่นแม้จะเกี่ยวเป็นญาติพี่น้องลูกหลานของข้าพเจ้าไม่มีสิทธิเรียกร้องเอาทรัพย์หรือปกครองทรัพย์ของข้าพเจ้าเท่านั้น. ไม่มีข้อความตอนใดหรือในที่ใดระบุไว้ชัดแจ้งว่า. ตัดนาง ย. หรือโจทก์ซึ่งเป็นบุตรของนาง ย. มิให้รับมรดก. ฉะนั้นโจทก์ซึ่งเป็นผู้รับมรดกแทนที่ของนาง ย. ซึ่งเป็นพี่ของนาง บ. จึงมีสิทธิรับมรดกของนาง บ..
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 505/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พินัยกรรมระบุผู้รับทรัพย์ชัดเจน ถือเป็นการยกทรัพย์สินให้โดยชอบด้วยกฎหมาย ทายาทอื่นไม่มีสิทธิเรียกร้อง
ข้อความในข้อ (1) แห่งพินัยกรรมมีว่า 'ถ้าข้าพเจ้าถึงแก่ความตายไปแล้วบรรดาทรัพย์สินของข้าพเจ้าที่ (มี) อยู่และที่จะเกิดขึ้นในภายหน้าข้าพเจ้ายอมยกให้เป็นกรรมสิทธิ์แก่ผู้ที่ได้ระบุชื่อไว้ในพินัยกรรมนี้ให้เป็นผู้รับทรัพย์สินตามจำนวนซึ่งกำหนดไว้ดังต่อไปนี้คือ ฯลฯ' นั้นประกอบกับข้อ 7 แห่งพินัยกรรมซึ่งความว่า'ที่ดินที่ข้าพเจ้ายกให้กับนายแสวง เดชแสง (จำเลย) นี้ฯลฯ' ดังนี้ เห็นว่าหนังสือพินัยกรรมดังกล่าวระบุผู้รับทรัพย์ไว้โดยแจ้งชัดว่าคือจำเลยนั่นเอง
เมื่อเจ้ามรดกยกทรัพย์สินตามพินัยกรรมให้แก่จำเลยจำเลยย่อมมีสิทธิรับทรัพย์มรดกตามพินัยกรรม โจทก์คงมีแต่สิทธิอาศัยเหนือพื้นดินในพินัยกรรมดังกล่าวในข้อ 3 แห่งพินัยกรรมเท่านั้นไม่มีสิทธิที่จะเรียกร้องขอแบ่งเอากรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินหรือขอแบ่งค่าเช่าอันเป็นประโยชน์เกิดจากทรัพย์นั้นๆ
เมื่อเจ้ามรดกยกทรัพย์สินตามพินัยกรรมให้แก่จำเลยจำเลยย่อมมีสิทธิรับทรัพย์มรดกตามพินัยกรรม โจทก์คงมีแต่สิทธิอาศัยเหนือพื้นดินในพินัยกรรมดังกล่าวในข้อ 3 แห่งพินัยกรรมเท่านั้นไม่มีสิทธิที่จะเรียกร้องขอแบ่งเอากรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินหรือขอแบ่งค่าเช่าอันเป็นประโยชน์เกิดจากทรัพย์นั้นๆ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 505/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พินัยกรรมระบุผู้รับทรัพย์ชัดเจน โจทก์มีแต่สิทธิอาศัย
ข้อความในข้อ (1) แห่งพินัยกรรม.มีว่า 'ถ้าข้าพเจ้าถึงแก่ความตายไปแล้วบรรดาทรัพย์สินของข้าพเจ้าที่ (มี)อยู่และที่จะเกิดขึ้นในภายหน้า. ข้าพเจ้ายอมยกให้เป็นกรรมสิทธิ์แก่ผู้ที่ได้ระบุชื่อไว้ในพินัยกรรมนี้ให้เป็นผู้รับทรัพย์สินตามจำนวนซึ่งกำหนดไว้ดังต่อไปนี้คือ ฯลฯ' นั้น. ประกอบกับข้อ 7 แห่งพินัยกรรมซึ่งความว่า'ที่ดินที่ข้าพเจ้ายกให้กับนายแสวง เดชแสง (จำเลย) นี้ฯลฯ'. ดังนี้ เห็นว่าหนังสือพินัยกรรมดังกล่าวระบุผู้รับทรัพย์ไว้โดยแจ้งชัดว่าคือจำเลยนั่นเอง.
เมื่อเจ้ามรดกยกทรัพย์สินตามพินัยกรรมให้แก่จำเลย. จำเลยย่อมมีสิทธิรับทรัพย์มรดกตามพินัยกรรม. โจทก์คงมีแต่สิทธิอาศัยเหนือพื้นดินในพินัยกรรมดังกล่าวในข้อ 3 แห่งพินัยกรรมเท่านั้น. ไม่มีสิทธิที่จะเรียกร้องขอแบ่งเอากรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินหรือขอแบ่งค่าเช่าอันเป็นประโยชน์เกิดจากทรัพย์นั้นๆ.
เมื่อเจ้ามรดกยกทรัพย์สินตามพินัยกรรมให้แก่จำเลย. จำเลยย่อมมีสิทธิรับทรัพย์มรดกตามพินัยกรรม. โจทก์คงมีแต่สิทธิอาศัยเหนือพื้นดินในพินัยกรรมดังกล่าวในข้อ 3 แห่งพินัยกรรมเท่านั้น. ไม่มีสิทธิที่จะเรียกร้องขอแบ่งเอากรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินหรือขอแบ่งค่าเช่าอันเป็นประโยชน์เกิดจากทรัพย์นั้นๆ.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 505/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พินัยกรรมระบุผู้รับทรัพย์ชัดเจน มีผลให้ผู้รับมรดกตามพินัยกรรมมีสิทธิเหนือทรัพย์สินนั้น
ข้อความในข้อ (1) แห่งพินัยกรรมมีว่า "ถ้าข้าพเจ้าถึงแก่ความตายไปแล้วบรรดาทรัพย์สินของข้าพเจ้าที่ (มี) อยู่และที่จะเกิดขึ้นในภายหน้า ข้าพเจ้ายอมยกให้เป็นกรรมสิทธิ์แก่ผู้ที่ได้ระบุชื่อไว้ในพินัยกรรมนี้ให้เป็นผู้รับทรัพย์สินตามจำนวนซึ่งกำหนดไว้ดังต่อไปนี้ คือ ฯลฯ" นั้น ประกอบกับข้อ 7 แห่งพินัยกรรมซึ่งความว่า "ที่ดินที่ข้าพเจ้ายกให้กับนายแสวง เดชแสง (จำเลย) นี้ ฯลฯ " ดังนี้ เห็นว่าหนังสือพินัยกรรมดังกล่าวระบุผู้รับทรัพย์ไว้โดยแจ้งชัดว่าคือจำเลยนั่นเอง
เมื่อเจ้ามรดกยกทรัพย์สินตามพินัยกรรมให้แก่จำเลย จำเลยย่อมมีสิทธิรับทรัพย์มรดกตามพินัยกรรม โจทก์คงมีแต่สิทธิอาศัยเหนือพื้นดินในพินัยกรรมดังกล่าวในข้อ 3 แห่งพินัยกรรมเท่านั้น ไม่มีสิทธิที่จะเรียกร้องขอแบ่งเอากรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินหรือขอแบ่งค่าเช่า อันเป็นประโยชน์เกิดจากทรัพย์นั้น ๆ
เมื่อเจ้ามรดกยกทรัพย์สินตามพินัยกรรมให้แก่จำเลย จำเลยย่อมมีสิทธิรับทรัพย์มรดกตามพินัยกรรม โจทก์คงมีแต่สิทธิอาศัยเหนือพื้นดินในพินัยกรรมดังกล่าวในข้อ 3 แห่งพินัยกรรมเท่านั้น ไม่มีสิทธิที่จะเรียกร้องขอแบ่งเอากรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินหรือขอแบ่งค่าเช่า อันเป็นประโยชน์เกิดจากทรัพย์นั้น ๆ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 814/2493 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พินัยกรรมร่วมทำไม่ได้ตามกฎหมาย และการอ้างอิงข้อความจากพินัยกรรมที่ไม่สมบูรณ์
สามีภรรยาเป็นเจ้าของทรัพย์ร่วมกันจึงร่วมกันทำพินัยกรรมฉบับเดียวกันยกทรัพย์ในหลานนั้น เป็นการขัดกับ พ.ร.บ.ว่าด้วยการทำพินัยกรรม 2475 มาตรา 23 ที่ว่า "บุคคลสองคนหรือมากกว่านั้นจะทำพินัยกรรมโดยเอกสารฉบับเดียวกันไม่ได้"
สามีภรรยาร่วมกันทำพินัยกรรมฉบับเดียวกันยกทรัพย์หลายอย่าง ๆ ให้หลานรวมทั้งโจทก์ด้วย สำหรับโจทก์ได้ที่ดินและตึกภายหลังสามีผู้เดียวทำพินัยกรรมฉบับหลัง เพิกถอนข้อความในพินัยกรรมเดิมบางข้อในข้อที่ยกทรัพย์ให้หลานอื่นบางคน แล้วมีข้อความว่า ส่วนข้อความอื่น ๆ ในพินัยกรรมนั้นคงเป็นไปตามเดิมดังนี้ เมื่อพินัยกรรมฉบับแรกไม่สมบูรณ์ เพราะต้องห้ามตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยการทำพินัยกรรม 2475 แล้วก็ต้องถือ่าไม่มีการยกที่ดินและตึกให้โจกท์ด้วย ส่วนพินัยกรรมฉบับหลังแม้จะสมบูรณ์ก็ไม่มีข้อความว่าได้ยกที่ดินและตึกให้โจทก์ เป็นแต่กล่าวว่า ส่วนข้อความอื่น ๆ ในพินัยกรรมนั้นคงเป็นไปตามเดิม ซึ่งเมื่อพินัยกรรมเดิมใช้ไม่ได้แล้ว จะอ้างข้อความในเอกสารอื่นซึ่งมิใช่พินัยกรรมมาเป็นส่วนหนึ่งของพินัยกรรม จึงไม่ได้ โจทก์จึงไม่มีสิทธิได้ที่ดินและตึก
สามีภรรยาร่วมกันทำพินัยกรรมฉบับเดียวกันยกทรัพย์หลายอย่าง ๆ ให้หลานรวมทั้งโจทก์ด้วย สำหรับโจทก์ได้ที่ดินและตึกภายหลังสามีผู้เดียวทำพินัยกรรมฉบับหลัง เพิกถอนข้อความในพินัยกรรมเดิมบางข้อในข้อที่ยกทรัพย์ให้หลานอื่นบางคน แล้วมีข้อความว่า ส่วนข้อความอื่น ๆ ในพินัยกรรมนั้นคงเป็นไปตามเดิมดังนี้ เมื่อพินัยกรรมฉบับแรกไม่สมบูรณ์ เพราะต้องห้ามตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยการทำพินัยกรรม 2475 แล้วก็ต้องถือ่าไม่มีการยกที่ดินและตึกให้โจกท์ด้วย ส่วนพินัยกรรมฉบับหลังแม้จะสมบูรณ์ก็ไม่มีข้อความว่าได้ยกที่ดินและตึกให้โจทก์ เป็นแต่กล่าวว่า ส่วนข้อความอื่น ๆ ในพินัยกรรมนั้นคงเป็นไปตามเดิม ซึ่งเมื่อพินัยกรรมเดิมใช้ไม่ได้แล้ว จะอ้างข้อความในเอกสารอื่นซึ่งมิใช่พินัยกรรมมาเป็นส่วนหนึ่งของพินัยกรรม จึงไม่ได้ โจทก์จึงไม่มีสิทธิได้ที่ดินและตึก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 814/2493
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พินัยกรรมร่วมเป็นโมฆะ การอ้างอิงพินัยกรรมเดิมที่ตกเป็นโมฆะไม่มีผล
สามีภรรยาเป็นเจ้าของทรัพย์ร่วมกันจึงร่วมกันทำพินัยกรรมฉบับเดียวกันยกทรัพย์ให้หลานนั้น เป็นการขัดกับ พระราชบัญญัติว่าด้วยการทำพินัยกรรม 2475 มาตรา 23 ที่ว่า 'บุคคลสองคนหรือมากกว่านั้นจะทำพินัยกรรมโดยเอกสารฉบับเดียวกันไม่ได้'
สามีภรรยาร่วมกันทำพินัยกรรมฉบับเดียวกันยกทรัพย์หลายอย่างให้หลาน รวมทั้งโจทก์ด้วย สำหรับโจทก์ได้ที่ดินและตึกภายหลังสามีผู้เดียวทำพินัยกรรมฉบับหลัง เพิกถอนข้อความในพินัยกรรมเดิมบางข้อในข้อที่ยกทรัพย์ให้หลานอื่นบางคน แล้วมีข้อความว่า ส่วนข้อความอื่นๆ ในพินัยกรรมนั้นคงเป็นไปตามเดิมดังนี้ เมื่อพินัยกรรมฉบับแรกไม่สมบูรณ์เพราะต้องห้ามตาม พระราชัญญัติว่าด้วยการทำพินัยกรรม 2475 แล้วก็ต้องถือว่าไม่มีการยกที่ดินและตึกให้โจทก์ด้วย ส่วนพินัยกรรมฉบับหลังแม้จะสมบูรณ์ก็ไม่มีข้อความว่าได้ยกที่ดินและตึกให้โจทก์ เป็นแต่กล่าวว่าส่วนข้อความอื่นๆ ในพินัยกรรมนั้นคงเป็นไปตามเดิม ซึ่งเมื่อพินัยกรรมเดิมใช้ไม่ได้แล้ว จะอ้างข้อความในเอกสารอื่นซึ่งมิใช่พินัยกรรมมาเป็นส่วนหนึ่งของพินัยกรรมจึงไม่ได้ โจทก์จึงไม่มีสิทธิได้ที่ดินและตึก
สามีภรรยาร่วมกันทำพินัยกรรมฉบับเดียวกันยกทรัพย์หลายอย่างให้หลาน รวมทั้งโจทก์ด้วย สำหรับโจทก์ได้ที่ดินและตึกภายหลังสามีผู้เดียวทำพินัยกรรมฉบับหลัง เพิกถอนข้อความในพินัยกรรมเดิมบางข้อในข้อที่ยกทรัพย์ให้หลานอื่นบางคน แล้วมีข้อความว่า ส่วนข้อความอื่นๆ ในพินัยกรรมนั้นคงเป็นไปตามเดิมดังนี้ เมื่อพินัยกรรมฉบับแรกไม่สมบูรณ์เพราะต้องห้ามตาม พระราชัญญัติว่าด้วยการทำพินัยกรรม 2475 แล้วก็ต้องถือว่าไม่มีการยกที่ดินและตึกให้โจทก์ด้วย ส่วนพินัยกรรมฉบับหลังแม้จะสมบูรณ์ก็ไม่มีข้อความว่าได้ยกที่ดินและตึกให้โจทก์ เป็นแต่กล่าวว่าส่วนข้อความอื่นๆ ในพินัยกรรมนั้นคงเป็นไปตามเดิม ซึ่งเมื่อพินัยกรรมเดิมใช้ไม่ได้แล้ว จะอ้างข้อความในเอกสารอื่นซึ่งมิใช่พินัยกรรมมาเป็นส่วนหนึ่งของพินัยกรรมจึงไม่ได้ โจทก์จึงไม่มีสิทธิได้ที่ดินและตึก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 445/2489 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อกำหนดในพินัยกรรมมอบอำนาจจัดสรรทรัพย์สินโดยมิได้กำหนดเกณฑ์ชัดเจนเป็นโมฆะ และการใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับพินัยกรรม
ข้อกำหนดในพินัยกรรม์ที่มอบให้บุคคลใดเป็นผู้ปกครองทรัพย์จะจัดแบ่งให้แก่ใครเท่าใดแล้วแต่ผู้นั้นจะเห็นสมควรนั้น เป็นโมฆะตามประมวลแพ่ง ฯ มาตรา 1706 ข้อ 3
ถ้ามีปัญหาเกี่ยวด้วยความสามารถของผู้ทำพินัยกรรม์ต้องใช้กฎหมายในขณะที่ทำพินัยกรรมบังคับ แต่ถ้าเป็นปัญหาในเรื่องผลของพินัยกรรม์ ศาลต้องใช้กฎหมายในขณะที่พินัยกรรม์นั้นมีผลบังคับ คือในเวลาที่ผู้ทำพินัยกรรม์ตาย
ปัญหาว่าข้อกำหนดในพินัยกรรม์เป็นโมฆะหรือไม่นั้น เป็นปัญหาเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน แม้ไม่ได้ว่ากันมาแต่ในศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ก็หยิบยกขึ้นวินิจฉัยได้
ถ้ามีปัญหาเกี่ยวด้วยความสามารถของผู้ทำพินัยกรรม์ต้องใช้กฎหมายในขณะที่ทำพินัยกรรมบังคับ แต่ถ้าเป็นปัญหาในเรื่องผลของพินัยกรรม์ ศาลต้องใช้กฎหมายในขณะที่พินัยกรรม์นั้นมีผลบังคับ คือในเวลาที่ผู้ทำพินัยกรรม์ตาย
ปัญหาว่าข้อกำหนดในพินัยกรรม์เป็นโมฆะหรือไม่นั้น เป็นปัญหาเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน แม้ไม่ได้ว่ากันมาแต่ในศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ก็หยิบยกขึ้นวินิจฉัยได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 445/2489
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อกำหนดในพินัยกรรมมอบอำนาจจัดแบ่งทรัพย์สินโดยไม่จำกัด เป็นโมฆะตามกฎหมาย และศาลใช้กฎหมาย ณ เวลาที่พินัยกรรมมีผลบังคับใช้
ข้อกำหนดในพินัยกรรมที่มอบให้บุคคลใดเป็นผู้ปกครองทรัพย์จะจัดแบ่งให้แก่ใครเท่าใดแล้วแต่ผู้นั้นจะเห็นสมควรนั้น เป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1706 ข้อ 3
ถ้ามีปัญหาเกี่ยวด้วยความสามารถของผู้ทำพินัยกรรมต้องใช้กฎหมายในขณะที่ผู้ทำพินัยกรรมบังคับ แต่ถ้าเป็นปัญหาในเรื่องผลของพินัยกรรม ศาลต้องใช้กฎหมายในขณะที่พินัยกรรมนั้นมีผลบังคับ คือในเวลาที่ผู้ทำพินัยกรรมตาย
ปัญหาว่าข้อกำหนดในพินัยกรรมเป็นโมฆะหรือไม่นั้น เป็นปัญหาเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน แม้ไม่ได้ว่ากันมาแต่ในศาลชั้นต้นศาลอุทธรณ์ก็หยิบยกขึ้นวินิจฉัยได้
ถ้ามีปัญหาเกี่ยวด้วยความสามารถของผู้ทำพินัยกรรมต้องใช้กฎหมายในขณะที่ผู้ทำพินัยกรรมบังคับ แต่ถ้าเป็นปัญหาในเรื่องผลของพินัยกรรม ศาลต้องใช้กฎหมายในขณะที่พินัยกรรมนั้นมีผลบังคับ คือในเวลาที่ผู้ทำพินัยกรรมตาย
ปัญหาว่าข้อกำหนดในพินัยกรรมเป็นโมฆะหรือไม่นั้น เป็นปัญหาเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน แม้ไม่ได้ว่ากันมาแต่ในศาลชั้นต้นศาลอุทธรณ์ก็หยิบยกขึ้นวินิจฉัยได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 531/2488
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พินัยกรรมยกทรัพย์ให้พระเพื่อบำรุงศาสนา วัดไม่เป็นผู้รับพินัยกรรม ไม่มีสิทธิฟ้อง
ทำพินัยกรรมว่าขอถวายทรัพย์แก่พระอธิการแดงเพื่อบำรุงวัดนั้นหรือวัดอื่น เมื่อพระอธิการองค์นั้นมรณภาพแล้ว วัดนั้นหรือพระอธิการวัดนั้นจะฟ้องคดีเกี่ยวกับทรัพย์ตามพินัยกรรมไม่ได้ เพราะไม่ถือว่าเป็นพินัยกรรมยกทรัพย์ให้แก่วัดนั้น