พบผลลัพธ์ทั้งหมด 286 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4016-4020/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การใช้สิทธิโดยไม่สุจริตของผู้รับโอนที่ดินที่มีผู้เช่าเดิม ผู้รับโอนรู้เห็นสิทธิผู้เช่าแต่เพิ่งมาฟ้องขับไล่
ธ.เป็นเจ้าของที่ดินและตึกแถวซึ่งผู้ก่อสร้างตึกแถวดังกล่าวได้ยกกรรมสิทธิ์ให้แก่ ธ. โดยผู้ก่อสร้างตึกแถวมีสิทธิจัดหาคนเช่าและเรียกเก็บเงินค่าก่อสร้างจากผู้เช่า แต่ให้ผู้เช่าทำหนังสือสัญญาเช่ากับ ธ. และจดทะเบียนการเช่ามีกำหนด 15 ปี ต่อมา ธ.โอนกรรมสิทธิ์ที่ดินดังกล่าวให้แก่ ล. และ ว. บุตรโจทก์ หลังจากนั้นธ.ได้ทำหนังสือสัญญาเช่ากับจำเลยโดยจดทะเบียนการเช่าต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ และ ธ.ยังเก็บค่าเช่าต่อมาอีก 4 ปีเศษล. และ ว. จึงได้ฟ้องขับไล่จำเลยและถอนฟ้องแล้วโอนที่ดินให้แก่โจทก์ซึ่งเป็นมารดา ดังนี้แสดงว่า ล. และ ว. กับโจทก์ได้รับรู้ถึงสิทธิของผู้ก่อสร้างตึกแถวและสิทธิตามสัญญาเช่าของจำเลยตลอดมา เพิ่งจะมาเปลี่ยนใจหาทางบิดพลิ้วในภายหลัง อันเป็นการใช้สิทธิโดยไม่สุจริต โจทก์จะอ้างความไม่สุจริตมาฟ้องขับไล่จำเลยมิได้
ปัญหาเรื่องการใช้สิทธิโดยไม่สุจริต เป็นปัญหาเรื่องอำนาจฟ้องซึ่งเป็นปัญหาข้อกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน
ปัญหาเรื่องการใช้สิทธิโดยไม่สุจริต เป็นปัญหาเรื่องอำนาจฟ้องซึ่งเป็นปัญหาข้อกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4016-4020/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การใช้สิทธิโดยไม่สุจริตของผู้โอนสิทธิและการฟ้องขับไล่ผู้เช่าที่รับรู้สิทธิเดิม
ธ.เป็นเจ้าของที่ดินและตึกแถวซึ่งผู้ก่อสร้างตึกแถวดังกล่าวได้ยกกรรมสิทธิ์ให้แก่ ธ. โดยผู้ก่อสร้างตึกแถวมีสิทธิจัดหาคนเช่าและเรียกเก็บเงินค่าก่อสร้างจากผู้เช่าแต่ให้ผู้เช่าทำหนังสือสัญญาเช่ากับ ธ.และจดทะเบียนการเช่ามีกำหนด15ปีต่อมาธ.โอนกรรมสิทธิ์ที่ดินดังกล่าวให้แก่ ล. และ ว.บุตรโจทก์หลังจากนั้นธ. ได้ทำหนังสือสัญญาเช่ากับจำเลยโดยจดทะเบียนการเช่าต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ และ ธ.ยังเก็บค่าเช่าต่อมาอีก 4 ปีเศษ ล. และ ว. จึงได้ฟ้องขับไล่จำเลยและถอนฟ้องแล้วโอนที่ดินให้แก่โจทก์ซึ่งเป็นมารดา ดังนี้แสดงว่า ล. และ ว. กับโจทก์ได้รับรู้ถึงสิทธิของผู้ก่อสร้างตึกแถวและสิทธิตามสัญญาเช่าของจำเลยตลอดมาเพิ่งจะมาเปลี่ยนใจหาทางบิดพลิ้วในภายหลังอันเป็นการใช้สิทธิโดยไม่สุจริต โจทก์จะอ้างความไม่สุจริตมาฟ้องขับไล่จำเลยมิได้
ปัญหาเรื่องการใช้สิทธิโดยไม่สุจริต เป็นปัญหาเรื่องอำนาจฟ้องซึ่งเป็นปัญหาข้อกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน
ปัญหาเรื่องการใช้สิทธิโดยไม่สุจริต เป็นปัญหาเรื่องอำนาจฟ้องซึ่งเป็นปัญหาข้อกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3973/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจดวันสั่งจ่ายเช็คหลังผู้สั่งจ่ายเสียชีวิต และความรับผิดของผู้รับอาวัล
การจดวันสั่งจ่าย 'ตามที่ถูกต้องแท้จริง' ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 910 ประกอบด้วยมาตรา 989หมายถึงวันที่ผู้ทรงเช็คเห็นสมควรที่จะจดหรือกรอกลงในเช็คซึ่งผู้ทรงมีสิทธิกระทำได้โดยพลการ โดยไม่จำเป็นต้องรอให้ผู้สั่งจ่ายหรือผู้ใดแจ้งให้จด ส่วนคำว่า'ทำการโดยสุจริต' นั้น กฎหมายสันนิษฐานไว้ก่อนว่าบุคคลทุกคนทำการโดยสุจริตตาม นัยมาตรา 6 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หากจำเลยหรือผู้ใดอ้างว่าการจดหรือกรอกวันสั่งจ่ายโดยไม่สุจริตผู้กล่าวอ้างต้องระบุให้ชัดแจ้งถึงเหตุที่ไม่สุจริต และมีหน้าที่นำสืบด้วย
การที่โจทก์ซึ่งเป็นผู้ทรงจดวันสั่งจ่ายลงในเช็คภายหลังจากทราบว่าผู้สั่งจ่ายถึงแก่ความตายถือได้ว่าโจทก์ทำการโดยสุจริต
ในกรณีที่ผู้สั่งจ่ายหรือผู้สลักหลังถึงแก่ความตายบุคคลผู้ลงลายมือชื่อในตั๋วเงินหรือเช็คยังคงต้องรับผิดตามเนื้อความแห่งตั๋วเงินหรือเช็คนั้น
กรณีที่ผู้สั่งจ่ายเช็คถึงแก่ความตาย ผู้ทรงมีสิทธิที่จะเรียกร้องเอาจากกองมรดกของผู้ตายได้ 2 วิธีคือ1. นำเช็คไปยื่นแก่ธนาคารเพื่อให้ใช้เงินตามเช็คถ้าธนาคารทราบว่าผู้สั่งจ่ายตายก็จะปฏิเสธการจ่ายเงินตามมาตรา 992(2) เมื่อธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินด้วยเหตุใดก็ตาม ผู้ทรงเช็คมีสิทธิฟ้องเรียกเงินตามเช็คจากทายาทผู้รับมรดกหรือผู้จัดการมรดกตลอดจนมีสิทธิฟ้องผู้สลักหลังเช็คด้วย หรือ 2. ผู้ทรงมีสิทธิทวงถามให้ชำระเงินตามเช็คจากทายาทผู้รับมรดกหรือผู้จัดการมรดกและผู้สลักหลังได้เลยถ้าผู้ถูกทวงถามไม่ชำระเงินตามเช็ค ผู้ทรงก็มีสิทธิฟ้องเรียกเงินตามเช็คได้โดยไม่จำเป็นต้องนำเช็คไปยื่นหรือเรียกเก็บเงินจากธนาคารตามมาตรา 990 (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 1003/2524)
แม้จำเลยจะได้ให้การต่อสู้ไว้ว่าคดีโจทก์ขาดอายุความแต่จำเลยมิได้ขอให้ศาลชั้นต้นยกขึ้นเป็นประเด็นเพื่อวินิจฉัยถือว่าจำเลยสละข้อต่อสู้ในประเด็นข้อนี้แล้วและศาลก็ไม่รับฎีกาข้อนี้ของจำเลย จึงไม่มีประเด็นที่จะต้องวินิจฉัย
การที่โจทก์ซึ่งเป็นผู้ทรงจดวันสั่งจ่ายลงในเช็คภายหลังจากทราบว่าผู้สั่งจ่ายถึงแก่ความตายถือได้ว่าโจทก์ทำการโดยสุจริต
ในกรณีที่ผู้สั่งจ่ายหรือผู้สลักหลังถึงแก่ความตายบุคคลผู้ลงลายมือชื่อในตั๋วเงินหรือเช็คยังคงต้องรับผิดตามเนื้อความแห่งตั๋วเงินหรือเช็คนั้น
กรณีที่ผู้สั่งจ่ายเช็คถึงแก่ความตาย ผู้ทรงมีสิทธิที่จะเรียกร้องเอาจากกองมรดกของผู้ตายได้ 2 วิธีคือ1. นำเช็คไปยื่นแก่ธนาคารเพื่อให้ใช้เงินตามเช็คถ้าธนาคารทราบว่าผู้สั่งจ่ายตายก็จะปฏิเสธการจ่ายเงินตามมาตรา 992(2) เมื่อธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินด้วยเหตุใดก็ตาม ผู้ทรงเช็คมีสิทธิฟ้องเรียกเงินตามเช็คจากทายาทผู้รับมรดกหรือผู้จัดการมรดกตลอดจนมีสิทธิฟ้องผู้สลักหลังเช็คด้วย หรือ 2. ผู้ทรงมีสิทธิทวงถามให้ชำระเงินตามเช็คจากทายาทผู้รับมรดกหรือผู้จัดการมรดกและผู้สลักหลังได้เลยถ้าผู้ถูกทวงถามไม่ชำระเงินตามเช็ค ผู้ทรงก็มีสิทธิฟ้องเรียกเงินตามเช็คได้โดยไม่จำเป็นต้องนำเช็คไปยื่นหรือเรียกเก็บเงินจากธนาคารตามมาตรา 990 (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 1003/2524)
แม้จำเลยจะได้ให้การต่อสู้ไว้ว่าคดีโจทก์ขาดอายุความแต่จำเลยมิได้ขอให้ศาลชั้นต้นยกขึ้นเป็นประเด็นเพื่อวินิจฉัยถือว่าจำเลยสละข้อต่อสู้ในประเด็นข้อนี้แล้วและศาลก็ไม่รับฎีกาข้อนี้ของจำเลย จึงไม่มีประเด็นที่จะต้องวินิจฉัย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3973/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจดวันสั่งจ่ายเช็คหลังผู้สั่งจ่ายเสียชีวิต และความรับผิดของผู้รับอาวัล
การจดวันสั่งจ่าย "ตามที่ถูกต้องแท้จริง" ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 910 ประกอบด้วยมาตรา 989 หมายถึงวันที่ผู้ทรงเช็คเห็นสมควรที่จะจดหรือกรอกลงในเช็คซึ่งผู้ทรงมีสิทธิกระทำได้โดยพลการ โดยไม่จำเป็นต้องรอให้ผู้สั่งจ่ายหรือผู้ใดแจ้งให้จด ส่วนคำว่า'ทำการโดยสุจริต' นั้นกฎหมายสันนิษฐานไว้ก่อนว่าบุคคลทุกคนทำการโดยสุจริตตามนัยมาตรา 6 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์หากจำเลยหรือผู้ใดอ้างว่าการจดหรือกรอกวันสั่งจ่ายโดยไม่สุจริต ผู้กล่าวอ้างต้องระบุให้ชัดแจ้งถึงเหตุที่ไม่สุจริตและมีหน้าที่นำสืบด้วย
การที่โจทก์ซึ่งเป็นผู้ทรงจดวันสั่งจ่ายลงในเช็คภายหลังจากทราบว่าผู้สั่งจ่ายถึงแก่ความตาย ถือได้ว่าโจทก์ทำการโดยสุจริต
ในกรณีที่ผู้สั่งจ่ายหรือผู้สลักหลังถึงแก่ความตาย บุคคลผู้ลงลายมือชื่อในตั๋วเงินหรือเช็คยังคงต้องรับผิดตามเนื้อความแห่งตั๋วเงินหรือเช็คนั้น
กรณีที่ผู้สั่งจ่ายเช็คถึงแก่ความตาย ผู้ทรงมีสิทธิที่จะเรียกร้องเอาจากกองมรดกของผู้ตายได้ 2 วิธีคือ 1. นำเช็คไปยื่นแก่ธนาคารเพื่อให้ใช้เงินตามเช็คถ้าธนาคารทราบว่าผู้สั่งจ่ายตายก็จะปฏิเสธการจ่ายเงินตามมาตรา 992(2) เมื่อธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินด้วยเหตุใดก็ตาม ผู้ทรงเช็คมีสิทธิฟ้องเรียกเงินตามเช็คจากทายาทผู้รับมรดกหรือผู้จัดการมรดกตลอดจนมีสิทธิฟ้องผู้สลักหลังเช็คด้วย หรือ 2. ผู้ทรงมีสิทธิทวงถามให้ชำระเงินตามเช็คจากทายาทผู้รับมรดกหรือผู้จัดการมรดกและผู้สลักหลังได้เลย ถ้าผู้ถูกทวงถามไม่ชำระเงินตามเช็ค ผู้ทรงก็มีสิทธิฟ้องเรียกเงินตามเช็คได้โดยไม่จำเป็นต้องนำเช็คไปยื่นหรือเรียกเก็บเงินจากธนาคารตามมาตรา 990(อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 1003/2524)
แม้จำเลยจะได้ให้การต่อสู้ไว้ว่าคดีโจทก์ขาดอายุความ แต่จำเลยมิได้ขอให้ศาลชั้นต้นยกขึ้นเป็นประเด็นเพื่อวินิจฉัย ถือว่าจำเลยสละข้อต่อสู้ในประเด็นข้อนี้แล้ว และศาลก็ไม่รับฎีกาข้อนี้ของจำเลย จึงไม่มีประเด็นที่จะต้องวินิจฉัย
การที่โจทก์ซึ่งเป็นผู้ทรงจดวันสั่งจ่ายลงในเช็คภายหลังจากทราบว่าผู้สั่งจ่ายถึงแก่ความตาย ถือได้ว่าโจทก์ทำการโดยสุจริต
ในกรณีที่ผู้สั่งจ่ายหรือผู้สลักหลังถึงแก่ความตาย บุคคลผู้ลงลายมือชื่อในตั๋วเงินหรือเช็คยังคงต้องรับผิดตามเนื้อความแห่งตั๋วเงินหรือเช็คนั้น
กรณีที่ผู้สั่งจ่ายเช็คถึงแก่ความตาย ผู้ทรงมีสิทธิที่จะเรียกร้องเอาจากกองมรดกของผู้ตายได้ 2 วิธีคือ 1. นำเช็คไปยื่นแก่ธนาคารเพื่อให้ใช้เงินตามเช็คถ้าธนาคารทราบว่าผู้สั่งจ่ายตายก็จะปฏิเสธการจ่ายเงินตามมาตรา 992(2) เมื่อธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินด้วยเหตุใดก็ตาม ผู้ทรงเช็คมีสิทธิฟ้องเรียกเงินตามเช็คจากทายาทผู้รับมรดกหรือผู้จัดการมรดกตลอดจนมีสิทธิฟ้องผู้สลักหลังเช็คด้วย หรือ 2. ผู้ทรงมีสิทธิทวงถามให้ชำระเงินตามเช็คจากทายาทผู้รับมรดกหรือผู้จัดการมรดกและผู้สลักหลังได้เลย ถ้าผู้ถูกทวงถามไม่ชำระเงินตามเช็ค ผู้ทรงก็มีสิทธิฟ้องเรียกเงินตามเช็คได้โดยไม่จำเป็นต้องนำเช็คไปยื่นหรือเรียกเก็บเงินจากธนาคารตามมาตรา 990(อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 1003/2524)
แม้จำเลยจะได้ให้การต่อสู้ไว้ว่าคดีโจทก์ขาดอายุความ แต่จำเลยมิได้ขอให้ศาลชั้นต้นยกขึ้นเป็นประเด็นเพื่อวินิจฉัย ถือว่าจำเลยสละข้อต่อสู้ในประเด็นข้อนี้แล้ว และศาลก็ไม่รับฎีกาข้อนี้ของจำเลย จึงไม่มีประเด็นที่จะต้องวินิจฉัย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1018/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การถมที่ดินเพื่อจัดสรรและการระบายน้ำ การกระทำไม่ถือเป็นการละเมิดหากเกิดจากเหตุสุดวิสัย
โจทก์ที่ 2 และจำเลยที่ 2 มีที่ดินอยู่ใกล้เคียงกันโดยมีลำเหมืองสาธารณะคั่นกลาง การที่จำเลยที่ 2 ถมที่ดินของตนซึ่งเดิมมีระดับต่ำกว่าที่ดินของโจทก์ที่ 2ให้มีระดับใกล้เคียงกันย่อมเป็นสิทธิโดยชอบที่จะกระทำ ได้ แม้จำเลยที่ 2 จะถมลำเหมืองสาธารณะเป็นบางส่วนด้วย แต่เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่าการที่เกิดน้ำท่วมที่ดินของโจทก์ที่ 2 ซึ่งโจทก์ ที่ 1 เป็นผู้ทำประโยชน์เป็นผลโดยตรงจากการที่ฝนตกหนัก3วันติดต่อกัน การกระทำดังกล่าวจึงยังถือไม่ได้ว่าเป็นการละเมิดต่อโจทก์ทั้งสอง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1018/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การถมที่ดินเพื่อจัดสรรและการระบายน้ำ การกระทำไม่ถือเป็นการละเมิดหากน้ำท่วมเกิดจากปัจจัยภายนอก
โจทก์ที่ 2 และจำเลยที่ 2 มีที่ดินอยู่ใกล้เคียงกันโดยมีลำเหมืองสาธารณะคั่นกลาง การที่จำเลยที่ 2 ถมที่ดินของตนซึ่งเดิมมีระดับต่ำกว่าที่ดินของโจทก์ที่ 2 ให้มีระดับใกล้เคียงกันย่อมเป็นสิทธิโดยชอบที่จะกระทำได้ แม้จำเลยที่ 2 จะถมลำเหมืองสาธารณะเป็นบางส่วนด้วย แต่เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่าการที่เกิดน้ำท่วมที่ดินของโจทก์ที่ 2 ซึ่งโจทก์ที่ 1 เป็นผู้ทำประโยชน์เป็นผลโดยตรงจากการที่ฝนตกหนัก 3 วันติดต่อกัน การกระทำดังกล่าวจึงยังถือไม่ได้ว่าเป็นการละเมิดต่อโจทก์ทั้งสอง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2056/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญากู้เงินพร้อมมอบเช็คเป็นหลักประกัน มิใช่นิติกรรมอำพราง แม้เช็คไม่สามารถขึ้นเงินได้ ผู้กู้ยังคงมีหน้าที่ชำระหนี้
การนำเช็คไปแลกเงินสดและทำสัญญากู้ไว้โดยมีข้อตกลงว่าถ้าเช็คขึ้นเงินไม่ได้จะต้องชำระเงินตามสัญญากู้หรือการกู้เงินโดยทำหนังสือสัญญากู้เป็นหลักฐานและมอบเช็คลงวันที่ล่วงหน้าเพื่อให้ผู้กู้นำไปขึ้นเงินเมื่อหนี้ถึงกำหนดหามีผลแตกต่างกันไม่
จำเลยทำหนังสือสัญญากู้เงินโจทก์และมอบเช็คซึ่งบุคคลภายนอกเป็นผู้สั่งจ่ายให้โจทก์ยึดถือไว้ จำนวนเงินในเช็คตรงกับจำนวนเงินในสัญญากู้วันสั่งจ่ายตามเช็คก็ตรงกับวันที่จำเลยต้องชำระเงินตามสัญญากู้ในสัญญากู้ระบุไว้ด้วยว่าจำเลยได้มอบเช็คที่บุคคลอื่นเป็นผู้สั่งจ่ายจำเลยเป็นผู้สลักหลังเพื่อให้โจทก์นำไปขึ้นเงินชำระหนี้เงินกู้เมื่อถึงกำหนดทั้งนี้จำเลยได้รับเงินไปจากโจทก์จำนวนหนึ่งโดยโจทก์ คิดหักผลประโยชน์หรือดอกเบี้ยไว้ล่วงหน้าดังนี้มิใช่เป็นเรื่องนิติกรรมอำพรางสัญญากู้หาตกเป็นโมฆะไม่เมื่อโจทก์นำเช็คไปขึ้นเงินไม่ได้ จำเลยก็ต้องผูกพันชำระหนี้แก่โจทก์ตามสัญญากู้
การที่โจทก์ฟ้องจำเลยตามข้อตกลงในสัญญากู้ที่ว่า ถ้าโจทก์ นำเช็คไปขึ้นเงินไม่ได้จำเลยทั้งสองจะต้องชำระหนี้ตามสัญญากู้นั้นหาใช่เป็นการใช้สิทธิโดยไม่สุจริตไม่
จำเลยทำหนังสือสัญญากู้เงินโจทก์และมอบเช็คซึ่งบุคคลภายนอกเป็นผู้สั่งจ่ายให้โจทก์ยึดถือไว้ จำนวนเงินในเช็คตรงกับจำนวนเงินในสัญญากู้วันสั่งจ่ายตามเช็คก็ตรงกับวันที่จำเลยต้องชำระเงินตามสัญญากู้ในสัญญากู้ระบุไว้ด้วยว่าจำเลยได้มอบเช็คที่บุคคลอื่นเป็นผู้สั่งจ่ายจำเลยเป็นผู้สลักหลังเพื่อให้โจทก์นำไปขึ้นเงินชำระหนี้เงินกู้เมื่อถึงกำหนดทั้งนี้จำเลยได้รับเงินไปจากโจทก์จำนวนหนึ่งโดยโจทก์ คิดหักผลประโยชน์หรือดอกเบี้ยไว้ล่วงหน้าดังนี้มิใช่เป็นเรื่องนิติกรรมอำพรางสัญญากู้หาตกเป็นโมฆะไม่เมื่อโจทก์นำเช็คไปขึ้นเงินไม่ได้ จำเลยก็ต้องผูกพันชำระหนี้แก่โจทก์ตามสัญญากู้
การที่โจทก์ฟ้องจำเลยตามข้อตกลงในสัญญากู้ที่ว่า ถ้าโจทก์ นำเช็คไปขึ้นเงินไม่ได้จำเลยทั้งสองจะต้องชำระหนี้ตามสัญญากู้นั้นหาใช่เป็นการใช้สิทธิโดยไม่สุจริตไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2056/2525 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญากู้และการมอบเช็คชำระหนี้: ไม่เป็นนิติกรรมอำพราง แม้เช็คไม่สามารถขึ้นเงินได้ ผู้กู้ยังต้องรับผิดตามสัญญา
การนำเช็คไปแลกเงินสดและทำสัญญากู้ไว้โดยมีข้อตกลงว่า ถ้าเช็คขึ้นเงินไม่ได้จะต้องชำระเงินตามสัญญากู้ หรือการกู้เงินโดยทำหนังสือสัญญากู้เป็นหลักฐานและมอบเช็คลงวันที่ล่วงหน้าเพื่อให้ผู้กู้นำไปขึ้นเงิน เมื่อหนี้ถึงกำหนด หามีผลแตกต่างกันไม่
จำเลยทำหนังสือสัญญากู้เงินโจทก์และมอบเช็คซึ่งบุคคลภายนอกเป็นผู้สั่งจ่ายให้โจทก์ยึดถือไว้ จำนวนเงินในเช็คตรงกับจำนวนเงินในสัญญากู้ วันสั่งจ่ายตามเช็คก็ตรงกับวันที่จำเลยต้องชำระเงินตามสัญญากู้ ในสัญญากู้ระบุไว้ด้วยว่าจำเลยได้มอบเช็คที่บุคคลอื่นเป็นผู้สั่งจ่ายจำเลยเป็นผู้สลักหลัง เพื่อให้โจทก์นำไปขึ้นเงินชำระหนี้เงินกู้เมื่อถึงกำหนด ทั้งนี้จำเลยได้รับเงินไปจากโจทก์จำนวนหนึ่ง โดยโจทก์คิดหักผลประโยชน์หรือดอกเบี้ยไว้ล่วงหน้าดังนี้มิใช่ เป็นเรื่องนิติกรรมอำพราง สัญญากู้หาตกเป็นโมฆะไม่ เมื่อโจทก์นำเช็คไปขึ้นเงินไม่ได้ จำเลยก็ต้อง ผูกพันชำระหนี้แก่โจทก์ตามสัญญากู้
การที่โจทก์ฟ้องจำเลยตามข้อตกลงในสัญญากู้ที่ว่า ถ้าโจทก์ นำเช็คไปขึ้นเงินไม่ได้จำเลยทั้งสองจะต้องชำระหนี้ตามสัญญากู้นั้น หาใช่เป็นการใช้สิทธิโดยไม่สุจริตไม่
จำเลยทำหนังสือสัญญากู้เงินโจทก์และมอบเช็คซึ่งบุคคลภายนอกเป็นผู้สั่งจ่ายให้โจทก์ยึดถือไว้ จำนวนเงินในเช็คตรงกับจำนวนเงินในสัญญากู้ วันสั่งจ่ายตามเช็คก็ตรงกับวันที่จำเลยต้องชำระเงินตามสัญญากู้ ในสัญญากู้ระบุไว้ด้วยว่าจำเลยได้มอบเช็คที่บุคคลอื่นเป็นผู้สั่งจ่ายจำเลยเป็นผู้สลักหลัง เพื่อให้โจทก์นำไปขึ้นเงินชำระหนี้เงินกู้เมื่อถึงกำหนด ทั้งนี้จำเลยได้รับเงินไปจากโจทก์จำนวนหนึ่ง โดยโจทก์คิดหักผลประโยชน์หรือดอกเบี้ยไว้ล่วงหน้าดังนี้มิใช่ เป็นเรื่องนิติกรรมอำพราง สัญญากู้หาตกเป็นโมฆะไม่ เมื่อโจทก์นำเช็คไปขึ้นเงินไม่ได้ จำเลยก็ต้อง ผูกพันชำระหนี้แก่โจทก์ตามสัญญากู้
การที่โจทก์ฟ้องจำเลยตามข้อตกลงในสัญญากู้ที่ว่า ถ้าโจทก์ นำเช็คไปขึ้นเงินไม่ได้จำเลยทั้งสองจะต้องชำระหนี้ตามสัญญากู้นั้น หาใช่เป็นการใช้สิทธิโดยไม่สุจริตไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 884/2523
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิจำนองโดยสุจริตและการได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์โดยทางอื่น: การคุ้มครองสิทธิของบุคคลภายนอก
ศาลพิพากษาให้จำเลยชำระหนี้จำนอง จำเลยไม่ปฏิบัติตามคำบังคับ โจทก์จึงนำเจ้าพนักงานบังคับคดียึดที่ดินที่จำนองเพื่อขายทอดตลาดเอาเงินชำระหนี้ตามคำพิพากษา ผู้ร้องยื่นคำร้องว่า ที่ดินที่โจทก์นำยึดดังกล่าวผู้ร้องมีกรรมสิทธิ์อยู่ด้วยส่วนหนึ่ง โดยผู้ร้องได้ครอบครองโดยความสงบเปิดเผยด้วยเจตนาเป็นเจ้าของติดต่อกันเป็นเวลาเกิน 10ปีแล้วตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1382 จึงขอให้ปล่อยการยึดที่ดินเฉพาะส่วนที่เป็นกรรมสิทธิ์ของผู้ร้องโจทก์ให้การว่าโจทก์รับจำนองไว้โดยสุจริตเสียค่าตอบแทนข้ออ้างของผู้ร้องจึงยกขึ้นต่อสู้โจทก์ไม่ได้ ดังนี้ตามข้ออ้างของผู้ร้องเป็นเพียงการได้มาซึ่งสิทธิอันเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์โดยทางอื่นอันมิใช่เป็นการได้มาโดยทางนิติกรรม แต่ผู้ร้องไม่ได้จดทะเบียนสิทธิของตนไว้ จึงไม่อาจทำให้มีการเปลี่ยนแปลงทางทะเบียนได้ ทั้งต้องห้ามมิให้ยกเป็นข้อต่อสู้บุคคลภายนอกผู้ได้สิทธิมาโดยเสียค่าตอบแทนและได้จดทะเบียนสิทธิโดยสุจริตแล้วดังที่บัญญัติไว้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1299 ส่วนปัญหาว่าโจทก์รับจำนองไว้โดยสุจริตหรือไม่ ผู้ร้องก็ไม่ได้กล่าวอ้างหรือยกเป็นประเด็นเพื่อการนำสืบไว้ในคำร้องทั้ง ๆ ที่ภาระการพิสูจน์ตกแก่ฝ่ายตนที่จะหักล้างข้อสันนิษฐานอันเป็นคุณแก่โจทก์ว่า บุคคลทุกคนกระทำการโดยสุจริตตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 6 คดีจึงไม่มีประเด็น ข้อพิพาทว่าโจทก์รับจำนองโดยสุจริตหรือไม่ข้อเท็จจริงฟังได้ตามคำร้องและคำให้การของโจทก์แล้วว่าโจทก์รับจำนองที่พิพาทโดยเสียค่าตอบแทนและโดยสุจริตและได้จดทะเบียนสิทธิโดยสุจริตแล้ว จึงได้รับความคุ้มครองตามมาตรา 1299 วรรคสอง ผู้ร้องย่อมไม่มีสิทธิขอให้ปล่อยทรัพย์พิพาท
ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์หยิบยกประเด็นเรื่องโจทก์รับจำนองไว้โดยสุจริตหรือไม่ขึ้นวินิจฉัย เป็นการไม่ชอบ ถือว่าเป็นข้อที่ไม่ได้ว่ากล่าวกันมาในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ ผู้ร้องฎีกาในปัญหาข้อนี้จึงเป็นฎีกานอกประเด็นที่ไม่ได้ว่ากล่าวกันมาในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยให้
ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์หยิบยกประเด็นเรื่องโจทก์รับจำนองไว้โดยสุจริตหรือไม่ขึ้นวินิจฉัย เป็นการไม่ชอบ ถือว่าเป็นข้อที่ไม่ได้ว่ากล่าวกันมาในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ ผู้ร้องฎีกาในปัญหาข้อนี้จึงเป็นฎีกานอกประเด็นที่ไม่ได้ว่ากล่าวกันมาในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยให้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 884/2523 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิจำนอง vs. สิทธิครอบครองปรปักษ์: บุคคลภายนอกผู้ได้สิทธิโดยสุจริตและเสียค่าตอบแทนย่อมได้รับการคุ้มครอง
ศาลพิพากษาให้จำเลยชำระหนี้จำนอง จำเลยไม่ปฏิบัติตามคำบังคับ โจทก์จึงนำเจ้าพนักงานบังคับคดียึดที่ดินที่จำนองเพื่อขายทอดตลาดเอาเงินชำระหนี้ตามคำพิพากษาผู้ร้องยื่นคำร้องว่า ที่ดินที่โจทก์นำยึดดังกล่าวผู้ร้องมีกรรมสิทธิ์อยู่ด้วยส่วนหนึ่ง โดยผู้ร้องได้ครอบครองโดยความสงบเปิดเผยด้วยเจตนาเป็นเจ้าของติดต่อกันเป็นเวลาเกิน 10 ปี แล้วตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1382 จึงขอให้ปล่อยการยึดที่ดินเฉพาะส่วนที่เป็นกรรมสิทธิ์ของผู้ร้อง โจทก์ให้การว่าโจทก์จับจำนองไว้โดยสุจริตเสียค่าตอบแทนข้ออ้างของผู้ร้องจึงยกขึ้นต่อสู้โจทก์ไม่ได้ ดังนี้ ตามข้ออ้างของผู้ร้องเป็นเพียงการได้มาซึ่งสิทธิอันเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์โดยทางอื่น อันมิใช่เป็นการได้มาโดยทางนิติกรรม แต่ผู้ร้องไม่ได้จดทะเบียนสิทธิของตนได้ จึงไม่อาจทำให้มีการเปลี่ยนแปลงทางทะเบียนได้ ทั้งต้องห้ามมิให้ยกเป็นข้อต่อสู้บุคคลภายนอกผู้ได้สิทธิมาโดยเสียค่าตอบแทนและได้จดทะเบียนสิทธิโดยสุจริตแล้วดังที่บัญญัติไว้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1299 ส่วนปัญหาว่าโจทก์รับจำนองไว้โดยสุจริตหรือไม่ ผู้ร้องก็ไม่ได้กล่าวอ้างหรือยกเป็นประเด็นเพื่อการนำสืบไว้ในคำร้อง ทั้ง ๆ ที่ภาระการพิสูจน์ตกแก่ฝ่ายตนที่จะหักล้างข้อสันนิษฐานอันเป็นคุณแก่โจทก์ว่า บุคคลทุกคนกระทำการโดยสุจริตตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 6 คดีจึงไม่มีประเด็นข้อพิพาทว่าโจทก์รับจำนองโดยสุจริตหรือไม่ ข้อเท็จจริงฟังได้ตามคำร้องและคำให้การของโจทก์แล้วว่า โจทก์รับจำนองที่พิพาทโดยเสียค่าตอบแทนและโดยสุจริตและได้จดทะเบียนสิทธิโดยสุจริตแล้ว จึงได้รับความคุ้มครองตามมาตรา 1299 วรรคสองผู้ร้องย่อมไม่มีสิทธิขอให้ปล่อยทรัพย์พิพาท
ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์หยิบยกประเด็นเรื่องโจทก์รับจำนองไว้โดยสุจริตหรือไม่ขึ้นวินิจฉัย เป็นการไม่ชอบ ถือว่าเป็นข้อที่ไม่ได้ว่ากล่าวกันมาในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ ผู้ร้องฎีกาในปัญหาข้อนี้จึงเป็นฎีกานอกประเด็นที่ไม่ได้ว่ากล่าวกันมาในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยให้
ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์หยิบยกประเด็นเรื่องโจทก์รับจำนองไว้โดยสุจริตหรือไม่ขึ้นวินิจฉัย เป็นการไม่ชอบ ถือว่าเป็นข้อที่ไม่ได้ว่ากล่าวกันมาในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ ผู้ร้องฎีกาในปัญหาข้อนี้จึงเป็นฎีกานอกประเด็นที่ไม่ได้ว่ากล่าวกันมาในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยให้