พบผลลัพธ์ทั้งหมด 21 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3980/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแบ่งสินสมรสกรณีคู่สมรสสมรสก่อนใช้ประมวลกฎหมายแพ่งฯ และการโอนสินสมรสโดยเสน่หา
ในคดีฟ้องขอให้แยกสินสมรสตามกฎหมายลักษณะผัวเมีย เมื่อคำฟ้องโจทก์บรรยายไว้พอเข้าใจได้ว่า โจทก์และจำเลยที่ 1 ต่างก็มีสินเดิม ดังนี้หากจำเลยมิได้ให้การต่อสู้ว่าโจทก์ไม่มีสินเดิมประเด็นข้อพิพาทระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 ในข้อมีสินเดิมหรือไม่จึงไม่เกิดขึ้น จำเลยไม่มีสิทธินำพยานมาสืบได้ แม้ศาลชั้นต้นให้จำเลยสืบก็เป็นการสืบนอกประเด็น และหากศาลรับวินิจฉัยก็เป็นการวินิจฉัยนอกประเด็น
เมื่อศาลฎีกาเห็นว่าศาลล่างทั้งสองวินิจฉัยนอกประเด็นและยังมีประเด็นข้ออื่นที่ศาลฎีกาจะต้องวินิจฉัยต่อไป แต่ศาลล่างทั้งสองยังมิได้วินิจฉัยมาและข้อเท็จจริงตามทางนำสืบของโจทก์จำเลยเพียงพอแก่การวินิจฉัยแล้ว ศาลฎีกามีอำนาจวินิจฉัยไปเลยทีเดียวโดยไม่ต้องย้อนสำนวนไปให้ศาลล่างทั้งสองพิพากษาใหม่
โจทก์จำเลยที่ 1 สมรสกันก่อนใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพ 5 (เดิม) ความสัมพันธ์ในครอบครัวอันเกิดแต่การสมรส กฎหมายลักษณะผัวเมียไม่ได้บัญญัติไว้ว่าให้มีการแยกสินสมรสโดยไม่ได้ฟ้องหย่า แต่ก็ไม่มีบังคับไว้ว่าถ้ายังไม่หย่าจะต้องบริคณห์ทรัพย์สินกันเสมอไปจะแยกมิได้ ฉะนั้นการที่จะนำประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1475 และ 1484 มาใช้แก่คู่สมรสซึ่งสมรสกันก่อนประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 (เดิม)จึงไม่เป็นการกระทบกระเทือนถึงการสมรสหรือความสัมพันธ์ในครอบครัวตามความหมายที่พระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติบรรพ 5 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พ.ศ. 2477 มาตรา 4(1) และพระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติ บรรพ 5 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่ตรวจชำระใหม่ พ.ศ. 2519 มาตรา 4ได้ยกเว้นนั้นแต่อย่างใด จำเลยที่ 1 จดทะเบียนโอนที่ดินซึ่งเป็นสินสมรสระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 ให้จำเลยที่ 2 ที่ 3 โดยเสน่หาโจทก์จึงมีสิทธิฟ้องขอแบ่งสินสมรสดังกล่าวได้
เมื่อศาลฎีกาเห็นว่าศาลล่างทั้งสองวินิจฉัยนอกประเด็นและยังมีประเด็นข้ออื่นที่ศาลฎีกาจะต้องวินิจฉัยต่อไป แต่ศาลล่างทั้งสองยังมิได้วินิจฉัยมาและข้อเท็จจริงตามทางนำสืบของโจทก์จำเลยเพียงพอแก่การวินิจฉัยแล้ว ศาลฎีกามีอำนาจวินิจฉัยไปเลยทีเดียวโดยไม่ต้องย้อนสำนวนไปให้ศาลล่างทั้งสองพิพากษาใหม่
โจทก์จำเลยที่ 1 สมรสกันก่อนใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพ 5 (เดิม) ความสัมพันธ์ในครอบครัวอันเกิดแต่การสมรส กฎหมายลักษณะผัวเมียไม่ได้บัญญัติไว้ว่าให้มีการแยกสินสมรสโดยไม่ได้ฟ้องหย่า แต่ก็ไม่มีบังคับไว้ว่าถ้ายังไม่หย่าจะต้องบริคณห์ทรัพย์สินกันเสมอไปจะแยกมิได้ ฉะนั้นการที่จะนำประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1475 และ 1484 มาใช้แก่คู่สมรสซึ่งสมรสกันก่อนประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 (เดิม)จึงไม่เป็นการกระทบกระเทือนถึงการสมรสหรือความสัมพันธ์ในครอบครัวตามความหมายที่พระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติบรรพ 5 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พ.ศ. 2477 มาตรา 4(1) และพระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติ บรรพ 5 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่ตรวจชำระใหม่ พ.ศ. 2519 มาตรา 4ได้ยกเว้นนั้นแต่อย่างใด จำเลยที่ 1 จดทะเบียนโอนที่ดินซึ่งเป็นสินสมรสระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 ให้จำเลยที่ 2 ที่ 3 โดยเสน่หาโจทก์จึงมีสิทธิฟ้องขอแบ่งสินสมรสดังกล่าวได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3980/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแบ่งสินสมรสหลังสมรสก่อนใช้ประมวลกฎหมายแพ่งฯ ศาลฎีกาพิพากษากลับให้แบ่งสินสมรสเป็นธรรม
ในคดีฟ้องขอให้แยกสินสมรสตามกฎหมายลักษณะผัวเมีย เมื่อคำฟ้องโจทก์บรรยายไว้พอเข้าใจได้ว่า โจทก์และจำเลยที่ 1 ต่างก็มีสินเดิม ดังนี้หากจำเลยมิได้ให้การต่อสู้ว่าโจทก์ไม่มีสินเดิมประเด็นข้อพิพาทระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 ในข้อมีสินเดิมหรือไม่จึงไม่เกิดขึ้น จำเลยไม่มีสิทธินำพยานมาสืบได้ แม้ศาลชั้นต้นให้จำเลยสืบก็เป็นการสืบนอกประเด็น และหากศาลรับวินิจฉัยก็เป็นการวินิจฉัยนอกประเด็น เมื่อศาลฎีกาเห็นว่าศาลล่างทั้งสองวินิจฉัยนอกประเด็นและยังมีประเด็นข้ออื่นที่ศาลฎีกาจะต้องวินิจฉัยต่อไป แต่ศาลล่างทั้งสองยังมิได้วินิจฉัยมาและข้อเท็จจริงตามทางนำสืบของโจทก์จำเลยเพียงพอแก่การวินิจฉัยแล้ว ศาลฎีกามีอำนาจวินิจฉัยไปเลยทีเดียวโดยไม่ต้องย้อนสำนวนไปให้ศาลล่างทั้งสองพิพากษาใหม่ โจทก์จำเลยที่ 1 สมรสกันก่อนใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพ 5(เดิม) ความสัมพันธ์ในครอบครัวอันเกิดแต่การสมรส กฎหมายลักษณะผัวเมียไม่ได้บัญญัติไว้ว่าให้มีการแยกสินสมรสโดยไม่ได้ฟ้องหย่า แต่ก็ไม่มีบังคับไว้ว่าถ้ายังไม่หย่าจะต้องบริคณห์ทรัพย์สินกันเสมอไปจะแยกมิได้ ฉะนั้นการที่จะนำประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1475 และ 1484 มาใช้แก่คู่สมรสซึ่งสมรสกันก่อนประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5(เดิม)จึงไม่เป็นการกระทบกระเทือนถึงการสมรสหรือความสัมพันธ์ในครอบครัวตามความหมายที่พระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติบรรพ 5 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พ.ศ. 2477 มาตรา 4(1) และพระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติ บรรพ 5 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่ตรวจชำระใหม่ พ.ศ. 2519 มาตรา 4ได้ยกเว้นนั้นแต่อย่างใด จำเลยที่ 1 จดทะเบียนโอนที่ดินซึ่งเป็นสินสมรสระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 ให้จำเลยที่ 2 ที่ 3 โดยเสน่หาโจทก์จึงมีสิทธิฟ้องขอแบ่งสินสมรสดังกล่าวได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1550/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าหนี้มีประกันในคดีล้มละลาย: การจำนองทรัพย์สินโดยบุคคลอื่นไม่ใช่เจ้าหนี้มีประกัน
การที่ผู้ร้องแต่ผู้เดียวจำนองทรัพย์สินเป็นประกันเงินกู้ที่จำเลยผู้เป็นลูกหนี้ทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีกับโจทก์ผู้เป็นเจ้าหนี้ ไม่ถือว่าโจทก์ผู้เป็นเจ้าหนี้เป็น 'เจ้าหนี้มีประกัน' ตามพระราชบัญญัติล้มละลายพ.ศ. 2483 มาตรา 6 การที่โจทก์ผู้เป็นเจ้าหนี้ยื่นคำร้องขอรับชำระหนี้ถือได้ว่าเป็นการขอรับชำระหนี้อย่างมิใช่ 'เจ้าหนี้มีประกัน' มิใช่เป็นเรื่องที่โจทก์ผู้เป็นเจ้าหนี้ยินยอมสละทรัพย์สินอันเป็นหลักประกันเพื่อประโยชน์แก่เจ้าหนี้ทั้งหลาย ตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483มาตรา 96(1) หนี้จำนองระหว่างผู้ร้องกับโจทก์ผู้เป็นเจ้าหนี้ยังมีอยู่ตามสัญญาจำนอง โจทก์ผู้เป็นเจ้าหนี้มีสิทธิจะได้รับชำระหนี้ก่อนตามสัญญาจำนอง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1550/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าหนี้มีประกันในคดีล้มละลาย: การจำนองทรัพย์สินโดยบุคคลอื่นย่อมไม่ถือเป็นเจ้าหนี้มีประกัน
การที่ผู้ร้องแต่ผู้เดียวจำนองทรัพย์สินเป็นประกันเงินกู้ที่จำเลยผู้เป็นลูกหนี้ทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีกับโจทก์ผู้เป็นเจ้าหนี้ ไม่ถือว่าโจทก์ผู้เป็นเจ้าหนี้เป็น 'เจ้าหนี้มีประกัน' ตามพระราชบัญญัติล้มละลายพ.ศ. 2483 มาตรา 6 การที่โจทก์ผู้เป็นเจ้าหนี้ยื่นคำร้องขอรับชำระหนี้ถือได้ว่าเป็นการขอรับชำระหนี้อย่างมิใช่ 'เจ้าหนี้มีประกัน' มิใช่เป็นเรื่องที่โจทก์ผู้เป็นเจ้าหนี้ยินยอมสละทรัพย์สินอันเป็นหลักประกันเพื่อประโยชน์แก่เจ้าหนี้ทั้งหลาย ตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483มาตรา 96 (1) หนี้จำนองระหว่างผู้ร้องกับโจทก์ผู้เป็นเจ้าหนี้ยังมีอยู่ตามสัญญาจำนอง โจทก์ผู้เป็นเจ้าหนี้มีสิทธิจะได้รับชำระหนี้ก่อนตามสัญญาจำนอง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1648/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนี้ร่วมสามีภริยาและการบังคับคดีต่อสินส่วนตัวหลังล้มละลาย
จำเลยสองสามีภริยาต้องคำพิพากษาให้ร่วมกันใช้ค่าเสียหายแก่โจทก์ แม้โจทก์จะร้องขอรับชำระหนี้ในคดีที่สามีถูกฟ้องล้มละลายแล้ว หากโจทก์ยังได้รับชำระไม่ครบ โจทก์ย่อมขอให้บังคับคดีตามคำพิพากษาเอาแก่ทรัพย์สินของภริยาได้ต่อไปจนครบถ้วน
ในกรณีสามีภริยาต้องรับผิดใช้หนี้ร่วมกัน กฎหมายบัญญัติให้ใช้จากสินบริคณห์และสินส่วนตัวของทั้งสองฝ่าย
สามีหรือภริยาต้องคำพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลายสินบริคณห์ย่อมแยกจากกันโดยอำนาจกฎหมายนับแต่วันที่ศาลพิพากษาให้ล้มละลายนั้น เป็นหน้าที่ของอีกฝ่ายที่จะต้องขอกันส่วนของตนไว้
ในกรณีสามีภริยาต้องรับผิดใช้หนี้ร่วมกัน กฎหมายบัญญัติให้ใช้จากสินบริคณห์และสินส่วนตัวของทั้งสองฝ่าย
สามีหรือภริยาต้องคำพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลายสินบริคณห์ย่อมแยกจากกันโดยอำนาจกฎหมายนับแต่วันที่ศาลพิพากษาให้ล้มละลายนั้น เป็นหน้าที่ของอีกฝ่ายที่จะต้องขอกันส่วนของตนไว้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1648/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนี้ร่วมสามีภริยาบังคับคดีได้แม้สามีล้มละลาย โจทก์มีสิทธิยึดทรัพย์สินส่วนตัวภริยาชำระหนี้
จำเลยสองสามีภริยาต้องคำพิพากษาให้ร่วมกันใช้ค่าเสียหายแก่โจทก์ แม้โจทก์จะร้องขอรับชำระหนี้ในคดีที่สามีถูกฟ้องล้มละลายแล้ว หากโจทก์ยังได้รับชำระไม่ครบ โจทก์ย่อมขอให้บังคับคดีตามคำพิพากษาเอาแก่ทรัพย์สินของภริยาได้ต่อไปจนครบถ้วน
ในกรณีสามีภริยาต้องรับผิดใช้หนี้ร่วมกัน กฎหมายบัญญัติให้ใช้จากสินบริคณห์และสินส่วนตัวของทั้งสองฝ่าย
สามีหรือภริยาต้องคำพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลายสินบริคณห์ย่อมแยกจากกันโดยอำนาจกฎหมายนับแต่วันที่ศาลพิพากษาให้ล้มละลายนั้น เป็นหน้าที่ของอีกฝ่ายที่จะต้องขอกันส่วนของตนไว้
ในกรณีสามีภริยาต้องรับผิดใช้หนี้ร่วมกัน กฎหมายบัญญัติให้ใช้จากสินบริคณห์และสินส่วนตัวของทั้งสองฝ่าย
สามีหรือภริยาต้องคำพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลายสินบริคณห์ย่อมแยกจากกันโดยอำนาจกฎหมายนับแต่วันที่ศาลพิพากษาให้ล้มละลายนั้น เป็นหน้าที่ของอีกฝ่ายที่จะต้องขอกันส่วนของตนไว้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1648/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนี้ร่วมสามีภริยาและการบังคับคดีต่อสินส่วนตัวหลังล้มละลาย
จำเลยสองสามีภริยาต้องคำพิพากษาให้ร่วมกันใช้ค่าเสียหายแก่โจทก์. แม้โจทก์จะร้องขอรับชำระหนี้ในคดีที่สามีถูกฟ้องล้มละลายแล้ว. หากโจทก์ยังได้รับชำระไม่ครบ. โจทก์ย่อมขอให้บังคับคดีตามคำพิพากษาเอาแก่ทรัพย์สินของภริยาได้ต่อไปจนครบถ้วน.
ในกรณีสามีภริยาต้องรับผิดใช้หนี้ร่วมกัน. กฎหมายบัญญัติให้ใช้จากสินบริคณห์และสินส่วนตัวของทั้งสองฝ่าย.
สามีหรือภริยาต้องคำพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย.สินบริคณห์ย่อมแยกจากกันโดยอำนาจกฎหมายนับแต่วันที่ศาลพิพากษาให้ล้มละลายนั้น. เป็นหน้าที่ของอีกฝ่ายที่จะต้องขอกันส่วนของตนไว้.
ในกรณีสามีภริยาต้องรับผิดใช้หนี้ร่วมกัน. กฎหมายบัญญัติให้ใช้จากสินบริคณห์และสินส่วนตัวของทั้งสองฝ่าย.
สามีหรือภริยาต้องคำพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย.สินบริคณห์ย่อมแยกจากกันโดยอำนาจกฎหมายนับแต่วันที่ศาลพิพากษาให้ล้มละลายนั้น. เป็นหน้าที่ของอีกฝ่ายที่จะต้องขอกันส่วนของตนไว้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 635/2490
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ยึดสินบริคณห์เมื่อภริยาล้มละลาย แม้หนี้เกิดก่อนบังคับใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
เมื่อภริยาต้องคำพิพากษาให้ล้มละลาย เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ย่อมมีสิทธิจะยึดสินบริคณห์มาแบ่งแยกส่วนของผู้ล้มละลายได้
หญิงมีสามีเป็นบุคคลที่บรรลุนิติภาวะแล้ว นิติกรรมที่ได้ทำขึ้นจึงผูกพันหญิงตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 37
เมื่อศาลได้มีคำพิพากษาให้ล้มละลายแล้ว หนี้ที่ฟ้องล้มละลายจะเกิน 10 ปีแล้วก็ไม่มีเหตุที่จะถือว่าคำพิพากษาไม่สมบูรณ์แต่อย่างใด
แม้จะเป็นหนี้เกิดก่อนวันใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพ 5 ก็ดี ก็แบ่งแยกสินบริคณห์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1484 ได้ ไม่ขัดกับบทกฎหมายเก่าหรือใหม่อย่างใด
หญิงมีสามีเป็นบุคคลที่บรรลุนิติภาวะแล้ว นิติกรรมที่ได้ทำขึ้นจึงผูกพันหญิงตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 37
เมื่อศาลได้มีคำพิพากษาให้ล้มละลายแล้ว หนี้ที่ฟ้องล้มละลายจะเกิน 10 ปีแล้วก็ไม่มีเหตุที่จะถือว่าคำพิพากษาไม่สมบูรณ์แต่อย่างใด
แม้จะเป็นหนี้เกิดก่อนวันใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพ 5 ก็ดี ก็แบ่งแยกสินบริคณห์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1484 ได้ ไม่ขัดกับบทกฎหมายเก่าหรือใหม่อย่างใด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 635/2490 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเจ้าหนี้ในการยึดสินบริคณีของคู่สมรสที่ล้มละลาย แม้หนี้เกิดก่อนบังคับใช้ ป.ม.แพ่ง
เมื่อภริยาต้องคำพิพากษาให้ล้มละลาย เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ย่อมมีสิทธิจะยึดสินบริคนห์มาแบ่งแยกส่วนของผู้ล้มละลายได้
หญิงมีสามีเป็นบุคคลที่บรรลุนิติภาวะแล้ว นิติกรรมที่ได้ทำขึ้นจึงผูกพันธ์หญิงตาม ป.ม.แพ่งฯ ม. 37
เมื่อศาลได้มีคำพิพากษาให้ล้มละลายแล้ว หนี้ที่ฟ้องล้มละลายจะเกิน 10 ปี แล้วก็ไม่มีเหตุทีจะถือว่าคำพิพากษาไม่สมบูรณ์แต่อย่างใด
แม้จะเป็นหนี้เกิดก่อนวันใช้ ป.ม.แพ่งฯบรรพ 5 ก็ดี ก็แบ่งแยกสินบริคนห์ตาม ป.ม.แพ่งฯ ม.1484 ได้ ไม่ขัดกับบท ก.ม.เก่าหรือใหม่อย่างใด
หญิงมีสามีเป็นบุคคลที่บรรลุนิติภาวะแล้ว นิติกรรมที่ได้ทำขึ้นจึงผูกพันธ์หญิงตาม ป.ม.แพ่งฯ ม. 37
เมื่อศาลได้มีคำพิพากษาให้ล้มละลายแล้ว หนี้ที่ฟ้องล้มละลายจะเกิน 10 ปี แล้วก็ไม่มีเหตุทีจะถือว่าคำพิพากษาไม่สมบูรณ์แต่อย่างใด
แม้จะเป็นหนี้เกิดก่อนวันใช้ ป.ม.แพ่งฯบรรพ 5 ก็ดี ก็แบ่งแยกสินบริคนห์ตาม ป.ม.แพ่งฯ ม.1484 ได้ ไม่ขัดกับบท ก.ม.เก่าหรือใหม่อย่างใด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 632/2490 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สามีไม่มีสิทธิฟ้องเพิกถอนคำพิพากษาล้มละลายของภรรยา แม้เกี่ยวข้องกับสินสมรส
ภรรยาต้องคำพิพากษาล้มละลาย สามีไม่มีสิทธิฟ้องขอให้เพิกถอนคำพิพากษานั้น