พบผลลัพธ์ทั้งหมด 127 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1687/2500
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าหมดอายุ, การฟ้องซ้ำ, และผลของการไม่จดทะเบียนสัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์
คดีแรกโจทก์ฟ้องขับไล่จำเลยอาศัยเหตุที่คณะกรรมการควบคุมค่าเช่าลงมติให้โจทก์เข้าอยู่ในห้องพิพาทได้ ศาลพิพากษาให้ยกฟ้องไปแล้ว คดีหลังโจทก์ฟ้องขับไล่จำเลยอีก แต่อาศัยเหตุที่สัญญาเช่าหมดอายุแล้ว เช่นนี้ไม่เป็นการฟ้องซ้ำ เพราะอาศัยเหตุที่ฟ้องต่างกัน
เมื่อฟังว่าจำเลยเช่าเพื่อประกอบการค้าโดยตรง ก็ย่อมไม่ได้รับความคุ้มครองตาม พระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯ
ทำสัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์กันไว้ 5 ปี แต่ไม่มีการจดทะเบียนการเช่า ย่อมมีผลบังคับได้เพียง 3 ปีเท่านั้น เมื่อครบ 3 ปีแล้วผู้ให้เช่าก็มีสิทธิที่จะบอกเลิกสัญญาเช่าได้
ทำสัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์กันไว้ 5 ปี แต่เมื่อไม่ปรากฏในหนังสือสัญญาเช่าว่าจะไปจดทะเบียนการเช่าในภายหลังย่อมไม่ผูกพันผู้รับโอนทรัพย์ที่ให้เช่า ให้จำต้องไปจดทะเบียนการเช่าให้แก่ผู้เช่า
เมื่อฟังว่าจำเลยเช่าเพื่อประกอบการค้าโดยตรง ก็ย่อมไม่ได้รับความคุ้มครองตาม พระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯ
ทำสัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์กันไว้ 5 ปี แต่ไม่มีการจดทะเบียนการเช่า ย่อมมีผลบังคับได้เพียง 3 ปีเท่านั้น เมื่อครบ 3 ปีแล้วผู้ให้เช่าก็มีสิทธิที่จะบอกเลิกสัญญาเช่าได้
ทำสัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์กันไว้ 5 ปี แต่เมื่อไม่ปรากฏในหนังสือสัญญาเช่าว่าจะไปจดทะเบียนการเช่าในภายหลังย่อมไม่ผูกพันผู้รับโอนทรัพย์ที่ให้เช่า ให้จำต้องไปจดทะเบียนการเช่าให้แก่ผู้เช่า
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1651/2500
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องขับไล่, การบอกเลิกสัญญาเช่า, ค่าเสียหายจากการเช่าพื้นที่ค้า
จำเลยรับว่าเช่าที่จากโจทก์ถือได้ว่าโจทก์เป็นคู่สัญญากับจำเลย โจทก์มีอำนาจฟ้องขับไล่จำเลยให้ออกจากที่เช่าโดยไม่จำเป็นต้องเรียกคนอื่นที่ร่วมเช่าที่กับโจทก์มาเข้าชื่อฟ้องด้วย
จำเลยปลูกห้องแถว 5 ห้อง 2 ชั้น กั้นอยู่เฉพาะชั้นบน ติดป้ายว่าเป็นบริษัทรับก่อสร้าง อยู่ในที่ทำเลการค้าถือว่าห้องนั้นไม่ใช่เคหะ
ผู้แทนโจทก์บอกเลิกสัญญากับจำเลยแล้ว แม้จำเลยจะอยู่ต่อมาและโจทก์ก็ยังเก็บค่าเช่า ถือว่าโจทก์ผ่อนผันให้จำเลย มิใช่เจตนาต่อสัญญาเช่ากับจำเลย
โจทก์เบิกความยืนยันว่าโจทก์ได้ค่าเช่าจากจำเลยเดือนละ 56 บาท จำเลยไม่สืบคัดค้าน ศาลย่อมให้ค่าเสียหายแก่โจทก์ตามอัตรานี้ได้
จำเลยปลูกห้องแถว 5 ห้อง 2 ชั้น กั้นอยู่เฉพาะชั้นบน ติดป้ายว่าเป็นบริษัทรับก่อสร้าง อยู่ในที่ทำเลการค้าถือว่าห้องนั้นไม่ใช่เคหะ
ผู้แทนโจทก์บอกเลิกสัญญากับจำเลยแล้ว แม้จำเลยจะอยู่ต่อมาและโจทก์ก็ยังเก็บค่าเช่า ถือว่าโจทก์ผ่อนผันให้จำเลย มิใช่เจตนาต่อสัญญาเช่ากับจำเลย
โจทก์เบิกความยืนยันว่าโจทก์ได้ค่าเช่าจากจำเลยเดือนละ 56 บาท จำเลยไม่สืบคัดค้าน ศาลย่อมให้ค่าเสียหายแก่โจทก์ตามอัตรานี้ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 991/2499
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเช่าเพื่อค้าและการโอนกิจการ: สิทธิเช่าคงอยู่เมื่อมีการโอนกิจการ ผู้เช่าใหม่ไม่มีสิทธิคุ้มครองตามพ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่า
จำเลยที่ 1 กับผู้มีชื่อร่วมกันเช่าห้องพิพาทจากเจ้าของเดิมเพื่อทำการค้า ต่อมาจำเลยที่ 2 รับโอนกิจการของผู้มีชื่อ เมื่อในสัญญาว่าผู้มีชื่อและจำเลยที่ 1 เช่าห้องพิพาทเพื่อทำการค้า จำเลยที่ 2 ผู้เข้าแทนที่ผู้มีชื่อจึงถือว่าได้ร่วมกับจำเลยที่ 1 เช่าตึกพิพาทเพื่อการค้าขายด้วย ซึ่งจะฟังความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯมิได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 991/2499 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโอนกิจการเช่าและการคุ้มครองตาม พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่า: การเช่าเพื่อค้า
จำเลยที่ 1 กับผู้มีชื่อร่วมกันเช่าห้องพิพาทจากเจ้าของเดิมเพื่อทำการค้า ต่อมาจำเลยที่ 2 รับโอนกิจการของผู้มีชื่อ เมื่อในสัญญา+ผู้มีชื่อและจำเลยที่ 1 เช่าห้องพิพาทเพื่อทำการค้าจำเลยที่ 2 ผู้+ข้าแทนที่ผู้มีชื่อจึงถือว่าได้ร่วมกับจำเลยที่ 1 เช่าตึกพิพาทเพื่อการค้าขายด้วยซึ่งจะมีความคุ้มครองตาม พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1500/2498 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเช่าเคหะเพื่ออยู่อาศัย vs. การค้า: เจตนาคู่สัญญาสำคัญกว่าการใช้ประโยชน์จริง
คำว่า "เคหะ" อันจะได้รับความคุ้มครองตาม ม.3 แห่ง พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่า ฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2490 นั้น ก.ม.ประสงค์จะคุ้มครองการเช่าอันใช่เป็นที่อยู่อาศัยเป็นหลัก กล่าวคือเมื่อใช่เป็นที่อยู่อาศัยแล้วก็ไม่ต้องไปคำนึงถึงว่าจะใช้เป็นที่ประกอบธุระกิจการค้าหรืออุตสาหกรรมด้วยเป็นส่วนประธานหรืออุปกรณ์และในทางกลับกันจะเห็นได้ว่า ก.ม.มิได้มุ่งคุ้มครอบการเช่าเพื่อประกอบกิจธุระการค้าหรืออุตสาหกรรมโดยคู่สัญญามิได้มีเจตนาใช้เป็นที่อยู่อาศัย
ในการที่จะพิจารณาว่าการเช่าที่ปลูกสร้างใดจะเข้าอยู่ในบังคับแห่ง พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่า ฯ ดังกล่าวแล้วหรือไม่จะถือเอาการปฏิบัติของผู้เช่าฝ่ายเดียวเป็นข้อวินิจฉัยหาพอไม่ ฉนั้นการที่จะดูว่าผู้เช่าอาศัยอยู่ในเคหะนั้นหรือไม่แต่อย่างเดียวจึงยังไม่พอเพียงกับความประสงค์ของ ก.ม.ในการวินิจฉัยปัญหาเช่นว่านี้ จะต้องพิจารณาถึงเจตนาของคู่กรณีในเวลาที่ทำสัญญากันประกอบกับเหตุผลแวดล้อมอื่น ๆ เช่นสภาพของสิ่งปลูกสร้าง อัตราค่าเช่าทำเลที่ตั้งของสิ่งปลูกสร้าง และการปฏิบัติของคู่สัญญาแต่ละฝ่ายเหล่านี้รวมกันว่า การเช่าสิ่งปลูกสร้างนั้นเพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัยหรือมิใช่
เรื่องเจตนาของฝ่ายจำเลยซึ่งเป็นผู้เช่าห้องพิพาทนี้ ศาลอุทธรณ์ได้วินิจฉัยฟังข้อเท็จจริงมาแล้วว่าจำเลยมีเจตนาเช่าเพื่อการค้ามาแต่เดิม และได้ประกอบธุริกิจการค้าตั้งแต่เริ่มเช่าตลอดมาจนบัดนี้ซึ่งศาลฎีกาจะต้องฟังความโดย ม. 250 ป. วิ.แพ่ง
จำเลยมิได้ยกข้อต่อสู้เรื่องโจทก์ไม่ได้บอกเลิกสัญญาเช่ากับจำเลยไว้ในค่าให้การและเมื่อศาลชั้นต้นมีคำสั่งแสดงว่าประเด็นในคดีนี้มีเฉพาะเรื่องจำเลยเช่าเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยหรือประกอบการค้าจำเลยก็ได้หาโต้แย้งคัดค้านประการใด ไม่ต้องถือว่าคดีนี้ไม่มีประเด็นโต้เถียงอันจะต้องวินิจฉัยในเรื่องการบอกกล่าวแม้ศาลชั้นต้นจะได้วินิจฉัยความข้อนี้มาซึ่งเป็นเหตุให้จำเลยหยิบยกขึ้นอุทธรณ์ก็ตาม ศาลอุทธรณ์ย่อมทรงไว้ซึ่งอำนาจจะไม่วินิจฉัยให้โดยถือว่าคดีไม่มีประเด็นโต้เถียงกัน
ในการที่จะพิจารณาว่าการเช่าที่ปลูกสร้างใดจะเข้าอยู่ในบังคับแห่ง พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่า ฯ ดังกล่าวแล้วหรือไม่จะถือเอาการปฏิบัติของผู้เช่าฝ่ายเดียวเป็นข้อวินิจฉัยหาพอไม่ ฉนั้นการที่จะดูว่าผู้เช่าอาศัยอยู่ในเคหะนั้นหรือไม่แต่อย่างเดียวจึงยังไม่พอเพียงกับความประสงค์ของ ก.ม.ในการวินิจฉัยปัญหาเช่นว่านี้ จะต้องพิจารณาถึงเจตนาของคู่กรณีในเวลาที่ทำสัญญากันประกอบกับเหตุผลแวดล้อมอื่น ๆ เช่นสภาพของสิ่งปลูกสร้าง อัตราค่าเช่าทำเลที่ตั้งของสิ่งปลูกสร้าง และการปฏิบัติของคู่สัญญาแต่ละฝ่ายเหล่านี้รวมกันว่า การเช่าสิ่งปลูกสร้างนั้นเพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัยหรือมิใช่
เรื่องเจตนาของฝ่ายจำเลยซึ่งเป็นผู้เช่าห้องพิพาทนี้ ศาลอุทธรณ์ได้วินิจฉัยฟังข้อเท็จจริงมาแล้วว่าจำเลยมีเจตนาเช่าเพื่อการค้ามาแต่เดิม และได้ประกอบธุริกิจการค้าตั้งแต่เริ่มเช่าตลอดมาจนบัดนี้ซึ่งศาลฎีกาจะต้องฟังความโดย ม. 250 ป. วิ.แพ่ง
จำเลยมิได้ยกข้อต่อสู้เรื่องโจทก์ไม่ได้บอกเลิกสัญญาเช่ากับจำเลยไว้ในค่าให้การและเมื่อศาลชั้นต้นมีคำสั่งแสดงว่าประเด็นในคดีนี้มีเฉพาะเรื่องจำเลยเช่าเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยหรือประกอบการค้าจำเลยก็ได้หาโต้แย้งคัดค้านประการใด ไม่ต้องถือว่าคดีนี้ไม่มีประเด็นโต้เถียงอันจะต้องวินิจฉัยในเรื่องการบอกกล่าวแม้ศาลชั้นต้นจะได้วินิจฉัยความข้อนี้มาซึ่งเป็นเหตุให้จำเลยหยิบยกขึ้นอุทธรณ์ก็ตาม ศาลอุทธรณ์ย่อมทรงไว้ซึ่งอำนาจจะไม่วินิจฉัยให้โดยถือว่าคดีไม่มีประเด็นโต้เถียงกัน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1500/2498 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเช่าเคหะเพื่ออยู่อาศัย vs. การค้า เจตนาคู่สัญญาสำคัญกว่าการใช้งานจริง
คำว่า "เคหะ" อันจะได้รับความคุ้มครองตาม มาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2490 นั้น กฎหมาย ประสงค์จะคุ้มครองการเช่าอันใช้เป็นที่อยู่อาศัยเป็นหลัก กล่าวคือเมื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัยแล้ว ก็ไม่ต้องไปคำนึงถึงว่าจะใช้เป็นที่ประกอบธุรกิจการค้าหรืออุตสาหกรรมด้วยเป็นส่วนประธานหรืออุปกรณ์และในทางกลับกันจะเห็นได้ว่ากฎหมายมิได้มุ่งคุ้มครองการเช่าเพื่อประกอบกิจธุระการค้าหรืออุตสาหกรรมโดยคู่สัญญามิได้มีเจตนาใช้เป็นที่อยู่อาศัย
ในการที่จะพิจารณาว่าการเช่าที่ปลูกสร้างใดจะเข้าอยู่ในบังคับแห่ง พระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯ ดังกล่าวแล้วหรือไม่จะถือเอาการปฏิบัติของผู้เช่าฝ่ายเดียวเป็นข้อวินิจฉัยหาพอไม่ ฉะนั้นการที่จะดูว่าผู้เช่าอาศัยอยู่ในเคหะนั้นหรือไม่แต่อย่างเดียว จึงยังไม่พอเพียงกับความประสงค์ของกฎหมายในการวินิจฉัยปัญหาเช่นว่านี้ จะต้องพิจารณาถึงเจตนาของคู่กรณีในเวลาที่ทำสัญญากันประกอบกับเหตุผลแวดล้อมอื่นๆ เช่นสภาพของสิ่งปลูกสร้าง อัตราค่าเช่าทำเลที่ตั้งของสิ่งปลูกสร้าง และการปฏิบัติของคู่สัญญาแต่ละฝ่ายเหล่านี้รวมกันว่า การเช่าสิ่งปลูกสร้างนั้นเพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัยหรือมิใช่
เรื่องเจตนาของฝ่ายจำเลยซึ่งเป็นผู้เช่าห้องพิพาทศาลอุทธรณ์ได้วินิจฉัยฟังข้อเท็จจริงมาแล้วว่าจำเลยมีเจตนาเช่าเพื่อการค้ามาแต่เดิมและได้ประกอบธุระกิจการค้าตั้งแต่เริ่มเช่าตลอดมาจนบัดนี้ซึ่งศาลฎีกาจะต้องฟังความโดย มาตรา 250ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
จำเลยมิได้ยกข้อต่อสู้เรื่องโจทก์ไม่ได้บอกเลิกสัญญาเช่ากับจำเลยไว้ในคำให้การ และเมื่อศาลชั้นต้นมีคำสั่งแสดงว่าประเด็นในคดีนี้มีเฉพาะเรื่องจำเลยเช่าเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยหรือประกอบการค้าจำเลยก็ได้หาโต้แย้งคัดค้านประการใดไม่ ต้องถือว่าคดีนี้ไม่มีประเด็นโต้เถียงอันจะต้องวินิจฉัยในเรื่องการบอกกล่าวแม้ศาลชั้นต้นจะได้วินิจฉัยความข้อนี้มาซึ่งเป็นเหตุให้จำเลยหยิบยกขึ้นอุทธรณ์ก็ตาม ศาลอุทธรณ์ย่อมทรงไว้ซึ่งอำนาจจะไม่วินิจฉัยให้โดยถือว่าคดีไม่มีประเด็นโต้เถียงกัน
ในการที่จะพิจารณาว่าการเช่าที่ปลูกสร้างใดจะเข้าอยู่ในบังคับแห่ง พระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯ ดังกล่าวแล้วหรือไม่จะถือเอาการปฏิบัติของผู้เช่าฝ่ายเดียวเป็นข้อวินิจฉัยหาพอไม่ ฉะนั้นการที่จะดูว่าผู้เช่าอาศัยอยู่ในเคหะนั้นหรือไม่แต่อย่างเดียว จึงยังไม่พอเพียงกับความประสงค์ของกฎหมายในการวินิจฉัยปัญหาเช่นว่านี้ จะต้องพิจารณาถึงเจตนาของคู่กรณีในเวลาที่ทำสัญญากันประกอบกับเหตุผลแวดล้อมอื่นๆ เช่นสภาพของสิ่งปลูกสร้าง อัตราค่าเช่าทำเลที่ตั้งของสิ่งปลูกสร้าง และการปฏิบัติของคู่สัญญาแต่ละฝ่ายเหล่านี้รวมกันว่า การเช่าสิ่งปลูกสร้างนั้นเพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัยหรือมิใช่
เรื่องเจตนาของฝ่ายจำเลยซึ่งเป็นผู้เช่าห้องพิพาทศาลอุทธรณ์ได้วินิจฉัยฟังข้อเท็จจริงมาแล้วว่าจำเลยมีเจตนาเช่าเพื่อการค้ามาแต่เดิมและได้ประกอบธุระกิจการค้าตั้งแต่เริ่มเช่าตลอดมาจนบัดนี้ซึ่งศาลฎีกาจะต้องฟังความโดย มาตรา 250ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
จำเลยมิได้ยกข้อต่อสู้เรื่องโจทก์ไม่ได้บอกเลิกสัญญาเช่ากับจำเลยไว้ในคำให้การ และเมื่อศาลชั้นต้นมีคำสั่งแสดงว่าประเด็นในคดีนี้มีเฉพาะเรื่องจำเลยเช่าเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยหรือประกอบการค้าจำเลยก็ได้หาโต้แย้งคัดค้านประการใดไม่ ต้องถือว่าคดีนี้ไม่มีประเด็นโต้เถียงอันจะต้องวินิจฉัยในเรื่องการบอกกล่าวแม้ศาลชั้นต้นจะได้วินิจฉัยความข้อนี้มาซึ่งเป็นเหตุให้จำเลยหยิบยกขึ้นอุทธรณ์ก็ตาม ศาลอุทธรณ์ย่อมทรงไว้ซึ่งอำนาจจะไม่วินิจฉัยให้โดยถือว่าคดีไม่มีประเด็นโต้เถียงกัน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1500/2498
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเช่าเคหะเพื่ออยู่อาศัย vs. การค้า: เจตนาคู่สัญญาเป็นสำคัญ
คำว่า "เคหะ" อันจะได้รับความคุ้มครองตาม มาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2490 นั้น กฎหมาย ประสงค์จะคุ้มครองการเช่าอันใช้เป็นที่อยู่อาศัยเป็นหลัก กล่าวคือเมื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัยแล้ว ก็ไม่ต้องไปคำนึงถึงว่าจะใช้เป็นที่ประกอบธุรกิจการค้าหรืออุตสาหกรรมด้วยเป็นส่วนประธานหรืออุปกรณ์และในทางกลับกันจะเห็นได้ว่ากฎหมายมิได้มุ่งคุ้มครองการเช่าเพื่อประกอบกิจธุระการค้าหรืออุตสาหกรรมโดยคู่สัญญามิได้มีเจตนาใช้เป็นที่อยู่อาศัย
ในการที่จะพิจารณาว่าการเช่าที่ปลูกสร้างใดจะเข้าอยู่ในบังคับแห่ง พระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯ ดังกล่าวแล้วหรือไม่จะถือเอาการปฏิบัติของผู้เช่าฝ่ายเดียวเป็นข้อวินิจฉัยหาพอไม่ ฉะนั้นการที่จะดูว่าผู้เช่าอาศัยอยู่ในเคหะนั้นหรือไม่แต่อย่างเดียว จึงยังไม่พอเพียงกับความประสงค์ของกฎหมายในการวินิจฉัยปัญหาเช่นว่านี้ จะต้องพิจารณาถึงเจตนาของคู่กรณีในเวลาที่ทำสัญญากันประกอบกับเหตุผลแวดล้อมอื่นๆ เช่นสภาพของสิ่งปลูกสร้าง อัตราค่าเช่าทำเลที่ตั้งของสิ่งปลูกสร้าง และการปฏิบัติของคู่สัญญาแต่ละฝ่ายเหล่านี้รวมกันว่า การเช่าสิ่งปลูกสร้างนั้นเพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัยหรือมิใช่
เรื่องเจตนาของฝ่ายจำเลยซึ่งเป็นผู้เช่าห้องพิพาทศาลอุทธรณ์ได้วินิจฉัยฟังข้อเท็จจริงมาแล้วว่าจำเลยมีเจตนาเช่าเพื่อการค้ามาแต่เดิมและได้ประกอบธุระกิจการค้าตั้งแต่เริ่มเช่าตลอดมาจนบัดนี้ซึ่งศาลฎีกาจะต้องฟังความโดย มาตรา 250ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
จำเลยมิได้ยกข้อต่อสู้เรื่องโจทก์ไม่ได้บอกเลิกสัญญาเช่ากับจำเลยไว้ในคำให้การ และเมื่อศาลชั้นต้นมีคำสั่งแสดงว่าประเด็นในคดีนี้มีเฉพาะเรื่องจำเลยเช่าเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยหรือประกอบการค้าจำเลยก็ได้หาโต้แย้งคัดค้านประการใดไม่ ต้องถือว่าคดีนี้ไม่มีประเด็นโต้เถียงอันจะต้องวินิจฉัยในเรื่องการบอกกล่าวแม้ศาลชั้นต้นจะได้วินิจฉัยความข้อนี้มาซึ่งเป็นเหตุให้จำเลยหยิบยกขึ้นอุทธรณ์ก็ตาม ศาลอุทธรณ์ย่อมทรงไว้ซึ่งอำนาจจะไม่วินิจฉัยให้โดยถือว่าคดีไม่มีประเด็นโต้เถียงกัน
ในการที่จะพิจารณาว่าการเช่าที่ปลูกสร้างใดจะเข้าอยู่ในบังคับแห่ง พระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯ ดังกล่าวแล้วหรือไม่จะถือเอาการปฏิบัติของผู้เช่าฝ่ายเดียวเป็นข้อวินิจฉัยหาพอไม่ ฉะนั้นการที่จะดูว่าผู้เช่าอาศัยอยู่ในเคหะนั้นหรือไม่แต่อย่างเดียว จึงยังไม่พอเพียงกับความประสงค์ของกฎหมายในการวินิจฉัยปัญหาเช่นว่านี้ จะต้องพิจารณาถึงเจตนาของคู่กรณีในเวลาที่ทำสัญญากันประกอบกับเหตุผลแวดล้อมอื่นๆ เช่นสภาพของสิ่งปลูกสร้าง อัตราค่าเช่าทำเลที่ตั้งของสิ่งปลูกสร้าง และการปฏิบัติของคู่สัญญาแต่ละฝ่ายเหล่านี้รวมกันว่า การเช่าสิ่งปลูกสร้างนั้นเพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัยหรือมิใช่
เรื่องเจตนาของฝ่ายจำเลยซึ่งเป็นผู้เช่าห้องพิพาทศาลอุทธรณ์ได้วินิจฉัยฟังข้อเท็จจริงมาแล้วว่าจำเลยมีเจตนาเช่าเพื่อการค้ามาแต่เดิมและได้ประกอบธุระกิจการค้าตั้งแต่เริ่มเช่าตลอดมาจนบัดนี้ซึ่งศาลฎีกาจะต้องฟังความโดย มาตรา 250ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
จำเลยมิได้ยกข้อต่อสู้เรื่องโจทก์ไม่ได้บอกเลิกสัญญาเช่ากับจำเลยไว้ในคำให้การ และเมื่อศาลชั้นต้นมีคำสั่งแสดงว่าประเด็นในคดีนี้มีเฉพาะเรื่องจำเลยเช่าเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยหรือประกอบการค้าจำเลยก็ได้หาโต้แย้งคัดค้านประการใดไม่ ต้องถือว่าคดีนี้ไม่มีประเด็นโต้เถียงอันจะต้องวินิจฉัยในเรื่องการบอกกล่าวแม้ศาลชั้นต้นจะได้วินิจฉัยความข้อนี้มาซึ่งเป็นเหตุให้จำเลยหยิบยกขึ้นอุทธรณ์ก็ตาม ศาลอุทธรณ์ย่อมทรงไว้ซึ่งอำนาจจะไม่วินิจฉัยให้โดยถือว่าคดีไม่มีประเด็นโต้เถียงกัน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 627/2498
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การตีความ 'เคหะ' ใน พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่า: พิจารณาเจตนา,สภาพ,ทำเลที่ตั้ง และการใช้ประโยชน์
ความหมายของคำว่า 'เคหะ'ตามมาตรา 3 ก็คือ'สิ่งปลูกสร้างที่ใช้เป็นที่อยู่อาศัย' ส่วนบทบัญญัติต่อไปที่ว่า 'โดยไม่คำนึงว่าจะใช้เป็นที่ที่ประกอบธุรกิจการค้าหรืออุตสาหกรรมด้วยเป็นส่วนประธานหรืออุปกรณ์' นั้นเป็นแต่ขยายความแห่งบทบัญญัติตอนต้นเท่านั้นแต่ส่วนสำคัญอยู่ที่ว่า 'สิ่งปลูกสร้างที่ใช้เป็นที่อยู่อาศัย' และโดยที่พระราชบัญญัติที่เกี่ยวกับเรื่องการเช่าฉะนั้นการที่จะวินิจฉัยสิ่งปลูกสร้างใดที่มีการเช่าจะเข้าอยู่ในความคุ้มครองของพระราชบัญญัติหรือไม่จึงจำเป็นจะต้องพิจารณาถึงเจตนาของคู่สัญญาด้วยว่าจะใช้ประโยชน์ในทรัพย์สินที่เช่าเพื่อการอยู่อาศัยหรือเพื่อการอื่นใดจึงวางหลักไว้ว่าการที่จะวินิจฉัยว่าสิ่งปลูกสร้างใดเป็น 'เคหะ'ตามความหมายแห่ง พระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าหรือไม่นั้น จำต้องคำนึงถึงเจตนาในเวลาเช่า สภาพและทำเลที่ตั้งของสถานที่เช่าและเหตุผลแวดล้อมอย่างที่เป็นข้อประกอบด้วย
มาตรา13นั้นเป็นเรื่องกฎหมายกำหนดเกณฑ์ที่จะขึ้นค่าเช่าสำหรับเคหะที่ใช้อย่างใดเท่านั้น
เมื่อสัญญาใดไม่มีข้อความระบุถึงผู้ใด ผู้นั้นก็ไม่มีทางจะถือเอาประโยชน์แห่งสัญญานั้นได้
เช่าห้องไว้เป็นที่เก็บสัมภาระและเป็นห้องนอนของเด็กที่คอยเติมน้ำมันในร้านขายน้ำมันของผู้เช่า ซึ่งอยู่หน้าห้องเช่าและเปิดเข้าออกถึงกันได้ ดังนี้ถือได้ว่าเช่าห้องไว้ก็เพื่อเป็นอุปกรณ์สำหรับการค้าของผู้เช่าจึงไม่เป็นเคหะ
มาตรา13นั้นเป็นเรื่องกฎหมายกำหนดเกณฑ์ที่จะขึ้นค่าเช่าสำหรับเคหะที่ใช้อย่างใดเท่านั้น
เมื่อสัญญาใดไม่มีข้อความระบุถึงผู้ใด ผู้นั้นก็ไม่มีทางจะถือเอาประโยชน์แห่งสัญญานั้นได้
เช่าห้องไว้เป็นที่เก็บสัมภาระและเป็นห้องนอนของเด็กที่คอยเติมน้ำมันในร้านขายน้ำมันของผู้เช่า ซึ่งอยู่หน้าห้องเช่าและเปิดเข้าออกถึงกันได้ ดังนี้ถือได้ว่าเช่าห้องไว้ก็เพื่อเป็นอุปกรณ์สำหรับการค้าของผู้เช่าจึงไม่เป็นเคหะ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 627/2498 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การตีความ 'เคหะ' ตาม พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าฯ พิจารณาจากเจตนา,สภาพ,ทำเลที่ตั้ง และการใช้ประโยชน์
ความหมายของคำว่า "เคหะ" ตามมาตรา 3 ก็คือ "สิ่งปลูกสร้างที่ใช้เป็นที่อยู่อาศัย" ส่วนบทบัญญัติต่อไปที่ว่า"โดยไม่คำนึงว่าจะใช้เป็นที่ประกอบธุระกิจการค้าหรืออุตสาหกรรมด้วยเป็นส่วนประธานหรืออุปกรณ์" นั้น เป็นแต่ขยายความแห่งบทบัญญัติตอนต้นเท่านั้น แต่ส่วนสำคัญอยู่ที่ว่า "สิ่งปลูกสร้างที่ใช้เป็นที่อยู่อาศัย" และโดยที่พระราชบัญญัตินี้เกี่ยวกับเรื่องการเช่า ฉะนั้นการที่จะวินิจฉัยสิ่งปลูกสร้างใดที่มีการเช่าจะเข้าอยู่ในความคุ้มครองของพระราชบัญญัติหรือไม่ จึงจำเป็นจะต้องพิจารณาถึงเจตนาของคู่สัญญาด้วย ว่าจะใช้ประโยชน์ในทรัพย์สินที่เช่าเพื่อการอยู่อาศัยหรือเพื่อการอื่นใดจึงวางหลักไว้ว่า การที่จะวินิจฉัยว่าสิ่งปลูกสร้างใดเป็น "เคหะ" ตามความหมายแห่ง พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าหรือไม่นั้น จำต้องคำนึงถึงเจตนาในเวลาเช่า สภาพและทำเลที่ตั้งของสถานที่เช่า และเหตุผลแวดล้อมอย่างอื่นเป็นข้อประกอบด้วย
ม.13 นั้น เป็นเรื่องกฎหมายกำหนด เกณฑ์ที่จะขึ้นค่าเช่าสำหรับเคหะที่ใช้อย่างใดเท่านั้น
เมื่อสัญญาใดไม่มีข้อความระบุถึงผู้ใด ผู้นั้นก็ไม่มีทางจะถือเอาประโยชน์แห่งสัญญานั้นได้
ม.13 นั้น เป็นเรื่องกฎหมายกำหนด เกณฑ์ที่จะขึ้นค่าเช่าสำหรับเคหะที่ใช้อย่างใดเท่านั้น
เมื่อสัญญาใดไม่มีข้อความระบุถึงผู้ใด ผู้นั้นก็ไม่มีทางจะถือเอาประโยชน์แห่งสัญญานั้นได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 557/2498 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเช่าตึกเพื่อประกอบการค้า ไม่ถือเป็นเคหะ จึงไม่ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมาย
ตึกพิพาทอยู่ในทำเลการค้า ผู้เช่าได้ทำการอันทางการเทศบาลถือว่าเป็นกาค้า และตามความจริงก็ฟังได้ว่าผู้เช่าได้ทำการค้า ในสัญญาเช่าก็ระบุว่าเช่าเพื่อประกอบการค้า ตึกพิพาทจึงไม่ใช่เคหะ ไม่ต้องคำนึงว่าจะได้ใช้เป็นที่อยู่อาศัยด้วยหรือไม่