พบผลลัพธ์ทั้งหมด 16 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1561/2525 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าพนักงานตำรวจเรียกรับเงินเพื่อปล่อยตัวผู้ต้องหา เป็นความผิดตามมาตรา 149
จำเลยเป็นตำรวจประจำการกองร้อย 4 กก. อารักขาและความปลอดภัยบก.สายตรวจปฏิบัติการพิเศษตำแหน่งลูกแถว ย่อมมีอำนาจสืบสวนคดีอาญา และมีอำนาจจับกุมผู้กระทำผิดกฎหมายได้โดยไม่ต้องมีหมายจับหรือหมายค้นในเมื่อเป็นความผิดซึ่งหน้าแม้ที่เกิดเหตุจะเป็นที่รโหฐาน การที่จำเลยไปพบจ.กับพวกกำลังเล่นการพนันในห้องชั้นบนบ้าน อันเป็นที่รโหฐานและจับกุม จ. กับพวกในข้อหาดังกล่าว ย่อมเรียกได้ว่าเป็นการกระทำของเจ้าพนักงานผู้กระทำการตามหน้าที่ เมื่อจำเลยเรียกและรับเงินจาก จ. แล้วปล่อยตัว จ. กับพวกโดยไม่ส่งพนักงานสอบสวนเพื่อดำเนินคดี จึงเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 149
เมื่อการกระทำของจำเลยเป็นความผิดตามมาตรา 149 ซึ่งเป็นบทเฉพาะแล้ว แม้โจทก์จะขอให้ลงโทษตามมาตรา 157 มาด้วย ก็ไม่จำต้องปรับบทด้วยมาตรา 157 ซึ่งเป็นบททั่วไปอีก
เมื่อการกระทำของจำเลยเป็นความผิดตามมาตรา 149 ซึ่งเป็นบทเฉพาะแล้ว แม้โจทก์จะขอให้ลงโทษตามมาตรา 157 มาด้วย ก็ไม่จำต้องปรับบทด้วยมาตรา 157 ซึ่งเป็นบททั่วไปอีก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 706/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจับกุมและการควบคุมตัวโดยมิชอบของเจ้าพนักงานตำรวจ การข่มขืนใจและหน่วงเหนี่ยวเสรีภาพ
การบรรยายฟ้องเกี่ยวแก่การกระทำตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 158(5) หาได้บัญญัติว่าต้องใช้ถ้อยคำของกฎหมายไม่โจทก์จะบรรยายถ้อยคำอย่างใดพอให้เข้าใจได้ว่า จำเลยได้กระทำการที่กฎหมายบัญญัติว่าเป็นความผิดก็ใช้ได้
ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 309และ มาตรา 295 โดยโจทก์บรรยายฟ้องว่า "จำเลยมีจิตคิดร้ายเจตนากลั่นแกล้งปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ ร่วมกันจับมือขา กระชากและเตะโจทก์ ใส่กุญแจมือโจทก์ไพล่หลังจนโจทก์มีบาดแผลและทั้งควบคุมโจทก์ไว้ 2 คืน โจทก์ได้รับความเสียหาย" ข้อความดังกล่าวเข้าใจได้ดีแล้วว่า พฤติการณ์ที่จำเลยกระทำต่อโจทก์นั้น เป็นการที่จำเลยได้ข่มขืนใจให้โจทก์ต้องจำยอมต่อการกระทำของจำเลย โดยทำให้กลัวว่าจะเกิดอันตรายต่อชีวิตร่างกาย เสรีภาพของโจทก์ และการที่จำเลยจับมือ ขา กระชากและเตะโจทก์จนมีบาดแผล ถือได้ว่าเป็นการประทุษร้ายให้เกิดอันตรายแก่กายเพราะการกระทำของจำเลยเป็นการกระทำซึ่งกฎหมายบัญญัติว่าเป็นผิด จึงเป็น ฟ้องที่สมบูรณ์แล้ว
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 157 มิได้ยกเลิกไปเสียทีเดียวเพียงแต่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2502 มาตรา 13 และยังคงเป็นบทบังคับอยู่เช่นเดิม แม้ฟ้องโจทก์อ้างแต่พระราชบัญญัติและมาตราเดิมไม่อ้างกฎหมายที่แก้ไขเพิ่มเติมเป็นบทลงโทษก็ใช้ได้ ถือว่าเป็นหน้าที่ของศาลต้องรู้เองศาลย่อมมีอำนาจลงโทษตามมาตรา 157 ที่แก้ไขได้
โจทก์ได้กระทำผิดซึ่งหน้า แต่ความผิดที่โจทก์กระทำเป็นแต่เพียงความผิดฐานลหุโทษ ฐานฉายภาพยนตร์ในโรงภาพยนตร์เก็บค่าดูจากประชาชนโดยไม่ได้รับอนุญาต จำเลยทุกคนรู้จักหลักแหล่งของโจทก์แล้ว จึงไม่เป็นเหตุให้ถือว่าเป็นกรณีฉุกเฉินอย่างยิ่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 96(2)การที่จำเลยทั้งหมดผู้เป็นเจ้าพนักงานไปทำการจับกุมโจทก์ในที่รโหฐานในเวลากลางคืนโดยไม่มีหมาย จึงไม่มีอำนาจที่จะทำได้ตามกฎหมาย โจทก์มีสิทธิป้องกันการจับกุมได้และการที่จำเลยทั้งหมดควบคุมโจทก์จากโรงภาพยนตร์ไปสถานีตำรวจ ถือได้ว่าเป็นการหน่วงเหนี่ยวโจทก์ให้ปราศจากเสรีภาพในร่างกายเช่นกัน
ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 309และ มาตรา 295 โดยโจทก์บรรยายฟ้องว่า "จำเลยมีจิตคิดร้ายเจตนากลั่นแกล้งปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ ร่วมกันจับมือขา กระชากและเตะโจทก์ ใส่กุญแจมือโจทก์ไพล่หลังจนโจทก์มีบาดแผลและทั้งควบคุมโจทก์ไว้ 2 คืน โจทก์ได้รับความเสียหาย" ข้อความดังกล่าวเข้าใจได้ดีแล้วว่า พฤติการณ์ที่จำเลยกระทำต่อโจทก์นั้น เป็นการที่จำเลยได้ข่มขืนใจให้โจทก์ต้องจำยอมต่อการกระทำของจำเลย โดยทำให้กลัวว่าจะเกิดอันตรายต่อชีวิตร่างกาย เสรีภาพของโจทก์ และการที่จำเลยจับมือ ขา กระชากและเตะโจทก์จนมีบาดแผล ถือได้ว่าเป็นการประทุษร้ายให้เกิดอันตรายแก่กายเพราะการกระทำของจำเลยเป็นการกระทำซึ่งกฎหมายบัญญัติว่าเป็นผิด จึงเป็น ฟ้องที่สมบูรณ์แล้ว
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 157 มิได้ยกเลิกไปเสียทีเดียวเพียงแต่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2502 มาตรา 13 และยังคงเป็นบทบังคับอยู่เช่นเดิม แม้ฟ้องโจทก์อ้างแต่พระราชบัญญัติและมาตราเดิมไม่อ้างกฎหมายที่แก้ไขเพิ่มเติมเป็นบทลงโทษก็ใช้ได้ ถือว่าเป็นหน้าที่ของศาลต้องรู้เองศาลย่อมมีอำนาจลงโทษตามมาตรา 157 ที่แก้ไขได้
โจทก์ได้กระทำผิดซึ่งหน้า แต่ความผิดที่โจทก์กระทำเป็นแต่เพียงความผิดฐานลหุโทษ ฐานฉายภาพยนตร์ในโรงภาพยนตร์เก็บค่าดูจากประชาชนโดยไม่ได้รับอนุญาต จำเลยทุกคนรู้จักหลักแหล่งของโจทก์แล้ว จึงไม่เป็นเหตุให้ถือว่าเป็นกรณีฉุกเฉินอย่างยิ่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 96(2)การที่จำเลยทั้งหมดผู้เป็นเจ้าพนักงานไปทำการจับกุมโจทก์ในที่รโหฐานในเวลากลางคืนโดยไม่มีหมาย จึงไม่มีอำนาจที่จะทำได้ตามกฎหมาย โจทก์มีสิทธิป้องกันการจับกุมได้และการที่จำเลยทั้งหมดควบคุมโจทก์จากโรงภาพยนตร์ไปสถานีตำรวจ ถือได้ว่าเป็นการหน่วงเหนี่ยวโจทก์ให้ปราศจากเสรีภาพในร่างกายเช่นกัน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 706/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจับกุมและการกระทำโดยมิชอบของเจ้าพนักงาน: อำนาจจับกุม ความจำเป็น และขอบเขตการใช้กำลัง
การบรรยายฟ้องเกี่ยวแก่การกระทำตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158(5) หาได้บัญญัติว่าต้องใช้ถ้อยคำของกฎหมายไม่ โจทก์จะบรรยายถ้อยคำอย่างใดพอให้เข้าใจได้ว่า จำเลยได้กระทำการที่กฎหมายบัญญัติว่าเป็นความผิดก็ใช้ได้
ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 309 และ มาตรา 295 โดยโจทก์บรรยายฟ้องว่า "จำเลยมีจิตคิดร้ายเจตนากลั่นแกล้งปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ ร่วมกันจับมือขา กระชากและเตะโจทก์ ใส่กุญแจมือโจทก์ไพล่หลังจนโจทก์มีบาดแผลและทั้งควบคุมโจทก์ไว้ 2 คืน โจทก์ได้รับความเสียหาย" ข้อความดังกล่าวเข้าใจได้ดีแล้วว่า พฤติการณ์ที่จำเลยกระทำต่อโจทก์นั้น เป็นการที่จำเลยได้ข่มขืนใจให้โจทก์ต้องจำยอมต่อการกระทำของจำเลย โดยทำให้กลัวว่าจะเกิดอันตรายต่อชีวิตร่างกาย เสรีภาพของโจทก์ และการที่จำเลยจับมือ ขา กระชากและเตะโจทก์จนมีบาดแผล ถือได้ว่าเป็นการประทุษร้ายให้เกิดอันตรายแก่กายเพราะการกระทำของจำเลยเป็นการกระทำซึ่งกฎหมายบัญญัติว่าเป็นผิด จึงเป็น ฟ้องที่สมบูรณ์แล้ว
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 157 มิได้ยกเลิกไปเสียทีเดียวเพียงแต่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2502 มาตรา 13 และยังคงเป็นบทบังคับอยู่เช่นเดิม แม้ฟ้องโจทก์อ้างแต่พระราชบัญญัติและมาตราเดิมไม่อ้างกฎหมายที่แก้ไขเพิ่มเติมเป็นบทลงโทษก็ใช้ได้ ถือว่าเป็นหน้าที่ของศาลต้องรู้เองศาลย่อมมีอำนาจลงโทษตามมาตรา 157 ที่แก้ไขได้
โจทก์ได้กระทำผิดซึ่งหน้า แต่ความผิดที่โจทก์กระทำเป็นแต่เพียงความผิดฐานลหุโทษ ฐานฉายภาพยนตร์ในโรงภาพยนตร์เก็บค่าดูจากประชาชนโดยไม่ได้รับอนุญาต จำเลยทุกคนรู้จักหลักแหล่งของโจทก์แล้ว จึงไม่เป็นเหตุให้ถือว่าเป็นกรณีฉุกเฉินอย่างยิ่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 96(2) การที่จำเลยทั้งหมดผู้เป็นเจ้าพนักงานไปทำการจับกุมโจทก์ในที่รโหฐานในเวลากลางคืนโดยไม่มีหมาย จึงไม่มีอำนาจที่จะทำได้ตามกฎหมาย โจทก์มีสิทธิป้องกันการจับกุมได้ และการที่จำเลยทั้งหมดควบคุมโจทก์จากโรงภาพยนตร์ไปสถานีตำรวจ ถือได้ว่าเป็นการหน่วงเหนี่ยวโจทก์ให้ปราศจากเสรีภาพในร่างกายเช่นกัน
ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 309 และ มาตรา 295 โดยโจทก์บรรยายฟ้องว่า "จำเลยมีจิตคิดร้ายเจตนากลั่นแกล้งปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ ร่วมกันจับมือขา กระชากและเตะโจทก์ ใส่กุญแจมือโจทก์ไพล่หลังจนโจทก์มีบาดแผลและทั้งควบคุมโจทก์ไว้ 2 คืน โจทก์ได้รับความเสียหาย" ข้อความดังกล่าวเข้าใจได้ดีแล้วว่า พฤติการณ์ที่จำเลยกระทำต่อโจทก์นั้น เป็นการที่จำเลยได้ข่มขืนใจให้โจทก์ต้องจำยอมต่อการกระทำของจำเลย โดยทำให้กลัวว่าจะเกิดอันตรายต่อชีวิตร่างกาย เสรีภาพของโจทก์ และการที่จำเลยจับมือ ขา กระชากและเตะโจทก์จนมีบาดแผล ถือได้ว่าเป็นการประทุษร้ายให้เกิดอันตรายแก่กายเพราะการกระทำของจำเลยเป็นการกระทำซึ่งกฎหมายบัญญัติว่าเป็นผิด จึงเป็น ฟ้องที่สมบูรณ์แล้ว
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 157 มิได้ยกเลิกไปเสียทีเดียวเพียงแต่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2502 มาตรา 13 และยังคงเป็นบทบังคับอยู่เช่นเดิม แม้ฟ้องโจทก์อ้างแต่พระราชบัญญัติและมาตราเดิมไม่อ้างกฎหมายที่แก้ไขเพิ่มเติมเป็นบทลงโทษก็ใช้ได้ ถือว่าเป็นหน้าที่ของศาลต้องรู้เองศาลย่อมมีอำนาจลงโทษตามมาตรา 157 ที่แก้ไขได้
โจทก์ได้กระทำผิดซึ่งหน้า แต่ความผิดที่โจทก์กระทำเป็นแต่เพียงความผิดฐานลหุโทษ ฐานฉายภาพยนตร์ในโรงภาพยนตร์เก็บค่าดูจากประชาชนโดยไม่ได้รับอนุญาต จำเลยทุกคนรู้จักหลักแหล่งของโจทก์แล้ว จึงไม่เป็นเหตุให้ถือว่าเป็นกรณีฉุกเฉินอย่างยิ่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 96(2) การที่จำเลยทั้งหมดผู้เป็นเจ้าพนักงานไปทำการจับกุมโจทก์ในที่รโหฐานในเวลากลางคืนโดยไม่มีหมาย จึงไม่มีอำนาจที่จะทำได้ตามกฎหมาย โจทก์มีสิทธิป้องกันการจับกุมได้ และการที่จำเลยทั้งหมดควบคุมโจทก์จากโรงภาพยนตร์ไปสถานีตำรวจ ถือได้ว่าเป็นการหน่วงเหนี่ยวโจทก์ให้ปราศจากเสรีภาพในร่างกายเช่นกัน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 698/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจับกุมและการป้องกันตน: กรณีความผิดซึ่งหน้า, การใช้อำนาจเกินเหตุ และการกระทำเพื่อป้องกันสิทธิโดยชอบ
คืนเกิดเหตุมีการลักลอบเล่นการพนันกันบนบ้านผู้มีชื่ออันเป็นที่รโหฐาน ผู้เสียหายกับพวกซึ่งเป็นเจ้าพนักงานตำรวจแต่ไม่ใช่ตำรวจชั้นผู้ใหญ่ ได้รับคำสั่งให้ไปจับกุม จึงพากันไปยังบ้านที่เกิดเหตุ แต่ไม่มีหมายจับหรือหมายค้นไปด้วย ไปถึงได้แอบดูเห็นคนหลายคนกำลังเล่นการพนันกันอยู่ กรณีเช่นนี้ถือว่าเป็นความผิดซึ่งเห็นกำลังกระทำลง อันเป็นความผิดซึ่งหน้าตามความหมายแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 80
ขณะเกิดเหตุนั้นมีคนบนเรือนประมาณ 50 คน ทั้งที่กำลังเล่นและมิได้เล่นการพนัน ถ้าปล่อยให้เนิ่นช้าไปโดยไม่จับทันที ก็อาจจับผู้กระทำความผิดไม่ได้เลย เพราะปนเปกันอยู่มาก ทั้งบรรดาพยานหลักฐานต่างๆ ก็อาจสูญหายหรือถูกทำลายไปหมด จึงเป็นกรณีฉุกเฉินอย่างยิ่ง ผู้เสียหายกับพวกจึงมีอำนาจเข้าไป (ค้น) ในบ้านที่เกิดเหตุอันเป็นที่รโหฐานในเวลากลางคืนโดยไม่ต้องมีหมายค้นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 96(2) ประกอบด้วยมาตรา 92(2) และมีอำนาจจับผู้กระทำความผิด โดยไม่ต้องมีหมายจับตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 80และมาตรา 81(1)
ขณะที่ผู้เสียหายกับพวกเข้าทำการจับกุมนั้น พวกผู้เล่นแตกฮือกันรีบหนีลงจากเรือนผู้เสียหายวิ่งเข้าจับข้อมือจำเลย จำเลยสะบัดหลุด ผู้เสียหายใช้ปืนตีศีรษะจำเลยจนจำเลยล้มลงไป ขณะเดียวกันมีตำรวจอื่นเข้ากลุ้มรุมทำร้ายจำเลยด้วย แม้ผู้เสียหายจะมีอำนาจจับ แต่การใช้วิธีการจับดังกล่าวนี้รุนแรงเกินความเหมาะสมแก่พฤติการณ์แห่งเรื่อง ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 83 วรรคสอง การจับของผู้เสียหายดังนี้จึงเป็นการใช้วิธีจับที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย. จำเลยจึงชอบที่จะป้องกันสิทธิของจำเลยให้พ้นจากภยันตรายอันเกิดจากการจับโดยใช้วิธีการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมายนี้ได้ ไม่เป็นความผิดฐานต่อสู้หรือขัดขวางเจ้าพนักงาน
จำเลยได้ใช้มีดแทงผู้เสียหายในขณะที่ผู้เสียหายทำร้ายจำเลย และมีตำรวจอื่นอีกหลายคนกลุ้มรุมเข้ามาทำร้ายจำเลยด้วย ผู้เสียหายได้รับบาดเจ็บที่ท้อง 1 แห่ง และที่ไหล่ขวาอีก 1 แห่ง รักษาประมาณ 21 วันหาย และมีดที่จำเลยใช้แทงก็เป็นมีดขนาดเล็ก ประกอบกับแทงในขณะที่เหตุการณ์กำลังชุลมุนสับสน อันอาจทำให้จำเลยเข้าใจได้ว่าจำเลยจะถูกผู้เสียหายและตำรวจอื่นทำร้ายเอาอีก การกระทำของจำเลยดังกล่าวถือได้ว่าเป็นการกระทำโดยชอบด้วยกฎหมายเพื่อป้องกันตนพอสมควรแก่เหตุ
(วรรค 1-2 วินิจฉัยโดยมติที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 5/2516)
ขณะเกิดเหตุนั้นมีคนบนเรือนประมาณ 50 คน ทั้งที่กำลังเล่นและมิได้เล่นการพนัน ถ้าปล่อยให้เนิ่นช้าไปโดยไม่จับทันที ก็อาจจับผู้กระทำความผิดไม่ได้เลย เพราะปนเปกันอยู่มาก ทั้งบรรดาพยานหลักฐานต่างๆ ก็อาจสูญหายหรือถูกทำลายไปหมด จึงเป็นกรณีฉุกเฉินอย่างยิ่ง ผู้เสียหายกับพวกจึงมีอำนาจเข้าไป (ค้น) ในบ้านที่เกิดเหตุอันเป็นที่รโหฐานในเวลากลางคืนโดยไม่ต้องมีหมายค้นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 96(2) ประกอบด้วยมาตรา 92(2) และมีอำนาจจับผู้กระทำความผิด โดยไม่ต้องมีหมายจับตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 80และมาตรา 81(1)
ขณะที่ผู้เสียหายกับพวกเข้าทำการจับกุมนั้น พวกผู้เล่นแตกฮือกันรีบหนีลงจากเรือนผู้เสียหายวิ่งเข้าจับข้อมือจำเลย จำเลยสะบัดหลุด ผู้เสียหายใช้ปืนตีศีรษะจำเลยจนจำเลยล้มลงไป ขณะเดียวกันมีตำรวจอื่นเข้ากลุ้มรุมทำร้ายจำเลยด้วย แม้ผู้เสียหายจะมีอำนาจจับ แต่การใช้วิธีการจับดังกล่าวนี้รุนแรงเกินความเหมาะสมแก่พฤติการณ์แห่งเรื่อง ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 83 วรรคสอง การจับของผู้เสียหายดังนี้จึงเป็นการใช้วิธีจับที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย. จำเลยจึงชอบที่จะป้องกันสิทธิของจำเลยให้พ้นจากภยันตรายอันเกิดจากการจับโดยใช้วิธีการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมายนี้ได้ ไม่เป็นความผิดฐานต่อสู้หรือขัดขวางเจ้าพนักงาน
จำเลยได้ใช้มีดแทงผู้เสียหายในขณะที่ผู้เสียหายทำร้ายจำเลย และมีตำรวจอื่นอีกหลายคนกลุ้มรุมเข้ามาทำร้ายจำเลยด้วย ผู้เสียหายได้รับบาดเจ็บที่ท้อง 1 แห่ง และที่ไหล่ขวาอีก 1 แห่ง รักษาประมาณ 21 วันหาย และมีดที่จำเลยใช้แทงก็เป็นมีดขนาดเล็ก ประกอบกับแทงในขณะที่เหตุการณ์กำลังชุลมุนสับสน อันอาจทำให้จำเลยเข้าใจได้ว่าจำเลยจะถูกผู้เสียหายและตำรวจอื่นทำร้ายเอาอีก การกระทำของจำเลยดังกล่าวถือได้ว่าเป็นการกระทำโดยชอบด้วยกฎหมายเพื่อป้องกันตนพอสมควรแก่เหตุ
(วรรค 1-2 วินิจฉัยโดยมติที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 5/2516)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 698/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจับกุมและการป้องกันตัวโดยชอบด้วยกฎหมาย: กรณีความผิดซึ่งหน้า, การใช้อำนาจเกินสมควร และการป้องกันตน
คืนเกิดเหตุมีการลักลอบเล่นการพนันกันบนบ้านผู้มีชื่ออันเป็นที่รโหฐาน ผู้เสียหายกับพวกซึ่งเป็นเจ้าพนักงานตำรวจแต่ไม่ใช่ตำรวจชั้นผู้ใหญ่ ได้รับคำสั่งให้ไปจับกุม จึงพากันไปยังบ้านที่เกิดเหตุ แต่ไม่มีหมายจับหรือหมายค้นไปด้วยไปถึงได้แอบดูเห็นคนหลายคนกำลังเล่นการพนันกันอยู่กรณีเช่นนี้ถือว่าเป็นความผิดซึ่งเห็นกำลังกระทำลง อันเป็นความผิดซึ่งหน้าตามความหมายแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 80
ขณะเกิดเหตุนั้นมีคนบนเรือนประมาณ 50 คน ทั้งที่กำลังเล่นและมิได้เล่นการพนัน ถ้าปล่อยให้เนิ่นช้าไปโดยไม่จับทันทีก็อาจจับผู้กระทำความผิดไม่ได้เลย เพราะปนเปกันอยู่มากทั้งบรรดาพยานหลักฐานต่างๆ ก็อาจสูญหายหรือถูกทำลายไปหมดจึงเป็นกรณีฉุกเฉินอย่างยิ่ง ผู้เสียหายกับพวกจึงมีอำนาจเข้าไป (ค้น)ในบ้านที่เกิดเหตุอันเป็นที่รโหฐานในเวลากลางคืนโดยไม่ต้องมีหมายค้นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 96 (2) ประกอบด้วยมาตรา 92 (2) และมีอำนาจจับผู้กระทำความผิด โดยไม่ต้องมีหมายจับตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 80และมาตรา 81 (1)
ขณะที่ผู้เสียหายกับพวกเข้าทำการจับกุมนั้น พวกผู้เล่นแตกฮือกันรีบหนีลงจากเรือนผู้เสียหายวิ่งเข้าจับข้อมือจำเลย จำเลยสะบัดหลุดผู้เสียหายใช้ปืนตีศีรษะจำเลยจนจำเลยล้มลงไป ขณะเดียวกันมีตำรวจอื่นเข้ากลุ้มรุมทำร้ายจำเลยด้วย แม้ผู้เสียหายจะมีอำนาจจับแต่การใช้วิธีการจับดังกล่าวนี้รุนแรงเกินความเหมาะสมแก่พฤติการณ์แห่งเรื่อง ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 83 วรรคสอง การจับของผู้เสียหายดังนี้จึงเป็นการใช้วิธีจับที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย. จำเลยจึงชอบที่จะป้องกันสิทธิของจำเลยให้พ้นจากภยันตรายอันเกิดจากการจับโดยใช้วิธีการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมายนี้ได้ ไม่เป็นความผิดฐานต่อสู้หรือขัดขวางเจ้าพนักงาน
จำเลยได้ใช้มีดแทงผู้เสียหายในขณะที่ผู้เสียหายทำร้ายจำเลยและมีตำรวจอื่นอีกหลายคนกลุ้มรุมเข้ามาทำร้ายจำเลยด้วยผู้เสียหายได้รับบาดเจ็บที่ท้อง 1 แห่ง และที่ไหล่ขวาอีก 1 แห่งรักษาประมาณ 21 วันหาย และมีดที่จำเลยใช้แทงก็เป็นมีดขนาดเล็กประกอบกับแทงในขณะที่เหตุการณ์กำลังชุลมุนสับสน อันอาจทำให้จำเลยเข้าใจได้ว่าจำเลยจะถูกผู้เสียหายและตำรวจอื่นทำร้ายเอาอีกการกระทำของจำเลยดังกล่าวถือได้ว่าเป็นการกระทำโดยชอบด้วยกฎหมายเพื่อป้องกันตนพอสมควรแก่เหตุ
(วรรค 1 - 2 วินิจฉัยโดยมติที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 5/2516)
ขณะเกิดเหตุนั้นมีคนบนเรือนประมาณ 50 คน ทั้งที่กำลังเล่นและมิได้เล่นการพนัน ถ้าปล่อยให้เนิ่นช้าไปโดยไม่จับทันทีก็อาจจับผู้กระทำความผิดไม่ได้เลย เพราะปนเปกันอยู่มากทั้งบรรดาพยานหลักฐานต่างๆ ก็อาจสูญหายหรือถูกทำลายไปหมดจึงเป็นกรณีฉุกเฉินอย่างยิ่ง ผู้เสียหายกับพวกจึงมีอำนาจเข้าไป (ค้น)ในบ้านที่เกิดเหตุอันเป็นที่รโหฐานในเวลากลางคืนโดยไม่ต้องมีหมายค้นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 96 (2) ประกอบด้วยมาตรา 92 (2) และมีอำนาจจับผู้กระทำความผิด โดยไม่ต้องมีหมายจับตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 80และมาตรา 81 (1)
ขณะที่ผู้เสียหายกับพวกเข้าทำการจับกุมนั้น พวกผู้เล่นแตกฮือกันรีบหนีลงจากเรือนผู้เสียหายวิ่งเข้าจับข้อมือจำเลย จำเลยสะบัดหลุดผู้เสียหายใช้ปืนตีศีรษะจำเลยจนจำเลยล้มลงไป ขณะเดียวกันมีตำรวจอื่นเข้ากลุ้มรุมทำร้ายจำเลยด้วย แม้ผู้เสียหายจะมีอำนาจจับแต่การใช้วิธีการจับดังกล่าวนี้รุนแรงเกินความเหมาะสมแก่พฤติการณ์แห่งเรื่อง ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 83 วรรคสอง การจับของผู้เสียหายดังนี้จึงเป็นการใช้วิธีจับที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย. จำเลยจึงชอบที่จะป้องกันสิทธิของจำเลยให้พ้นจากภยันตรายอันเกิดจากการจับโดยใช้วิธีการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมายนี้ได้ ไม่เป็นความผิดฐานต่อสู้หรือขัดขวางเจ้าพนักงาน
จำเลยได้ใช้มีดแทงผู้เสียหายในขณะที่ผู้เสียหายทำร้ายจำเลยและมีตำรวจอื่นอีกหลายคนกลุ้มรุมเข้ามาทำร้ายจำเลยด้วยผู้เสียหายได้รับบาดเจ็บที่ท้อง 1 แห่ง และที่ไหล่ขวาอีก 1 แห่งรักษาประมาณ 21 วันหาย และมีดที่จำเลยใช้แทงก็เป็นมีดขนาดเล็กประกอบกับแทงในขณะที่เหตุการณ์กำลังชุลมุนสับสน อันอาจทำให้จำเลยเข้าใจได้ว่าจำเลยจะถูกผู้เสียหายและตำรวจอื่นทำร้ายเอาอีกการกระทำของจำเลยดังกล่าวถือได้ว่าเป็นการกระทำโดยชอบด้วยกฎหมายเพื่อป้องกันตนพอสมควรแก่เหตุ
(วรรค 1 - 2 วินิจฉัยโดยมติที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 5/2516)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 481/2491
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การค้นในที่รโหฐานต้องมีหมายค้น เว้นแต่ความผิดซึ่งหน้ากำลังกระทำต่อหน้า
ที่อนุญาตให้เจ้าพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจค้นในที่รโหฐานได้ โดยไม่ต้องมีหมายค้น เพราะปรากฏความผิดซึ่งหน้ากำลังกระทำลงในที่รโหฐาน นั้น มุ่งหมาย เฉพาะกรณีที่ความผิดกำลังกระทำอยู่ต่อหน้าพนักงานผู้จะเข้าค้นนั้นเอง ถ้าเป็นเรื่องที่ได้รับคำบอกเล่าจากผู้อื่นอีกต่อหนึ่งแล้วก็ไม่เข้าในข้อยกเว้นข้อนี้