พบผลลัพธ์ทั้งหมด 1,032 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 73/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อเสนอซื้อขายมีเงื่อนเวลา หากไม่ปฏิบัติตาม ข้อผูกพันสิ้นสุด
โจทก์เสนอขอซื้อไม้จากจำเลย จำเลยสนองตอบว่าจะขายให้ แต่ให้ติดต่อชำระเงินและรับมอบไม้ภายในกำหนด 30 วันนับแต่วันได้รับหนังสือ มิฉะนั้นถือว่าโจทก์ไม่ประสงค์จะซื้อไม้รายนี้ ดังนี้ ถ้าโจทก์ได้ชำระเงินค่าไม้บางส่วน เมื่อพ้นกำหนดเวลาดังกล่าว ข้อผูกพันตามคำสนองของจำเลยที่บอกขายไม้ให้โจทก์ย่อมสิ้นสุดไปแล้ว จำเลยไม่มีหน้าที่ต้องขายไม้นั้นให้โจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 15/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาฆ่าจากการกระทำความรุนแรงต่อเนื่อง และการทำร้ายเจ้าพนักงานขณะปฏิบัติหน้าที่
จำเลยแทงผู้ตายที่บริเวณหน้าอกเหนือหัวใจจนทะลุใน ครั้นผู้ตายล้มลง จำเลยคร่อมจะแทงซ้ำอีก เช่นนี้ ย่อมแสดงให้เห็นว่าจำเลยมีเจตนาฆ่า
พลตำรวจลาหยุดราชการในระหว่างที่ลาหยุดนั้น ไปเที่ยวในงานมหรศพซึ่งอยู่ในเขตท้องที่ซึ่งตนประจำการอยู่ จ่าสิบตำรวจตรีคนหนึ่งซึ่งรักษาการอยู่ในงานนั้นได้ขอร้องให้ช่วยรักษาความสงบเรียบร้อยในงานนั้นด้วย จำเลยได้แสดงกิริยามึนเมาสุราในบริเวณงาน พลตำรวจนั้นได้ห้ามปรามและขอให้จำเลยกลับไปบ้าน จำเลยได้ใช้มีดแทงพลตำรวจผู้นั้นถึงบาดเจ็บสาหัส เช่นนี้ จำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 298.
พลตำรวจลาหยุดราชการในระหว่างที่ลาหยุดนั้น ไปเที่ยวในงานมหรศพซึ่งอยู่ในเขตท้องที่ซึ่งตนประจำการอยู่ จ่าสิบตำรวจตรีคนหนึ่งซึ่งรักษาการอยู่ในงานนั้นได้ขอร้องให้ช่วยรักษาความสงบเรียบร้อยในงานนั้นด้วย จำเลยได้แสดงกิริยามึนเมาสุราในบริเวณงาน พลตำรวจนั้นได้ห้ามปรามและขอให้จำเลยกลับไปบ้าน จำเลยได้ใช้มีดแทงพลตำรวจผู้นั้นถึงบาดเจ็บสาหัส เช่นนี้ จำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 298.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 15/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาฆ่าจากการกระทำซ้ำและการทำร้ายเจ้าพนักงานขณะปฏิบัติหน้าที่
จำเลยแทงผู้ตายที่บริเวณหน้าอกเหนือหัวใจจนทะลุในครั้นผู้ตายล้มลง จำเลยคร่อมจะแทงซ้ำอีก เช่นนี้ ย่อมแสดงให้เห็นว่าจำเลยมีเจตนาฆ่า
พลตำรวจลาหยุดราชการในระหว่างที่ลาหยุดนั้น ไปเที่ยวในงานมหรสพซึ่งอยู่ในเขตท้องที่ซึ่งตนประจำการอยู่ จ่าสิบตำรวจตรีคนหนึ่งซึ่งรักษาการอยู่ในงานนั้นได้ขอร้องให้ช่วยรักษาความสงบเรียบร้อยในงานนั้นด้วยจำเลยได้แสดงกิริยามึนเมาสุราในบริเวณงานพลตำรวจนั้นได้ห้ามปรามและขอให้จำเลยกลับไปบ้าน จำเลยได้ใช้มีดแทงพลตำรวจผู้นั้นถึงบาดเจ็บสาหัส เช่นนี้ จำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 298
พลตำรวจลาหยุดราชการในระหว่างที่ลาหยุดนั้น ไปเที่ยวในงานมหรสพซึ่งอยู่ในเขตท้องที่ซึ่งตนประจำการอยู่ จ่าสิบตำรวจตรีคนหนึ่งซึ่งรักษาการอยู่ในงานนั้นได้ขอร้องให้ช่วยรักษาความสงบเรียบร้อยในงานนั้นด้วยจำเลยได้แสดงกิริยามึนเมาสุราในบริเวณงานพลตำรวจนั้นได้ห้ามปรามและขอให้จำเลยกลับไปบ้าน จำเลยได้ใช้มีดแทงพลตำรวจผู้นั้นถึงบาดเจ็บสาหัส เช่นนี้ จำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 298
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยึดทรัพย์สินเดิมของภริยาเพื่อชำระหนี้สามี: ต้องเป็นหนี้ร่วมเท่านั้น
แม้สินเดิมของผู้ร้องจะเป็นสินบริคณห์ระหว่างจำเลยกับผู้ร้องซึ่งเป็นสามีภริยากัน โจทก์ก็หามีสิทธินำยึดเพื่อขายทอดตลาด เอาเงินชำระหนี้ได้เสมอไปไม่ โจทก์จะนำยึดเพื่อขายทอดตลาดเอาเงินชำระหนี้ได้ก็ต่อเมื่อหนี้ตามคำพิพากษานั้นเป็นหนี้ร่วมตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1482 (อ้างฎีกาที่ 1792/2492, 1250/2493, 1059/2495, 460/2507)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1625/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิการรับเงินเดือนข้าราชการที่ถูกไล่ออก: การหมดอายุความฟ้องละเมิด
ตามพระราชบัญญัติเงินเดือนของข้าราชการผู้ถูกสั่งพักราชการ พ.ศ. 2502 มาตรา 7(1) และพระราชบัญญัติว่าด้วยการจ่ายเงินเดือนและเงินอื่นๆ ให้แก่ผู้ถูกสั่งพักราชการ พ.ศ.2488 มาตรา 5(1) นั้น เป็นเรื่องให้จ่ายเงินเดือนแก่ผู้ถูกสั่งพักราชการโดยผลของการสอบสวนปรากฏว่าข้าราชการผู้นั้นไม่มีความผิด หรือไม่มีมลทินมัวหมองเท่านั้น แต่ถ้าคณะกรรมการสอบสวนเห็นว่ามีความผิด และทางราชการได้มีคำสั่งไล่ข้าราชการคนใดออกจากราชการไปแล้ว กรณีเช่นนี้ ตามกฎหมายดังกล่าวกลับห้ามมิให้จ่ายเงินเดือนระหว่างพักราชการให้แก่ข้าราชการซึ่งถูกไล่ออกจากราชการนั้นด้วย
กระทรวงเศรษฐการมีคำสั่งให้ไล่โจทก์ออกจากราชการฐานผิดวินัย เมื่อโจทก์เห็นว่าคำสั่งนั้นไม่ชอบด้วยกฎหมาย เป็นการละเมิดต่อโจทก์ โจทก์ก็ชอบที่จะฟ้องร้องต่อศาลเสียภายในกำหนดอายุความ 1 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 448 จะใช้อายุความ 5 ปีตามมาตรา 166 หาได้ไม่
กระทรวงเศรษฐการมีคำสั่งให้ไล่โจทก์ออกจากราชการฐานผิดวินัย เมื่อโจทก์เห็นว่าคำสั่งนั้นไม่ชอบด้วยกฎหมาย เป็นการละเมิดต่อโจทก์ โจทก์ก็ชอบที่จะฟ้องร้องต่อศาลเสียภายในกำหนดอายุความ 1 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 448 จะใช้อายุความ 5 ปีตามมาตรา 166 หาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1625/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิการรับเงินเดือนข้าราชการพักราชการที่ถูกไล่ออก และอายุความฟ้องละเมิด
ตามพระราชบัญญัติเงินเดือนของข้าราชการผู้ถูกสั่งพักราชการพ.ศ.2502 มาตรา 7(1) และพระราชบัญญัติว่าด้วยการจ่ายเงินเดือนและเงินอื่นให้แก่ผู้ถูกสั่งพักราชการ พ.ศ.2488 มาตรา 5(1) นั้นเป็นเรื่องให้จ่ายเงินเดือนแก่ผู้ถูกสั่งพักราชการโดยผลของการสอบสวนปรากฏว่าข้าราชการผู้นั้นไม่มีความผิด หรือไม่มีมลทินมัวหมองเท่านั้นแต่ถ้าคณะกรรมการสอบสวนเห็นว่ามีความผิด และทางราชการได้มีคำสั่งไล่ข้าราชการคนใดออกจากราชการไปแล้ว กรณีเช่นนี้ ตามกฎหมายดังกล่าวกลับห้ามมิให้จ่ายเงินเดือนระหว่างพักราชการให้แก่ข้าราชการซึ่งถูกไล่ออกจากราชการนั้นด้วย
กระทรวงเศรษฐการมีคำสั่งไล่โจทก์ออกจากราชการฐานผิดวินัยเมื่อโจทก์เห็นว่าคำสั่งนั้นไม่ชอบด้วยกฎหมาย เป็นการละเมิดต่อโจทก์ โจทก์ก็ชอบที่จะฟ้องร้องต่อศาลเสียภายในกำหนดอายุความ 1 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 448 จะใช้อายุความ5 ปีตามมาตรา 166 หาได้ไม่
กระทรวงเศรษฐการมีคำสั่งไล่โจทก์ออกจากราชการฐานผิดวินัยเมื่อโจทก์เห็นว่าคำสั่งนั้นไม่ชอบด้วยกฎหมาย เป็นการละเมิดต่อโจทก์ โจทก์ก็ชอบที่จะฟ้องร้องต่อศาลเสียภายในกำหนดอายุความ 1 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 448 จะใช้อายุความ5 ปีตามมาตรา 166 หาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1606-1607/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อตกลงให้ทรัพย์สินโดยไม่มีการจดทะเบียน ไม่ผูกพันตลอดไป การให้โดยเสน่หาเลิกสัญญาได้
ข้อตกลงว่าจะให้ทรัพย์สินอันเป็นผลประโยชน์ที่ผู้ให้จะได้รับจากบริษัทเป็นคราวๆ ตามที่จำหน่ายได้ เป็นคำมั่นว่าจะให้ทรัพย์สิน เมื่อไม่มีการจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ย่อมไม่มีผลผูกพันผู้ให้ตลอดไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1606-1607/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การให้ผลประโยชน์จากสิทธิในทรัพย์สินโดยไม่มีกำหนดระยะเวลาและไม่ได้จดทะเบียน ทำให้คำมั่นนั้นไม่ผูกพัน
ข้อตกลงว่าจะให้ทรัพย์สินอันเป็นผลประโยชน์ที่ผู้ให้จะได้รับจากบริษัทเป็นคราวๆ ตามที่จำหน่ายได้ เป็นคำมั่นว่าจะให้ทรัพย์สิน เมื่อไม่มีการจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ย่อมไม่มีผลผูกพันผู้ให้ตลอดไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1514/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาหลอกลวงเพื่อเอาเงินทอนเข้าข่ายฉ้อโกง แม้ฟ้องฐานลักทรัพย์ ศาลไม่ลงโทษ
ศาลอุทธรณ์ฟังว่า จำเลยที่ 1 ซึ่งไม่ได้อุทธรณ์ ไม่มีความผิดดังฟ้อง โดยลักษณะคดีศาลอุทธรณ์มีอำนาจพิพากษาให้เป็นคุณรวมไปถึงจำเลยที่ไม่ได้อุทธรณ์ด้วยได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 213 (อ้างฎีกาที่ 1370/2503)
จำเลยเข้าไปขอซื้อสบู่ในร้านผู้เสียหาย 1 ก้อน ราคา 3 บาท จำเลยส่งธนบัตรใบละ 100 บาทให้ ผู้เสียหายทอนให้ 97 บาท ต่อมาจำเลยพูดว่าไม่ต้องการสบู่ขอเงินคืน พร้อมกับส่งสบู่และเงินทอนให้ผู้เสียหาย ผู้เสียหายรับเงินทอนโดยไม่นับดู แล้วคืนธนบัตร 100 บาทให้จำเลย จำเลยรับแล้วก็รีบออกจากร้านไป ดังนี้ เจตนาของจำเลยก็เพื่อต้องการเงินจำนวนหนึ่งจากเจ้าทรัพย์ โดยใช้อุบายทำทีว่าจะซื้อสบู่ ด้วยการชำระเงินด้วยธนบัตรใบละ 100 บาท เพื่อเจ้าทรัพย์จะได้ทอนเงินปลีกให้เมื่อได้เงินทอนแล้วก็กลับบอกเลิกไม่ซื้อสบู่ และขอธนบัตรใบละ 100 บาทคืน โดยมอบเงินทอนให้แก่เจ้าทรัพย์ แต่ฉวยโอกาสทำการทุจริตยักเอาเงินไว้เสีย 50 บาท โดยแกล้งทำเป็นซื้อสบู่เป็นฉากบังหน้าอันเป็นเท็จ เพื่อหลอกลวงให้ได้ไปซึ่งทรัพย์สินคือเงินส่วนหนึ่งที่เจ้าทรัพย์ทอนให้ เพราะหลงเชื่อในการหลอกลวงนั้น การกระทำของจำเลยเป็นผิดฐานฉ้อโกง
เมื่อความผิดของจำเลยที่ได้ความตามทางพิจารณาเป็นฐานฉ้อโกง โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษฐานลักทรัพย์ ไม่ประสงค์ให้ลงโทษฐานฉ้อโกง ศาลจะลงโทษจำเลยหาได้ไม่
จำเลยเข้าไปขอซื้อสบู่ในร้านผู้เสียหาย 1 ก้อน ราคา 3 บาท จำเลยส่งธนบัตรใบละ 100 บาทให้ ผู้เสียหายทอนให้ 97 บาท ต่อมาจำเลยพูดว่าไม่ต้องการสบู่ขอเงินคืน พร้อมกับส่งสบู่และเงินทอนให้ผู้เสียหาย ผู้เสียหายรับเงินทอนโดยไม่นับดู แล้วคืนธนบัตร 100 บาทให้จำเลย จำเลยรับแล้วก็รีบออกจากร้านไป ดังนี้ เจตนาของจำเลยก็เพื่อต้องการเงินจำนวนหนึ่งจากเจ้าทรัพย์ โดยใช้อุบายทำทีว่าจะซื้อสบู่ ด้วยการชำระเงินด้วยธนบัตรใบละ 100 บาท เพื่อเจ้าทรัพย์จะได้ทอนเงินปลีกให้เมื่อได้เงินทอนแล้วก็กลับบอกเลิกไม่ซื้อสบู่ และขอธนบัตรใบละ 100 บาทคืน โดยมอบเงินทอนให้แก่เจ้าทรัพย์ แต่ฉวยโอกาสทำการทุจริตยักเอาเงินไว้เสีย 50 บาท โดยแกล้งทำเป็นซื้อสบู่เป็นฉากบังหน้าอันเป็นเท็จ เพื่อหลอกลวงให้ได้ไปซึ่งทรัพย์สินคือเงินส่วนหนึ่งที่เจ้าทรัพย์ทอนให้ เพราะหลงเชื่อในการหลอกลวงนั้น การกระทำของจำเลยเป็นผิดฐานฉ้อโกง
เมื่อความผิดของจำเลยที่ได้ความตามทางพิจารณาเป็นฐานฉ้อโกง โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษฐานลักทรัพย์ ไม่ประสงค์ให้ลงโทษฐานฉ้อโกง ศาลจะลงโทษจำเลยหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1514/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาหลอกลวงเพื่อเอาเงินทอนเข้าตัวเอง ถือเป็นความผิดฐานฉ้อโกง ไม่ใช่ลักทรัพย์
ศาลอุทธรณ์ฟังว่า จำเลยที่ 1 ซึ่งไม่ได้อุทธรณ์ไม่มีความผิดดังฟ้อง โดยลักษณะคดีศาลอุทธรณ์มีอำนาจพิพากษาให้เป็นคุณรวมไปถึงจำเลยที่ไม่ได้อุทธรณ์ด้วยได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 213(อ้างฎีกาที่ 1370/2503)
จำเลยเข้าไปขอซื้อสบู่ในร้านผู้เสียหาย 1 ก้อน ราคา 3 บาท จำเลยส่งธนบัตรใบละ 100 บาทให้ ผู้เสียหายทอนให้ 97 บาท ต่อมาจำเลยพูดว่าไม่ต้องการสบู่ขอเงินคืน พร้อมกับส่งสบู่และเงินทอนให้ผู้เสียหายผู้เสียหายรับเงินทอนโดยไม่นับดู แล้วคืนธนบัตร 100 บาทให้จำเลย จำเลยรับแล้วก็รีบออกจากร้านไปดังนี้เจตนาของจำเลยก็เพื่อต้องการเงินจำนวนหนึ่งจากเจ้าทรัพย์โดยใช้อุบายทำทีว่าจะซื้อสบู่ ด้วยการชำระเงินด้วยธนบัตรใบละ 100 บาท เพื่อเจ้าทรัพย์จะได้ทอนเงินปลีกให้ เมื่อได้เงินทอนแล้วก็กลับบอกเลิกไม่ซื้อสบู่และขอธนบัตรใบละ 100 บาทคืน โดยมอบเงินทอนให้แก่เจ้าทรัพย์แต่ฉวยโอกาสทำการทุจริตยักเอาเงินไว้เสีย 50 บาท โดยแกล้งทำเป็นซื้อสบู่เป็นฉากบังหน้าอันเป็นเท็จ เพื่อหลอกลวงให้ได้ไปซึ่งทรัพย์สินคือเงินส่วนหนึ่งที่เจ้าทรัพย์ทอนให้เพราะหลงเชื่อในการหลอกลวงนั้น การกระทำของจำเลยเป็นผิดฐานฉ้อโกง
เมื่อความผิดของจำเลยที่ได้ความตามทางพิจารณาเป็นฐานฉ้อโกง โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษฐานลักทรัพย์ ไม่ประสงค์ให้ลงโทษฐานฉ้อโกง ศาลจะลงโทษจำเลยหาได้ไม่
จำเลยเข้าไปขอซื้อสบู่ในร้านผู้เสียหาย 1 ก้อน ราคา 3 บาท จำเลยส่งธนบัตรใบละ 100 บาทให้ ผู้เสียหายทอนให้ 97 บาท ต่อมาจำเลยพูดว่าไม่ต้องการสบู่ขอเงินคืน พร้อมกับส่งสบู่และเงินทอนให้ผู้เสียหายผู้เสียหายรับเงินทอนโดยไม่นับดู แล้วคืนธนบัตร 100 บาทให้จำเลย จำเลยรับแล้วก็รีบออกจากร้านไปดังนี้เจตนาของจำเลยก็เพื่อต้องการเงินจำนวนหนึ่งจากเจ้าทรัพย์โดยใช้อุบายทำทีว่าจะซื้อสบู่ ด้วยการชำระเงินด้วยธนบัตรใบละ 100 บาท เพื่อเจ้าทรัพย์จะได้ทอนเงินปลีกให้ เมื่อได้เงินทอนแล้วก็กลับบอกเลิกไม่ซื้อสบู่และขอธนบัตรใบละ 100 บาทคืน โดยมอบเงินทอนให้แก่เจ้าทรัพย์แต่ฉวยโอกาสทำการทุจริตยักเอาเงินไว้เสีย 50 บาท โดยแกล้งทำเป็นซื้อสบู่เป็นฉากบังหน้าอันเป็นเท็จ เพื่อหลอกลวงให้ได้ไปซึ่งทรัพย์สินคือเงินส่วนหนึ่งที่เจ้าทรัพย์ทอนให้เพราะหลงเชื่อในการหลอกลวงนั้น การกระทำของจำเลยเป็นผิดฐานฉ้อโกง
เมื่อความผิดของจำเลยที่ได้ความตามทางพิจารณาเป็นฐานฉ้อโกง โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษฐานลักทรัพย์ ไม่ประสงค์ให้ลงโทษฐานฉ้อโกง ศาลจะลงโทษจำเลยหาได้ไม่