พบผลลัพธ์ทั้งหมด 1,032 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1553/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องคดีภาษีซ้ำเกินกำหนดเวลา และการยึดทรัพย์ตามอำนาจประมวลรัษฎากร
คดีก่อน โจทก์บรรยายฟ้องว่า การประเมินภาษีของเจ้าพนักงานและคำวินิจฉัยอุทธรณ์ของอธิบดีกรมสรรพากรที่เรียกเก็บภาษีจากโจทก์อย่างโจทก์ทำการค้าเองโดยตรงไม่ถูกต้อง เพราะการค้าของโจทก์ในปี 2499 - 2500 เป็นอย่างตัวแทนของบริษัท ฮ. ขอให้แสดงว่าคำสั่งของเจ้าพนักงานเป็นคำสั่งที่มิชอบ โจทก์ไม่ต้องเสียภาษีการค้าอย่างเป็นผู้ขาย ในคดีหลัง โจทก์บรรยายฟ้องเป็นอย่างเดียวกันว่า โจทก์ทำการค้าอย่างเป็นตัวแทน และขอให้แสดงว่าการค้าโจทก์รายเดียวกันนี้เป็นเพียงนายหน้าตัวแทน ฟ้องของโจทก์ทั้ง 2 คดีจึงมีประเด็นอย่างเดียวกันว่า การฟ้องของโจทก์สำหรับปี 2499 - 2500 เป็นการค้ามิใช่โดยตรง หากเป็นเพียงตัวแทน การที่ฟ้องโจทก์ในคดีก่อนถูกยกฟ้องไป ก็เพราะโจทก์หมดสิทธิฟ้องตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ ฟ้องของโจทก์ในคดีนี้ก็มีประเด็นที่จะต้องวินิจฉัยโดยอาศัยเหตุอย่างเดียวกันว่าโจทก์หมดสิทธิฟ้องตามที่กฎหมายบัญญัติไว้เป็นอย่างเดียวหรือไม่ ซึ่งในคดีหลังจำเลยก็ให้การเช่นเดียวกับคดีก่อนว่าโจทก์ฟ้องเกินระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดไว้ ฟ้องโจทก์คดีหลังจึงเป็นการต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 148
การยึดทรัพย์ตามประมวลรัษฎากรมิใช่เป็นกระบวนชั้นบังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสั่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 148(1) แต่เป็นการยึดทรัพย์ตามอำนาจที่ประมวลรัษฎากรบัญญัติไว้
อำนาจในการที่จะสั่งยึดหรือขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ต้องเสียภาษีอากรตามประมวลรัษฎากรเป็นอำนาจและหน้าที่ของเจ้าพนักงานตามที่กฎหมายบัญญัติให้อำนาจไว้โดยเฉพาะ หาใช่เป็นเรื่องตัวแทนตัวการตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ไม่
เมื่อข้อเท็จจริงตามโจทก์ฟ้องประกอบคำให้การจำเลยและสำนวนคดีก่อนเป็นอันวินิจฉัยได้แล้ว ก็ไม่จำเป็นที่จะต้องทำการสืบพยานตามที่โจทก์แถลงไว้ต่อศาลในวันนัดชี้สองสถานต่อไปอีก
การยึดทรัพย์ตามประมวลรัษฎากรมิใช่เป็นกระบวนชั้นบังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสั่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 148(1) แต่เป็นการยึดทรัพย์ตามอำนาจที่ประมวลรัษฎากรบัญญัติไว้
อำนาจในการที่จะสั่งยึดหรือขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ต้องเสียภาษีอากรตามประมวลรัษฎากรเป็นอำนาจและหน้าที่ของเจ้าพนักงานตามที่กฎหมายบัญญัติให้อำนาจไว้โดยเฉพาะ หาใช่เป็นเรื่องตัวแทนตัวการตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ไม่
เมื่อข้อเท็จจริงตามโจทก์ฟ้องประกอบคำให้การจำเลยและสำนวนคดีก่อนเป็นอันวินิจฉัยได้แล้ว ก็ไม่จำเป็นที่จะต้องทำการสืบพยานตามที่โจทก์แถลงไว้ต่อศาลในวันนัดชี้สองสถานต่อไปอีก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1553/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หมดสิทธิฟ้องคดีภาษีซ้ำ – ยึดทรัพย์ตามอำนาจประมวลรัษฎากร – ประเด็นซ้ำคดีก่อน
คดีก่อนโจทก์บรรยายฟ้องว่า การประเมินภาษีของเจ้าพนักงานและคำวินิจฉัยอุทธรณ์ของอธิบดีกรมสรรพากรที่เรียกเก็บภาษีจากโจทก์อย่างโจทก์ทำการค้าเองโดยตรงไม่ถูกต้อง เพราะการค้าของโจทก์ในปี 2499-2500 เป็นอย่างตัวแทนของบริษัท ฮ. ขอให้แสดงว่าคำสั่งของเจ้าพนักงานเป็นคำสั่งของเจ้าพนักงานเป็นคำสั่งที่มิชอบ โจทก์ไม่ต้องเสียภาษีการค้าอย่างเป็นผู้ขาย ในคดีหลัง โจทก์บรรยายฟ้องเป็นอย่างเดียวกันว่า โจทก์ทำการค้าอย่างเป็นตัวแทนและขอให้แสดงว่าการค้าของโจทก์รายเดียวกันนี้เป็นเพียงนายหน้าตัวแทน ฟ้องของโจทก์ทั้งสองคดีจึงมีประเด็นอย่างเดียวกันว่า การฟ้องของโจทก์สำหรับปี 2499-2500 เป็นการค้ามิใช่โดยตรง หากเป็นเพียงตัวแทน การที่ฟ้องโจทก์ในคดีก่อนถูกยกฟ้องไป ก็เพราะโจทก์หมดสิทธิฟ้องตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ ฟ้องของโจทก์ในคดีนี้ก็มีประเด็นที่จะต้องวินิจฉัยโดยอาศัยเหตุอย่างเดียวกันว่าโจทก์หมดสิทธิฟ้อง ตามที่กฎหมายบัญญัติไว้เป็นอย่างเดียวหรือไม่ ซึ่งในคดีหลังจำเลยก็ให้การเช่นเดียวกับคดีก่อนว่าโจทก์ฟ้องเกินระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดไว้ฟ้องโจทก์คดีหลังจึงเป็นการต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 148
การยึดทรัพย์ตามประมวลรัษฎากรมิใช่เป็นกระบวนชั้นบังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสั่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 148(1) แต่เป็นการยึดทรัพย์ตามอำนาจที่ประมวลรัษฎากรบัญญัติไว้
อำนาจในการที่จะสั่งยึดหรือขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ต้องเสียภาษีอากรตามประมวลรัษฎากรเป็นอำนาจและหน้าที่ของเจ้าพนักงานตามที่กฎหมายบัญญัติให้อำนาจไว้โดยเฉพาะหาใช่เป็นเรื่องตัวแทนตัวการตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ไม่
เมื่อข้อเท็จจริงตามโจทก์ฟ้องประกอบคำให้การจำเลยและสำนวนคดีก่อนเป็นอันวินิจฉัยได้แล้ว ก็ไม่จำเป็นที่จะต้องทำการสืบพยานตามที่โจทก์แถลงไว้ต่อศาลในวันนัดชี้สองสถานต่อไปอีก
การยึดทรัพย์ตามประมวลรัษฎากรมิใช่เป็นกระบวนชั้นบังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสั่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 148(1) แต่เป็นการยึดทรัพย์ตามอำนาจที่ประมวลรัษฎากรบัญญัติไว้
อำนาจในการที่จะสั่งยึดหรือขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ต้องเสียภาษีอากรตามประมวลรัษฎากรเป็นอำนาจและหน้าที่ของเจ้าพนักงานตามที่กฎหมายบัญญัติให้อำนาจไว้โดยเฉพาะหาใช่เป็นเรื่องตัวแทนตัวการตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ไม่
เมื่อข้อเท็จจริงตามโจทก์ฟ้องประกอบคำให้การจำเลยและสำนวนคดีก่อนเป็นอันวินิจฉัยได้แล้ว ก็ไม่จำเป็นที่จะต้องทำการสืบพยานตามที่โจทก์แถลงไว้ต่อศาลในวันนัดชี้สองสถานต่อไปอีก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1525/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำร้องขอพิจารณาใหม่ต้องแสดงเหตุขาดนัดและข้อคัดค้านคำตัดสินชัดแจ้งครบถ้วน
คำร้องขอให้มีการพิจารณาใหม่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 208 วรรคท้าย จะต้องกล่าวโดยละเอียดชัดแจ้งซึ่งเหตุที่คู่ความได้ขาดนัด และข้อคัดค้านคำตัดสินชี้ขาดของศาล ซึ่งหมายความว่าจะต้องกล่าวโดยละเอียดและชัดแจ้งทั้ง 2 ประการ คือ ทั้งเหตุที่ได้ขาดนัดและทั้งข้อคัดค้านคำตัดสินชี้ขาดของศาลด้วย
จำเลยยื่นคำร้องขอให้พิจารณาคดีใหม่โดยกล่าวในคำร้องท้าวถึงคำให้การจำเลยเพียงสั้น ๆ ว่า "และคำให้การของจำเลยก็มีข้อต่อสู้พอที่จะชนะคดีโจทก์" คำร้องของจำเลยจึงไม่ชอบด้วยบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 209 ในอันที่ศาลจะพึงสั่งอนุญาตให้มีการพิจารณาใหม่
จำเลยยื่นคำร้องขอให้พิจารณาคดีใหม่โดยกล่าวในคำร้องท้าวถึงคำให้การจำเลยเพียงสั้น ๆ ว่า "และคำให้การของจำเลยก็มีข้อต่อสู้พอที่จะชนะคดีโจทก์" คำร้องของจำเลยจึงไม่ชอบด้วยบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 209 ในอันที่ศาลจะพึงสั่งอนุญาตให้มีการพิจารณาใหม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1442/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโอนทรัพย์ฉ้อฉลเจ้าหนี้และการซื้อขายโดยผู้รับซื้อไม่สุจริต ทำให้ผู้ร้องไม่มีสิทธิในทรัพย์
โจทก์คัดค้านคำร้องขัดทรัพย์ และขอให้ยกคำร้อง
เมื่อฟังได้ว่าจำเลยยกทรัพย์ให้บุตรเป็นการฉ้อฉลทำให้เจ้าหนี้เสียเปรียบ และบุตรเอาทรัพย์นี้ไปขายให้ผู้ร้อง ซึ่งรับซื้อไว้โดยไม่สุจริตศาลย่อมพิพากษาให้ยกคำร้องขัดทรัพย์เสีย
เมื่อฟังได้ว่าจำเลยยกทรัพย์ให้บุตรเป็นการฉ้อฉลทำให้เจ้าหนี้เสียเปรียบ และบุตรเอาทรัพย์นี้ไปขายให้ผู้ร้อง ซึ่งรับซื้อไว้โดยไม่สุจริตศาลย่อมพิพากษาให้ยกคำร้องขัดทรัพย์เสีย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1442/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
นิติกรรมฉ้อฉลเจ้าหนี้และการซื้อขายโดยไม่สุจริต ส่งผลให้คำร้องขัดทรัพย์เป็นโมฆะ
โจทก์คัดค้านคำร้องขัดทรัพย์ และขอให้ยกคำร้อง
เมื่อฟังได้ว่าจำเลยยกทรัพย์ให้บุตรเป็นการฉ้อฉลทำให้เจ้าหนี้เสียเปรียบและบุตรเอาทรัพย์นี้ไปขายให้ผู้ร้อง ซึ่งรับซื้อไว้โดยไม่สุจริต ศาลย่อมพิพากษาให้ยกคำร้องขัดทรัพย์เสีย
เมื่อฟังได้ว่าจำเลยยกทรัพย์ให้บุตรเป็นการฉ้อฉลทำให้เจ้าหนี้เสียเปรียบและบุตรเอาทรัพย์นี้ไปขายให้ผู้ร้อง ซึ่งรับซื้อไว้โดยไม่สุจริต ศาลย่อมพิพากษาให้ยกคำร้องขัดทรัพย์เสีย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1425/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำร้องขอพิจารณาคดีใหม่ต้องระบุเหตุขาดนัดและข้อคัดค้านคำตัดสินชี้ขาดอย่างละเอียดชัดเจน
คำร้องขอให้มีการพิจารณาใหม่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 208 วรรคท้าย จะต้องกล่าวโดยละเอียดชัดแจ้งซึ่งเหตุที่คู่ความได้ขาดนัด และข้อคัดค้านคำตัดสินชี้ขาดของศาล ซึ่งหมายความว่าจะต้องกล่าวโดยละเอียดและชัดแจ้งทั้ง 2 ประการ คือ ทั้งเหตุที่ได้ขาดนัดและทั้งข้อคัดค้านคำตัดสินชี้ขาดของศาลด้วย
จำเลยยื่นคำร้องขอให้พิจารณาคดีใหม่โดยกล่าวในคำร้องท้าวถึงคำให้การจำเลยเพียงสั้นๆ ว่า "และคำให้การของจำเลยก็มีข้อต่อสู้พอที่จะชนะคดีโจทก์" คำร้องของจำเลยจึงไม่ชอบด้วยบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 209 ในอันที่ศาลจะพึงสั่งอนุญาตให้มีการพิจารณาใหม่
จำเลยยื่นคำร้องขอให้พิจารณาคดีใหม่โดยกล่าวในคำร้องท้าวถึงคำให้การจำเลยเพียงสั้นๆ ว่า "และคำให้การของจำเลยก็มีข้อต่อสู้พอที่จะชนะคดีโจทก์" คำร้องของจำเลยจึงไม่ชอบด้วยบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 209 ในอันที่ศาลจะพึงสั่งอนุญาตให้มีการพิจารณาใหม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1391-1398/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยื่นบัญชีระบุพยานรวมสำนวน แม้เลขคดีไม่ครบถ้วน ศาลยังให้สิทธิโจทก์สืบพยานได้
คดีที่ศาลรวมพิจารณานั้น เมื่อทนายโจทก์ซึ่งเป็นคนเดียวกันในทุกสำนวนได้ยื่นบัญชีระบุพยานไว้ในสำนวนคดีหนึ่งโดยระบุเลขคดีแต่คดีเดียวเท่านั้น แต่ชื่อคู่ความก็ลงชื่อโจทก์กับพวก และชื่อจำเลยกับพวก ชื่อพยานก็ระบุชื่อโจทก์ทุกสำนวนอ้างตนเองเป็นพยาน พยานเอกสารก็อ้างเอกสารของโจทก์ทุกคน ดังนี้ เห็นได้ว่าเป็นการยื่นบัญชีระบุพยานรวมกันทุกสำนวน แม้จะมิได้ใส่เลขคดีให้ครบถ้วน ก็เป็นความบกพร่องเพียงเล็กน้อย โจทก์จึงมีสิทธินำพยานสืบตามบัญชีระบุพยานที่ระบุไว้นั้นได้ทุกสำนวน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1391-1398/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยื่นบัญชีระบุพยานรวมสำนวน แม้เลขคดีไม่ครบถ้วน ศาลอนุญาตให้สืบพยานได้
คดีที่ศาลรวมพิจารณานั้น เมื่อทนายโจทก์ซึ่งเป็นคนเดียวกันในทุกสำนวนได้ยื่นบัญชีระบุพยานไว้ในสำนวนคดีหนึ่งโดยระบุเลขคดีแต่คดีเดียวเท่านั้น แต่ชื่อคู่ความก็ลงชื่อโจทก์กับพวก และชื่อจำเลยกับพวก ชื่อพยานก็ระบุชื่อโจทก์ทุกสำนวนอ้างตนเองเป็นพยาน พยานเอกสารก็อ้างเอกสารของโจทก์ทุกคน ดังนี้ เห็นได้ว่าเป็นการยื่นบัญชีระบุพยานรวมกันทุกสำนวน แม้จะมิได้ใส่เลขคดีให้ครบถ้วน ก็เป็นความบกพร่องเพียงเล็กน้อย โจทก์จึงมีสิทธินำพยานสืบตามบัญชีระบุพยานที่ระบุไว้นั้นได้ทุกสำนวน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1270/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโอนที่ดินมือเปล่าต้องได้รับคำรับรองการทำประโยชน์จากนายอำเภอก่อน จึงจะจดทะเบียนได้
ศาลจะบังคับให้พนักงานเจ้าหน้าที่จดทะเบียนโอนที่ดินมือเปล่าซึ่งยังมิได้รับคำรับรองจากนายอำเภอว่าได้ทำประโยชน์แล้วไม่ได้
ความในมาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดินพ.ศ.2497 ที่ยอมให้บุคคลที่ครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินและผู้รับโอนที่ดินดังกล่าว มีสิทธิขอรับโฉนดที่ดินได้นั้น คำว่า "ผู้รับโอน"นั้นจะต้องเป็นผู้ที่ได้รับโอนที่ดินมาโดยชอบด้วยกฎหมายว่าด้วยการออกโฉนดที่ดินโดยถูกต้องเสียก่อน แล้วผู้รับโอนนั้นจึงจะมีสิทธิมาขอรับโฉนดที่ดิน ฉะนั้น ที่ดินรายพิพาทซึ่งยังมิได้มีการโอนกันโดยชอบด้วยกฎหมาย และยังเป็นที่ดินที่ไม่ได้รับคำรับรองจากนายอำเภอว่าได้ทำประโยชน์แล้ว จึงโอนกันมิได้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1330 เพียงแต่บัญญัติรับรองสิทธิของผู้ซื้อโดยสุจริตจากการขายทอดตลาดตามคำสั่งศาลว่ามิเสียไป ถึงแม้ภายหลังจะพิสูจน์ได้ว่าทรัพย์สินนั้นมิใช่ของจำเลยหรือลูกหนี้ตามคำพิพากษาเท่านั้น ซึ่งเป็นคนละเรื่องกันกับเรื่องขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม อันจะต้องดำเนินการตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ.2497 และประมวลกฎหมายที่ดิน(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 15/2509)
ความในมาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดินพ.ศ.2497 ที่ยอมให้บุคคลที่ครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินและผู้รับโอนที่ดินดังกล่าว มีสิทธิขอรับโฉนดที่ดินได้นั้น คำว่า "ผู้รับโอน"นั้นจะต้องเป็นผู้ที่ได้รับโอนที่ดินมาโดยชอบด้วยกฎหมายว่าด้วยการออกโฉนดที่ดินโดยถูกต้องเสียก่อน แล้วผู้รับโอนนั้นจึงจะมีสิทธิมาขอรับโฉนดที่ดิน ฉะนั้น ที่ดินรายพิพาทซึ่งยังมิได้มีการโอนกันโดยชอบด้วยกฎหมาย และยังเป็นที่ดินที่ไม่ได้รับคำรับรองจากนายอำเภอว่าได้ทำประโยชน์แล้ว จึงโอนกันมิได้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1330 เพียงแต่บัญญัติรับรองสิทธิของผู้ซื้อโดยสุจริตจากการขายทอดตลาดตามคำสั่งศาลว่ามิเสียไป ถึงแม้ภายหลังจะพิสูจน์ได้ว่าทรัพย์สินนั้นมิใช่ของจำเลยหรือลูกหนี้ตามคำพิพากษาเท่านั้น ซึ่งเป็นคนละเรื่องกันกับเรื่องขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม อันจะต้องดำเนินการตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ.2497 และประมวลกฎหมายที่ดิน(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 15/2509)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1270/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจดทะเบียนโอนที่ดินต้องได้รับคำรับรองการทำประโยชน์จากนายอำเภอก่อน แม้ซื้อจากการขายทอดตลาดโดยสุจริตก็ไม่อาจขัดขั้นตอนตามกฎหมายได้
ศาลจะบังคับให้พนักงานเจ้าหน้าที่จดทะเบียนโอนที่ดินมือเปล่าซึ่งยังมิได้รับคำรับรองจากนายอำเภอว่าได้ทำประโยชน์แล้วไม่ได้
ความในมาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 ที่ยอมให้บุคคลที่ครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินและผู้รับโอนที่ดินดังกล่าว มีสิทธิขอรับโฉนดที่ดินได้นั้น คำว่า"ผู้รับโอน"นั้นจะต้องเป็นผู้ที่ได้รับโอนที่ดินมาโดยชอบด้วยกฎหมายว่าด้วยการออกโฉนดที่ดินโดยถูกต้องเสียก่อน แล้วผู้รับโอนนั้นจึงจะมีสิทธิมาขอรับโฉนดที่ดิน ฉะนั้น ที่ดินรายพิพาทซึ่งยังมิได้มีการโอนกันโดยชอบด้วยกฎหมาย และยังเป็นที่ดินที่ไม่ได้รับคำรับรองจากนายอำเภอว่าได้ทำประโยชน์แล้ว จึงโอนกันมิได้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1330 เพียงแต่บัญญัติรับรองสิทธิของผู้ซื้อโดยสุจริตจากการขายทอดตลาดตามคำสั่งว่ามิเสียไป ถึงแม้ภายหลังจะพิสูจน์ได้ว่าทรัพย์สินนั้นมิใช่ของจำเลยหรือลูกหนี้ตามคำพิพากษาเท่านั้น ซึ่งเป็นคนละเรื่องกันกับเรื่องขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม อันจะต้องดำเนินการตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 และประมวลกฎหมายที่ดิน
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 15/2509)
ความในมาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 ที่ยอมให้บุคคลที่ครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินและผู้รับโอนที่ดินดังกล่าว มีสิทธิขอรับโฉนดที่ดินได้นั้น คำว่า"ผู้รับโอน"นั้นจะต้องเป็นผู้ที่ได้รับโอนที่ดินมาโดยชอบด้วยกฎหมายว่าด้วยการออกโฉนดที่ดินโดยถูกต้องเสียก่อน แล้วผู้รับโอนนั้นจึงจะมีสิทธิมาขอรับโฉนดที่ดิน ฉะนั้น ที่ดินรายพิพาทซึ่งยังมิได้มีการโอนกันโดยชอบด้วยกฎหมาย และยังเป็นที่ดินที่ไม่ได้รับคำรับรองจากนายอำเภอว่าได้ทำประโยชน์แล้ว จึงโอนกันมิได้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1330 เพียงแต่บัญญัติรับรองสิทธิของผู้ซื้อโดยสุจริตจากการขายทอดตลาดตามคำสั่งว่ามิเสียไป ถึงแม้ภายหลังจะพิสูจน์ได้ว่าทรัพย์สินนั้นมิใช่ของจำเลยหรือลูกหนี้ตามคำพิพากษาเท่านั้น ซึ่งเป็นคนละเรื่องกันกับเรื่องขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม อันจะต้องดำเนินการตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 และประมวลกฎหมายที่ดิน
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 15/2509)