พบผลลัพธ์ทั้งหมด 566 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 467/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิจารณา 'อันตรายสาหัส' ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 297: การสูญเสียฟันไม่ถือเป็นอันตรายสาหัส
การถูกกระทำร้ายถึงเสียอวัยวะที่จะถือว่าเป็นอันตรายสาหัสตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 297 คำว่า อวัยวะอื่นใดในอนุมาตรา 3 นั้น ย่อมหมายถึงอวัยวะอื่นนอกจากที่ระบุไว้ ซึ่งต้องเป็นอวัยวะที่สำคัญเช่นกันและเมื่อสูญเสียอวัยวะนั้นไปแล้ว ย่อมเป็นเหตุให้ผู้ได้รับอันตรายกลายเป็นคนพิการไปด้วย
การที่จำเลยขับรถโดยประมาทชนรถผู้อื่นทำให้ผู้เสียหายได้รับบาดเจ็บฟันหัก 1 ซี่นั้น ยังถือไม่ได้ว่าได้รับอันตรายสาหัสตามที่กฎหมายบัญญัติไว้
การที่จำเลยขับรถโดยประมาทชนรถผู้อื่นทำให้ผู้เสียหายได้รับบาดเจ็บฟันหัก 1 ซี่นั้น ยังถือไม่ได้ว่าได้รับอันตรายสาหัสตามที่กฎหมายบัญญัติไว้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 467/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิจารณาความรุนแรงของการบาดเจ็บตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 297 ว่าเข้าข่าย 'อันตรายสาหัส' หรือไม่ กรณีฟันหัก
การถูกกระทำร้ายถึงเสียอวัยวะที่จะถือว่าเป็นอันตรายสาหัสตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 297 คำว่าอวัยวะอื่นใดในอนุมาตรา 3 นั้น ย่อมหมายถึงอวัยวะอื่นนอกจากที่ระบุไว้ซึ่งต้องเป็นอวัยวะที่สำคัญเช่นกันและเมื่อสูญเสียอวัยวะนั้นไปแล้วย่อมเป็นเหตุให้ผู้ได้รับอันตรายกลายเป็นคนพิการไปด้วย
การที่จำเลยขับรถโดยประมาทชนรถผู้อื่นทำให้ผู้เสียหายได้รับบาดเจ็บฟันหัก 1 ซี่ นั้นยังถือไม่ได้ว่าได้รับอันตรายสาหัสตามที่กฎหมายบัญญัติไว้
การที่จำเลยขับรถโดยประมาทชนรถผู้อื่นทำให้ผู้เสียหายได้รับบาดเจ็บฟันหัก 1 ซี่ นั้นยังถือไม่ได้ว่าได้รับอันตรายสาหัสตามที่กฎหมายบัญญัติไว้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การกระทำผิดกฎหมายประมงด้วยการปิดกั้นลำห้วยสาธารณะถือเป็นความผิดต่อเนื่องและเข้าข่ายความผิดตาม พ.ร.บ.ประมง
จำเลยสร้างทำนบปิดกั้นลำห้วยสาธาณะเป็นการปลูกสร้างสิ่งใดลงไปในที่สาธารณประโยชน์ตามพระราชบัญญัติการประมง พ.ศ.2490 มาตรา 17
โจทก์บรรยายฟ้องว่าลำห้วยตามฟ้องเป็นที่จับสัตว์น้ำสาธารณะ และเป็นลำห้วยที่มีไว้เพื่อสาธารณประโยชน์ ถือว่าโจทก์ได้บรรยายฟ้องไว้ชัดเจนแล้วว่า ลำห้วยตามฟ้องเป็นที่จับสัตว์น้ำตามพระราชบัญญัติการประมง พ.ศ.2490 มาตรา 4(5)
โจทก์บรรยายฟ้องว่าลำห้วยตามฟ้องเป็นที่จับสัตว์น้ำสาธารณะ และเป็นลำห้วยที่มีไว้เพื่อสาธารณประโยชน์ ถือว่าโจทก์ได้บรรยายฟ้องไว้ชัดเจนแล้วว่า ลำห้วยตามฟ้องเป็นที่จับสัตว์น้ำตามพระราชบัญญัติการประมง พ.ศ.2490 มาตรา 4(5)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสร้างสิ่งกีดขวางลำห้วยสาธารณะเข้าข่ายความผิดตามพ.ร.บ.การประมง เนื่องจากเป็นการปิดกั้นที่จับสัตว์น้ำสาธารณประโยชน์
จำเลยสร้างทำนบปิดกั้นลำห้วยสาธารณะ เป็นการปลูกสร้างสิ่งใดลงไปในที่สาธารณประโยชน์ตามพระราชบัญญัติการประมงพ.ศ.2490 มาตรา 17
โจทก์บรรยายฟ้องว่าลำห้วยตามฟ้องเป็นที่จับสัตว์น้ำสาธารณะและเป็นลำห้วยที่มีไว้เพื่อสาธารณประโยชน์ถือว่าโจทก์ได้บรรยายฟ้องไว้ชัดเจนแล้วว่า ลำห้วยตามฟ้องเป็นที่จับสัตว์น้ำตามพระราชบัญญัติการประมง พ.ศ.2490 มาตรา 4(5)
โจทก์บรรยายฟ้องว่าลำห้วยตามฟ้องเป็นที่จับสัตว์น้ำสาธารณะและเป็นลำห้วยที่มีไว้เพื่อสาธารณประโยชน์ถือว่าโจทก์ได้บรรยายฟ้องไว้ชัดเจนแล้วว่า ลำห้วยตามฟ้องเป็นที่จับสัตว์น้ำตามพระราชบัญญัติการประมง พ.ศ.2490 มาตรา 4(5)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1112/2507
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การกระทำของเสมียนตราอำเภอที่ไม่ได้รับมอบหมายหน้าที่จำหน่ายพระเครื่อง ไม่ถือเป็นเจ้าพนักงานยักยอกทรัพย์ แต่เป็นยักยอกทรัพย์ธรรมดา และการปลอมแปลงเอกสาร
จำเลยเป็นเสมียนตราอำเภอ มิได้รับแต่งตั้งหรือมอบหมายจากนายอำเภอผู้รับผิดชอบในการจำหน่ายพระเครื่องในงานฉลอง25 พุทธศตวรรษ ให้จำเลยมีหน้าที่จำหน่ายหรือรักษาเงินจำหน่ายพระเครื่อง หากจำเลยยักยอกเงินที่จำเลยจำหน่ายพระเครื่องได้ไป การกระทำของจำเลยก็มิใช่เจ้าพนักงานกระทำผิดในตำแหน่งหน้าที่ราชการ จำเลยคงมีความผิดฐานยักยอกธรรมดา ตามมาตรา 352
การที่จำเลยแก้ต้นขั้วใบเสร็จรับเงินที่จำเลยทำขึ้นไว้เป็นส่วนตัวเพื่อแสดงทางได้เงินจากการจำหน่ายพระเครื่องซึ่งจำเลยจำหน่ายไป โดยจำเลยมิได้ออกใบเสร็จรับเงินให้กับผู้มีชื่อในต้นขั้วด้วยนั้น ไม่เป็นการปลอมเอกสาร แต่ถ้าหากจำเลยออกใบเสร็จรับเงินให้แก่ผู้ซื้อไป แล้วแก้ต้นขั้วใบเสร็จรับเงินให้น้อยลง การกระทำของจำเลยก็เป็นการแก้ต้นขั้วใบเสร็จรับเงินที่แท้จริงเพื่อแสดงให้เห็นเป็นอย่างอื่น ทำให้เกิดเสียหายแก่ผู้ซื้อ จำเลยจึงมีผิดฐานปลอมเอกสารตาม มาตรา 264
เอกสารราชการ จะต้องเป็นเอกสารที่เจ้าพนักงานได้ทำขึ้นหรือรับรองในหน้าที่ดังที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 1(8) บันทึกที่จำเลยเขียนขึ้นไว้ทั้งฉบับและทำขึ้นไว้เป็นส่วนตัว โดยจำเลยมีได้มีหน้าที่ราชการนั้น จึงมิใช่เอกสารราชการ
การที่จำเลยแก้ต้นขั้วใบเสร็จรับเงินที่จำเลยทำขึ้นไว้เป็นส่วนตัวเพื่อแสดงทางได้เงินจากการจำหน่ายพระเครื่องซึ่งจำเลยจำหน่ายไป โดยจำเลยมิได้ออกใบเสร็จรับเงินให้กับผู้มีชื่อในต้นขั้วด้วยนั้น ไม่เป็นการปลอมเอกสาร แต่ถ้าหากจำเลยออกใบเสร็จรับเงินให้แก่ผู้ซื้อไป แล้วแก้ต้นขั้วใบเสร็จรับเงินให้น้อยลง การกระทำของจำเลยก็เป็นการแก้ต้นขั้วใบเสร็จรับเงินที่แท้จริงเพื่อแสดงให้เห็นเป็นอย่างอื่น ทำให้เกิดเสียหายแก่ผู้ซื้อ จำเลยจึงมีผิดฐานปลอมเอกสารตาม มาตรา 264
เอกสารราชการ จะต้องเป็นเอกสารที่เจ้าพนักงานได้ทำขึ้นหรือรับรองในหน้าที่ดังที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 1(8) บันทึกที่จำเลยเขียนขึ้นไว้ทั้งฉบับและทำขึ้นไว้เป็นส่วนตัว โดยจำเลยมีได้มีหน้าที่ราชการนั้น จึงมิใช่เอกสารราชการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1112/2507 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การกระทำของเสมียนตราอำเภอที่ยักยอกเงินค่าจำหน่ายพระเครื่อง และการปลอมแปลงเอกสารที่ไม่เข้าข่ายเอกสารราชการ
จำเลยเป็นเสมียนตราอำเภอ มิได้รับแต่งตั้งหรือมอบหมายจากนายอำเภอผู้รับผิดชอบในการจำหน่ายพระเครืองในงานฉลอง 25 พุทธศตวรรษ ให้จำเลยมีหน้าที่จำหน่ายหรือรักษาเงินจำหน่ายพระเครื่อง หากจำเลยยักยอกเงินที่จำเลยจำหน่ายพระเครื่องได้ไป การกระทำของจำเลยก็มิใช่เจ้าพนักงานกระทำผิดในตำแหน่งหน้าที่ราชการ จำเลยคงมีความผิดฐานยักยอกธรรมดาตามมาตรา 352
การที่จำเลยแก้ต้นขั้วใบเสร็จรับเงินที่จำเลยทำขึ้นไว้เป็นส่วนตัวเพื่อแสดงทางได้เงินจากการจำหน่ายพระเครื่องซึ่งจำเลยจำหน่ายไปโดยจำเลยมิได้ออกใบเสร็จรับเงินให้กับผู้มีชื่อในต้นขั้วด้วยนั้น ไม่เป็นการปลอมเอกสาร แต่ถ้าหากจำเลยออกใบเสร็จรับเงินให้แก่ผู้ซื้อไป แล้วแก้ต้นขั้วใบเสร็จรับเงินให้น้อยลง การกระทำของจำเลยก็เป็นการแก้ต้นขั้วใบเสร็จรับเงินที่แท้จริงเพื่อแสดงให้เห็นเป็นอย่างอื่น ทำให้เกิดเสียหายแก่ผู้ซื้อ จำเลยจึงมีผิดฐานปลอมเอกสารตามมาตรา 268
การที่จำเลยแก้ต้นขั้วใบเสร็จรับเงินที่จำเลยทำขึ้นไว้เป็นส่วนตัวเพื่อแสดงทางได้เงินจากการจำหน่ายพระเครื่องซึ่งจำเลยจำหน่ายไปโดยจำเลยมิได้ออกใบเสร็จรับเงินให้กับผู้มีชื่อในต้นขั้วด้วยนั้น ไม่เป็นการปลอมเอกสาร แต่ถ้าหากจำเลยออกใบเสร็จรับเงินให้แก่ผู้ซื้อไป แล้วแก้ต้นขั้วใบเสร็จรับเงินให้น้อยลง การกระทำของจำเลยก็เป็นการแก้ต้นขั้วใบเสร็จรับเงินที่แท้จริงเพื่อแสดงให้เห็นเป็นอย่างอื่น ทำให้เกิดเสียหายแก่ผู้ซื้อ จำเลยจึงมีผิดฐานปลอมเอกสารตามมาตรา 268
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1088/2507 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแจ้งความเท็จเพื่อกลั่นแกล้งและทำให้เสียชื่อเสียง ถือเป็นการประพฤติเนรคุณ สิทธิในการถอนคืนการให้เกิดขึ้นได้
โจทก์ฟ้องว่า โจทก์ยกกรรมสิทธิ์เฉพาะส่วนของโจทก์ในที่ดินโฉนดที่ 530 ให้จำเลย ต่อมาจำเลยทำให้โจทก์เสียชื่อเสียงเป็นการประพฤติเนรคุณ ขอให้ศาลสั่งถอนคืนการ+ จำเลยให้การต่อสู้ว่าโจทก์ขายให้ และไม่ได้ประพฤติเนรคุณทางพิจารณาฟังเป็นยุติได้ว่าเป็นเรื่องโจทก์ยกให้มิใช่ขาย และได้ความต่อไปว่า เมื่อบิดาโจทก์จำเลยซึ่งมีชื่อเป็นเจ้าของร่วมในโฉนดดังกล่าวตายลง โจทก์ยื่นขอรับมรดกส่วนของบิดา จำเลยคัดค้านและฟ้องโจทก์เป็นคดีแพ่ง ศาลแพ่งและศาลอุทธรณ์พิพากษาให้แบ่งมรดกของบิดาให้โจทก์คดีอยู่ระหว่างฎีกา โจทก์ให้คนมาเก็บหมากในที่พิพาทนั้น จำเลยจึงแจ้งความต่อเจ้าหน้าที่ว่าโจทก์ลักหมาก แต่ชั้นนี้ไม่ติดใจเอาเรื่องเพราะโจทก์จำเลยเป็นพี่น้องกัน หมากที่หายราคาเล็กน้อย กับหลักฐานยังไม่เป็นผิด แต่ถ้าเรื่องทำนองนี้เกิดขึ้นอีก จะเอาเรื่องให้ตำรวจจัดการต่อไป ต่อมาโจทก์ให้คนมาเก็บหมากอีก จำเลยจึงให้สามีไปแจ้งความ ครั้งสุดท้ายโจทก์ให้คนมาเก็บหมากอีกจำเลยจึงแจ้งตำรวจตู้ยามจับโจทก์หาว่าลักหมาก 1 ทะลาย ตำรวจจึงควบคุมตัวโจทก์ไว้เพื่อดำเนินคดี ดังนี้ถือได้ว่า จำเลยได้ทำให้โจทก์เสียชื่อเสียงอย่างร้ายแรง ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 351(2)
เป็นการประพฤติเนรคุณต่อโจทก์พิพากษาให้ถอนคืนการใช้ได้
เป็นการประพฤติเนรคุณต่อโจทก์พิพากษาให้ถอนคืนการใช้ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1088/2507
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประพฤติเนรคุณและการถอนคืนการให้ กรณีแจ้งความเท็จทำให้เสียชื่อเสียง
โจทก์ฟ้องว่า โจทก์ยกกรรมสิทธิ์เฉพาะส่วนของโจทก์ในที่ดินโฉนดที่ 530 ให้จำเลย ต่อมาจำเลยทำให้โจทก์เสียชื่อเสียงอย่างร้ายแรง เป็นการประพฤติเนรคุณ ขอให้ศาลสั่งถอนคืนการให้ จำเลยให้การต่อสู้ว่า โจทก์ขายให้และไม่ได้ประพฤติเนรคุณ ทางพิจารณาฟังเป็นยุติได้ว่า เป็นเรื่องโจทก์ยกให้มิใช่ขาย และได้ความต่อไปว่า เมื่อบิดาโจทก์จำเลยซึ่งมีชื่อเป็นเจ้าของร่วมในโฉนดดังกล่าวตายลง โจทก์ยื่นขอรับมรดกส่วนของบิดา จำเลยคัดค้านและฟ้องโจทก์เป็นคดีแพ่ง ศาลแพ่งและศาลอุทธรณ์พิพากษาให้แบ่งมรดกของบิดาให้โจทก์ คดีอยู่ระหว่างฎีกา โจทก์ให้คนมาเก็บหมากในที่พิพาทนั้น จำเลยจึงแจ้งความต่อเจ้าหน้าที่ว่าโจทก์ลักหมาก แต่ชั้นนี้ไม่ติดใจเอาเรื่องเพราะโจทก์จำเลยเป็นพี่น้องกัน หมากที่หายราคาเล็กน้อย กับหลักฐานยังไม่เป็นผิด แต่ถ้าเรื่องทำนองนี้เกิดขึ้นอีก จะเอาเรื่องให้ตำรวจจัดการต่อไป ต่อมาโจทก์ให้คนมาเก็บหมากอีก จำเลยจึงให้สามีไปแจ้งความ ครั้งสุดท้ายโจทก์ให้คนมาเก็บหมากอีก จำเลยจึงแจ้งตำรวจตู้ยามจับโจทก์หาว่าลักหมาก1ทะลาย ตำรวจจึงควบคุมตัวโจทก์ไว้เพื่อดำเนินคดี ดังนี้ถือได้ว่า จำเลยได้ทำให้โจทก์เสียชื่อเสียงอย่างร้ายแรงตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 351(2) เป็นการประพฤติเนรคุณต่อโจทก์ พิพากษาให้ถอนคืนการให้ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1038/2507 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หน้าที่การนำสืบตามกฎหมายศุลกากร: ผู้ซื้อสินค้าเปิดเผยไม่ต้องรับผิดชอบการลักลอบหนีภาษี
หน้าที่ของจำเลยที่จะนำสืบตามมาตรา 100 แห่งพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ.2469 ต้องเป็นเรื่องเกี่ยวกับผู้ลอบลักหนีอากรขาเข้าขาออกหรือเป็นผู้สมรู้ ในการนั้นหรือหลีกเลี่ยงโดยเจตนาฉ้อด่านภาษี ถ้าหากว่าจำเลยซื้อของไว้จากพ่อค้าในตลาดโดยเปิดเผย แม้ของนั้นจะยังมิได้เสียภาษี จำเลยหาตกอยู่ในบังคับแห่งมาตรา 100 ไม่ จึงเป็นหน้าที่ของโจทก์จะต้องสืบให้สมฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1031/2507
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผู้ประกอบการประกันภัยต้องเป็นผู้กระทำผิดตาม พ.ร.บ.ควบคุมกิจการค้า การฟ้องนายหน้าประกันภัยจึงไม่ชอบ
ตามมาตรา 7 แห่งพระราชบัญญัติควบคุมกิจการค้าอันกระทบถึงความปลอดภัยหรือผาสุกแห่งสาธารณชน พ.ศ.2471 (แก้ไขโดยพระราชบัญญัติควบคุมกิจการค้าอันกระทบถึงความปลอดภัยฯ(ฉบับที่ 3)พ.ศ.2499 มาตรา 3) นั้น ผู้กระทำผิดจะต้องเป็นผู้ประกอบกิจการประกันภัยเอง หาใช่เป็นแต่เพียงตัวแทนหรือนายหน้าเท่านั้นไม่ โจทก์จะฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยซึ่งเป็นเพียงนายหน้า ตามบทกฎหมายดังกล่าวนั้นไม่ได้