พบผลลัพธ์ทั้งหมด 566 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 818/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องซ้ำ: คดีเดิมวินิจฉัยแนวเขตแล้ว คดีใหม่ขอให้รับรองแนวเขตเดิม ถือเป็นการฟ้องซ้ำต้องห้าม
คดีก่อนโจทก์ฟ้องว่า ได้นำเจ้าพนักงานรังวัดที่ดิน 3 แปลงเพื่อขอรับโฉนดแต่จำเลยคัดค้านว่าเป็นที่สาธารณ ศาลให้ทำแผนที่วิวาทและพิพากษาว่าที่ดินตามแผนที่วิวาทเป็นของโจทก์ คดีถึงที่สุดแล้วโจทก์มาฟ้องคดีนี้ใหม่ว่า โจทก์ขอออกโฉนดที่ดินรายที่ชนะคดีจำเลยคัดค้านว่าโจทก์นำวัดรุกล้ำที่สาธารณไม่รับรองเขตให้เจ้าพนักงานจึงออกโฉนดให้โจทก์ไม่ได้ จึงขอให้จำเลยรับรองแนวเขตอย่าให้ขัดขวางในการที่โจทก์จะออกโฉนดดังนี้ เป็นกรณีที่น่าจะบังคับกันได้ในการบังคับคดีเรื่องก่อน จึงเป็นฟ้องซ้ำ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 818/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องซ้ำ: ประเด็นบังคับคดีเดิมเกี่ยวกับการรังวัดที่ดินและแนวเขตที่พิพาทแล้ว
คดีก่อนโจทก์ฟ้องว่า ได้นำเจ้าพนักงานรังวัดที่ดิน 3 แปลงเพื่อขอรับโฉนด แต่จำเลยคัดค้านว่าเป็นที่สาธารณ ศาลให้ทำแผนที่วิวาทและพิพากษาว่าที่ดินตามแผนที่วิวาทเป็นของโจทก์ คดีถึงที่สุดแล้วโจทก์มาฟ้องคดีนี้ใหม่ว่าโจทก์ขอออกโฉนดที่ดินรายนี้ชนะคดี จำเลยคัดค้านว่าโจทก์นำวัดรุกล้ำที่สาธารณไม่รับรองเขตให้ เจ้าพนักงานจึงออกโฉนดให้โจทก์ไม่ได้จึงขอให้จำเลยรับรองแนวเขตอย่าให้ขัดขวางในการที่โจทก์จะออกโฉนด ดังนี้ เป็นกรณีที่น่าจะบังคับกันได้ในการบังคับคดีเรื่องก่อน จึงเป็นฟ้องซ้ำ.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 792/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบังคับคดีหลังแบ่งมรดก: เจ้าหนี้บังคับคดีได้เฉพาะส่วนของผู้ถูกฟ้องคดี
ในกรณีที่ได้แบ่งมรดกแล้ว เมื่อเจ้าหนี้ฟ้องให้ทายาทคนใดชำระหนี้ เจ้าหนี้นั้นก็มีสิทธิเรียกให้ชำระหนี้ได้เพียงไม่เกินทรัพย์มรดกที่ทายาทคนนั้นรับไป หาได้ให้สิทธิแก่เจ้าหนี้ที่จะเรียกจากทายาทคนอื่นที่มิได้ถูกฟ้องด้วยไม่
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 5/2506)
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 5/2506)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 792/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบังคับคดีมรดก: เจ้าหนี้บังคับได้เฉพาะส่วนที่ทายาทได้รับเท่านั้น
ในกรณีที่ได้แบ่งมรดกแล้ว เมื่อเจ้าหนี้ฟ้องให้ทายาทคนใดชำระหนี้ เจ้าหนี้นั้นก็มีสิทธิเรียกให้ชำระหนี้ได้เพียงไม่เกินทรัพย์มรดกที่ทายาทคนนั้นรับไป หาได้ให้สิทธิแก่เจ้าหนี้ที่จะเรียกจากทายาทคนอื่นที่มิได้ถูกฟ้องด้วยไม่.
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 5/2506)
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 5/2506)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 781/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประนอมหนี้ล้มละลาย: เหตุไม่สมควรเห็นชอบ แม้เจ้าหนี้ยอมรับ และการกระทำที่แสดงเจตนาฉ้อฉล
เพียงแต่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์รายงานขึ้นมาย่อ ๆ ว่า ทางสอบสวนยังไม่ปรากฎว่าลูกหนี้ประพฤติผิดกฎหมายล้มละลายอันจะมีโทษทางอาญาแต่ประการใดนั้น ยังไม่พอที่ศาลจะรับฟังเป็นแน่นอนเช่นนั้นได้ ในเมื่อมีพฤติการณ์ต่าง ๆ ของลูกหนี้ที่ยังมิได้สอบสวนหรือซักถามให้ปรากฎชัด
ลูกหนี้เป็นผู้ทำการค้าขายใหญ่โตถึงขนาด มีทรัพย์สินอยู่นอกประเทศทั้งในอเมริกาและฮ่องกง มีเจ้าหนี้เป็นจำนวน 10 ล้านกว่าบาท แต่มีเงินเหลือเพียง 2 พันบาทเศษเท่านั้น ทรัพย์สินอื่นก็ติดภาระจำนองหมด และลูกหนี้ไม่อจแสดงให้พอใจศาลว่าตนมีเหตุที่ควรเชื่อได้ว่าตนสามารถขำระหนี้ได้ โดยก่อนหนี้ขึ้นอีกมากมายหลังจากทำยอมใช้หนี้ให้โจทก์แล้ว ทั้งไม่มีบัญชีในการประกอบธุรกิจการงานเหลืออยู่เลย ดังนี้จึงต้องด้วยข้อสันนิษฐานตามมาตรา 74 ว่าลูกหนี้ขืนกระทำการค้าขายต่อไปอีก โดยรู้แล้วว่าไม่สามารถจะชำระหนี้ได้
พระราชบัญญัติล้มละลาย มาตรา 54 วรรคท้ายให้อำนาจศาลที่จะสั่งเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบด้วยการประนอมหนี้ก็ได้ ตามแต่จะเห็นสมควร แม้ที่ประชุมเจ้าหนี้จะลงมติพิเศษยอมรับคำขอประนอมหนี้โดยเปิดเผยและรายงานของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ถึงเหตุที่ยังไม่สมควรศาลก็ยกคำขอประนอมหนี้นั้นเสียได้ แม้เจ้าหนี้ผู้คัดค้านจะมิได้นำพยานมาสืบก็ตาม
การที่ลูกหนี้ไม่มีทรัพย์สิเหลือพอจะแบ่งให้เจ้าหนี้และขืนทำการค้าขายต่อไปอีกโดยรู้ว่าไม่-สามารถจะชำระหนี้ได้ กับประพฤติตนเล่นการพนัน เหตุทั้ง 3 ประการนี้นับว่ายังไม่สมควรจะได้รับความเห็นชอบให้ลูกหนี้ประนอมหนี้เพียงร้อยละห้าได้.
ลูกหนี้เป็นผู้ทำการค้าขายใหญ่โตถึงขนาด มีทรัพย์สินอยู่นอกประเทศทั้งในอเมริกาและฮ่องกง มีเจ้าหนี้เป็นจำนวน 10 ล้านกว่าบาท แต่มีเงินเหลือเพียง 2 พันบาทเศษเท่านั้น ทรัพย์สินอื่นก็ติดภาระจำนองหมด และลูกหนี้ไม่อจแสดงให้พอใจศาลว่าตนมีเหตุที่ควรเชื่อได้ว่าตนสามารถขำระหนี้ได้ โดยก่อนหนี้ขึ้นอีกมากมายหลังจากทำยอมใช้หนี้ให้โจทก์แล้ว ทั้งไม่มีบัญชีในการประกอบธุรกิจการงานเหลืออยู่เลย ดังนี้จึงต้องด้วยข้อสันนิษฐานตามมาตรา 74 ว่าลูกหนี้ขืนกระทำการค้าขายต่อไปอีก โดยรู้แล้วว่าไม่สามารถจะชำระหนี้ได้
พระราชบัญญัติล้มละลาย มาตรา 54 วรรคท้ายให้อำนาจศาลที่จะสั่งเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบด้วยการประนอมหนี้ก็ได้ ตามแต่จะเห็นสมควร แม้ที่ประชุมเจ้าหนี้จะลงมติพิเศษยอมรับคำขอประนอมหนี้โดยเปิดเผยและรายงานของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ถึงเหตุที่ยังไม่สมควรศาลก็ยกคำขอประนอมหนี้นั้นเสียได้ แม้เจ้าหนี้ผู้คัดค้านจะมิได้นำพยานมาสืบก็ตาม
การที่ลูกหนี้ไม่มีทรัพย์สิเหลือพอจะแบ่งให้เจ้าหนี้และขืนทำการค้าขายต่อไปอีกโดยรู้ว่าไม่-สามารถจะชำระหนี้ได้ กับประพฤติตนเล่นการพนัน เหตุทั้ง 3 ประการนี้นับว่ายังไม่สมควรจะได้รับความเห็นชอบให้ลูกหนี้ประนอมหนี้เพียงร้อยละห้าได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 778/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิดเจ้าพนักงานยักยอกทรัพย์ ปลอมเอกสารสิทธิ และการพิสูจน์หน้าที่ความรับผิดชอบ
(1) เมื่อโจทก์บรรยายว่า จำเลยเป็นเสมียนตรา มีหน้าที่จัดทำ รักษา และรับผิดชอบเกี่ยวกับการเงิน การบัญชีและการเบิกจ่ายเงินและมีเจตนาทุจริตเบียดบังยักยอกเอาเงินไป มีรายการต่างๆ ซึ่งพอเข้าใจได้ว่าเงินนั้นอยู่ในความรับผิดของจำเลย ทั้งระบุวันเวลาทำผิดแต่ละรายการไว้ด้วย นั้น ไม่เป็นฟ้องเคลือบคลุมส่วนที่ว่าจำเลยรับมาจากใครที่ไหน เมื่อใด เป็นรายละเอียดไม่ต้องกล่าวไว้
(2) เมื่อเป็นคดีอาญาแผ่นดิน ไม่จำเป็นที่โจทก์จะต้องบรรยายว่ารู้การกระทำของจำเลยเมื่อใด
(3) เมื่อพยานโจทก์และจำเลยเบิกความตรงกันว่าเสมียนตรามีหน้าที่ทำบัญชีเงินรับเงินและจ่ายเงินของแผนกมหาดไทย แม้นายอำเภอจะสั่งให้คนอื่นเป็นหัวหน้าแต่ก็เพื่อช่วยคอยสอดส่องควบคุมอีกชั้นหนึ่งโดยมิได้ให้จำเลยพ้นจากหน้าที่เสมียนตราไป เช่นนี้ จำเลยก็ต้องเป็นเจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่ ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 147 ฯลฯ ที่แก้ไขแล้ว
(4) บัญชีเงินต่างๆ ของทางราชการกระทรวงมหาดไทย เช่นแบบ 2 บัญชีรับจ่ายเงินเบ็ดเตล็ดและแบบ 7 บัญชีเงินการจร มีช่องที่ผู้รับเงินจะต้องลงชื่อ เมื่อลงแล้วและรับเงินไปแล้ว ย่อมเป็นหลักฐานแห่งการระงับไปซึ่งสิทธิทำให้ผู้นั้นหมดสิทธิเรียกร้องเอาเงินจากทางราชการอีกซึ่งตรงตามความหมายในประมวลกฎหมายอาญามาตรา 1(9) จึงเป็นเอกสารสิทธิทางราชการตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 266
(5) ผู้ไม่มีสิทธิ แต่ได้ลงชื่อของผู้มีสิทธิในช่องบัญชีของผู้มีสิทธิรับเงินตามแบบ 2 แบบ 7 ย่อมเป็นการปลอมเอกสาร และเป็นข้อสารสำคัญแห่งคดี
(2) เมื่อเป็นคดีอาญาแผ่นดิน ไม่จำเป็นที่โจทก์จะต้องบรรยายว่ารู้การกระทำของจำเลยเมื่อใด
(3) เมื่อพยานโจทก์และจำเลยเบิกความตรงกันว่าเสมียนตรามีหน้าที่ทำบัญชีเงินรับเงินและจ่ายเงินของแผนกมหาดไทย แม้นายอำเภอจะสั่งให้คนอื่นเป็นหัวหน้าแต่ก็เพื่อช่วยคอยสอดส่องควบคุมอีกชั้นหนึ่งโดยมิได้ให้จำเลยพ้นจากหน้าที่เสมียนตราไป เช่นนี้ จำเลยก็ต้องเป็นเจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่ ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 147 ฯลฯ ที่แก้ไขแล้ว
(4) บัญชีเงินต่างๆ ของทางราชการกระทรวงมหาดไทย เช่นแบบ 2 บัญชีรับจ่ายเงินเบ็ดเตล็ดและแบบ 7 บัญชีเงินการจร มีช่องที่ผู้รับเงินจะต้องลงชื่อ เมื่อลงแล้วและรับเงินไปแล้ว ย่อมเป็นหลักฐานแห่งการระงับไปซึ่งสิทธิทำให้ผู้นั้นหมดสิทธิเรียกร้องเอาเงินจากทางราชการอีกซึ่งตรงตามความหมายในประมวลกฎหมายอาญามาตรา 1(9) จึงเป็นเอกสารสิทธิทางราชการตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 266
(5) ผู้ไม่มีสิทธิ แต่ได้ลงชื่อของผู้มีสิทธิในช่องบัญชีของผู้มีสิทธิรับเงินตามแบบ 2 แบบ 7 ย่อมเป็นการปลอมเอกสาร และเป็นข้อสารสำคัญแห่งคดี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 778/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิดฐานยักยอกทรัพย์ทางราชการ ปลอมเอกสาร และการรับผิดของเจ้าพนักงาน
(1) เมื่อโจทก์บรรยายว่า จำเลยเป็นเสมียนตรามีหน้าที่จัดทำ รักษา และรับผิดชอบเกี่ยวกับการเงิน การบัญชี และการเบิกจ่ายเงิน และมีเจตนาทุจริตเบียดบังยักยอกเอาเงินไป มีรายการต่าง ๆ ซึ่งพอเข้าใจได้ว่าเงินนั้นอยู่ในความรับผิดของจำเลย ทั้งระบุวันเวลาทำผิดแต่ละรายการไว้ด้วย นั้น ไม่เป็นฟ้องเคลือบคลุม ส่วนที่ว่าจำเลยรับมาจากใคร ที่ไหน เมื่อใด เป็นรายละเอียดไม่ต้องกล่าวไว้
(2) เมื่อเป็นคดีอาญาแผ่นดิน ไม่จำเป็นที่โจทก์จะต้องบรรยายว่ารู้การกระทำของจำเลยเมื่อใด
(3) เมื่อพยานโจทก์และจำเลยเบิกความตรงกันว่า เสมียนตรามีหน้าที่ทำบัญชีเงิน รับเงินและจ่ายเงินของแผนกมหาดไทย แม้นายอำเภอจะสั่งให้คนอื่นเป็นหัวหน้าแต่ก็เพื่อช่วยคอยสอดส่องควบคุมอีกชั้นหนึ่งโดยมิได้ให้จำเลยพ้นจากหน้าที่เสมียนตราไป เช่นนี้ จำเลยก็ต้องเป็นเจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 147 ฯลฯ ที่แก้ไขแล้ว
(4) บัญชีเงินต่าง ๆ ของทรงราชการกระทรวงมหาดไทย เช่น แบบ 2 บัญชีรายรับจ่ายเงินเบ็ดเตล็ด และแบบ 7 บัญชีเงินการจร มีช่องที่ผู้รับเงินจะต้องลงชื่อ เมื่อลงแล้วและรับเงินไปแล้ว ย่อมเป็นหลักฐานแห่งการระงับไปซึ่งสิทธิ ทำให้ผู้นั้นหมดสิทธิเรียกร้องเอาเงินจากทางราชการอีก ซึ่งตรงตามความหมายในประมวลกฎหมายอาญามาตรา 1(9) จึงเป็นเอกสารสิทธิทางราชการตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 266
(5) ผู้ไม่มีสิทธิ แต่ได้ลงชื่อของผู้มีสิทธิในช่องบัญชีของผู้มีสิทธิรับเงินตามแบบ 2,แบบ 7 ย่อมเป็นการปลอมหนังสือ และเป็นข้อสาระสำคัญแห่งคดี.
(2) เมื่อเป็นคดีอาญาแผ่นดิน ไม่จำเป็นที่โจทก์จะต้องบรรยายว่ารู้การกระทำของจำเลยเมื่อใด
(3) เมื่อพยานโจทก์และจำเลยเบิกความตรงกันว่า เสมียนตรามีหน้าที่ทำบัญชีเงิน รับเงินและจ่ายเงินของแผนกมหาดไทย แม้นายอำเภอจะสั่งให้คนอื่นเป็นหัวหน้าแต่ก็เพื่อช่วยคอยสอดส่องควบคุมอีกชั้นหนึ่งโดยมิได้ให้จำเลยพ้นจากหน้าที่เสมียนตราไป เช่นนี้ จำเลยก็ต้องเป็นเจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 147 ฯลฯ ที่แก้ไขแล้ว
(4) บัญชีเงินต่าง ๆ ของทรงราชการกระทรวงมหาดไทย เช่น แบบ 2 บัญชีรายรับจ่ายเงินเบ็ดเตล็ด และแบบ 7 บัญชีเงินการจร มีช่องที่ผู้รับเงินจะต้องลงชื่อ เมื่อลงแล้วและรับเงินไปแล้ว ย่อมเป็นหลักฐานแห่งการระงับไปซึ่งสิทธิ ทำให้ผู้นั้นหมดสิทธิเรียกร้องเอาเงินจากทางราชการอีก ซึ่งตรงตามความหมายในประมวลกฎหมายอาญามาตรา 1(9) จึงเป็นเอกสารสิทธิทางราชการตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 266
(5) ผู้ไม่มีสิทธิ แต่ได้ลงชื่อของผู้มีสิทธิในช่องบัญชีของผู้มีสิทธิรับเงินตามแบบ 2,แบบ 7 ย่อมเป็นการปลอมหนังสือ และเป็นข้อสาระสำคัญแห่งคดี.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 776/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน - การรับจำนำเกิน 400 บาท - สิทธิติดตามเอาคืน - เจ้าของกรรมสิทธิ์มีสิทธิเหนือผู้รับจำนำ
ผู้รับอนุญาตให้ตั้งโรงรับจำนำจะถือเอาประโยชน์จากพระราชบัญญัติโรงรับจำนำ พ.ศ.2480 ได้ก็ต่อเมื่อเป็นการรับจำนำทรัพย์ไว้ในราคารายละไม่เกินสี่ร้อยบาทหากรับจำนำไว้เกินสี่ร้อยบาท ก็เป็นเรื่องที่ต้องบังคับตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ในกรณีที่ผู้รับจำนำซึ่งไม่ได้รับความคุ้มครองจากพระราชบัญญัติโรงรับจำนำ รับจำนำทรัพย์ไว้โดยสุจริตจากบุคคลที่เช่าซื้อทรัพย์มานั้นผู้เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์และทำการโดยสุจริตมีสิทธิติดตามเอาคืนได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1336
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 6/2506)
ในกรณีที่ผู้รับจำนำซึ่งไม่ได้รับความคุ้มครองจากพระราชบัญญัติโรงรับจำนำ รับจำนำทรัพย์ไว้โดยสุจริตจากบุคคลที่เช่าซื้อทรัพย์มานั้นผู้เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์และทำการโดยสุจริตมีสิทธิติดตามเอาคืนได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1336
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 6/2506)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 776/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเจ้าของทรัพย์เมื่อจำนำเกิน 400 บาท: คุ้มครองตาม พ.ร.บ.โรงรับจำนำจำกัดเฉพาะราคาน้อยกว่า 400 บาทเท่านั้น
ผู้รับอนุญาตให้ตั้งโรงรับจำนำจะถือเอาประโยชน์จากพระราชบัญญัติโรงรับจำนำ พ.ศ.2480 ได้ ก็ต่อเมื่อเป็นการรับจำนำทรัพย์ไว้ในราคารายละไม่เกินสี่ร้อยบาท หากรับจำนำไว้เกินสี่ร้อย ก็เป็นเรื่องที่ต้องบังคับตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ในกรณีที่ผู้รับจำนำซึ่งไม่ได้รับความคุ้มครองจากพระราชบัญญัติโรงรับจำนำ รับจำนำทรัพย์ไว้โดยสุจริตจากบุคคลที่เช่าซื้อทรัพย์มานั้น ผู้เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์และทำการโดยสุจริตมีสิทธิติดตามเอาคืนได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1336.
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 6/2506)
ในกรณีที่ผู้รับจำนำซึ่งไม่ได้รับความคุ้มครองจากพระราชบัญญัติโรงรับจำนำ รับจำนำทรัพย์ไว้โดยสุจริตจากบุคคลที่เช่าซื้อทรัพย์มานั้น ผู้เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์และทำการโดยสุจริตมีสิทธิติดตามเอาคืนได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1336.
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 6/2506)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 729/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำขอท้ายฟ้องถือเป็นการขอให้ลงโทษจำเลย แม้ไม่ได้ระบุชัดเจน หากอ้างบทมาตราที่กำหนดโทษ
คำขอท้ายฟ้องของผู้ว่าคดีโจทก์ กล่าวว่า โจทก์ถือว่าการกระทำของจำเลยเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 375,83 ขอศาลได้พิจารณาพิพากษาต่อไป ดังนี้ ถือได้ว่าฟ้องของโจทก์มีคำขอให้ลงโทษจำเลยแล้ว