พบผลลัพธ์ทั้งหมด 566 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1614/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อสันนิษฐานทางกฎหมายในคดีศุลกากร: พยานหลักฐานต้องแสดงเค้ามูลความผิดของผู้ครอบครอง
พระราชบัญญัติศุลกากร (ฉบับที่ 12) พ.ศ.2497 มาตรา 10มิได้ตั้งข้อสันนิษฐานไว้ว่า เมื่อปรากฏว่าผู้ใดมีสิ่งซึ่งต้องห้าม หรือสิ่งมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นสิ่งกำกัดหรือเป็นสิ่งลักลอบหนีศุลกากรไว้ในครอบครอง ก็ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้นั้นได้นำสิ่งนั้นเข้ามาโดยมิชอบด้วยกฎหมาย หรือนำเข้ามาโดยการลักลอบหนีศุลกากร หากแต่ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าเป็นความจริงตามข้อเท็จจริงที่จดแจ้งไว้ในบันทึกของพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้พบเห็นข้อนี้เป็นข้อสันนิษฐานข้อแรก ส่วนข้อสันนิษฐานว่าผู้มีสิ่งนั้นไว้ในความครอบครองเป็นผู้นำสิ่งนั้นเข้ามาโดยมิชอบ นั้น เป็นเพียงผลที่สืบเนื่องจากข้อสันนิษฐานข้อแรกนั้น
ข้อเท็จจริงที่จะจดแจ้งไว้ในบันทึกตามมาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติที่กล่าวนั้น อย่างน้อยจะต้องเป็นข้อเท็จจริงที่ประกอบกันเป็นพยาน พฤติเหตุแวดล้อมพอจะแสดงเค้ามูลว่าผู้มีไว้ในครอบครองนั้นเป็นผู้นำสิ่งนั้นเข้ามาโดยมิชอบด้วยกฎหมาย หรือนำเข้ามาโดยการลักลอบหนีศุลกากร
บันทึกของเจ้าหน้าที่ตำรวจจดแจ้งไว้แต่ว่าตำรวจได้ตรวจค้นบ้านจำเลยค้นพบสิ่งของบรรจุอยู่ในกระสอบ ได้สอบถามจำเลยจำเลยว่ารับฝากไว้จากชายไม่ทราบชื่อบรรทุกรถมา 3 คัน ตอนเช้าวันนั้นเอง ตำรวจสงสัยว่าเป็นสินค้าที่หลบหนีศุลกากร จึงยึดสินค้าและคุมตัวจำเลยมาดำเนินคดีเพียงเท่านี้ย่อมไม่มีลักษณะเป็นบันทึกอันจะก่อให้เกิดข้อสันนิษฐานตามมาตรา 10 ที่กล่าวนั้น และเมื่อเป็นดังนี้ การที่โจทก์ฟ้องหาว่าจำเลยร่วมกับผู้อื่นนำสินค้าเหล่านั้นเข้ามาในราชอาณาจักร โจทก์ก็ต้องมีหน้าที่นำสืบพิสูจน์ความผิดของจำเลย และจะลงโทษจำเลยได้ก็ต่อเมื่อพยานหลักฐานของโจทก์เพียงพอให้ฟังว่าจำเลยกระทำผิดตามข้อหา
ถ้าศาลชั้นต้นถือว่าโจทก์ได้รับประโยชน์จากข้อสันนิษฐานของกฎหมาย จึงมิได้พิเคราะห์พยานหลักฐานของโจทก์ คงวินิจฉัยแต่ของจำเลย แล้วฟังว่าจำเลยมีความผิดลงโทษจำคุก 4 ปี ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยพยานหลักฐานของทั้งสองฝ่าย แต่ก็นำเอาข้อสันนิษฐานนั้นมาประกอบด้วย แล้วจึงฟังว่าจำเลยมีความผิดและพิพากษายืน เมื่อศาลฎีกาเห็นว่ากรณีแห่งคดีนี้ไม่มีข้อสันนิษฐานของกฎหมาย และเห็นว่าศาลล่างทั้งสองมิได้วินิจฉัยพยานหลักฐานของโจทก์จำเลยโดยชอบด้วยวิธีพิจารณา ศาลฎีกาก็ไม่จำต้องฟังข้อเท็จจริงตามศาลล่าง แต่พึงวินิจฉัยข้อเท็จจริงใหม่ตามพยานหลักฐานที่โจทก์จำเลยได้นำสืบมาแล้ว
ข้อเท็จจริงที่จะจดแจ้งไว้ในบันทึกตามมาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติที่กล่าวนั้น อย่างน้อยจะต้องเป็นข้อเท็จจริงที่ประกอบกันเป็นพยาน พฤติเหตุแวดล้อมพอจะแสดงเค้ามูลว่าผู้มีไว้ในครอบครองนั้นเป็นผู้นำสิ่งนั้นเข้ามาโดยมิชอบด้วยกฎหมาย หรือนำเข้ามาโดยการลักลอบหนีศุลกากร
บันทึกของเจ้าหน้าที่ตำรวจจดแจ้งไว้แต่ว่าตำรวจได้ตรวจค้นบ้านจำเลยค้นพบสิ่งของบรรจุอยู่ในกระสอบ ได้สอบถามจำเลยจำเลยว่ารับฝากไว้จากชายไม่ทราบชื่อบรรทุกรถมา 3 คัน ตอนเช้าวันนั้นเอง ตำรวจสงสัยว่าเป็นสินค้าที่หลบหนีศุลกากร จึงยึดสินค้าและคุมตัวจำเลยมาดำเนินคดีเพียงเท่านี้ย่อมไม่มีลักษณะเป็นบันทึกอันจะก่อให้เกิดข้อสันนิษฐานตามมาตรา 10 ที่กล่าวนั้น และเมื่อเป็นดังนี้ การที่โจทก์ฟ้องหาว่าจำเลยร่วมกับผู้อื่นนำสินค้าเหล่านั้นเข้ามาในราชอาณาจักร โจทก์ก็ต้องมีหน้าที่นำสืบพิสูจน์ความผิดของจำเลย และจะลงโทษจำเลยได้ก็ต่อเมื่อพยานหลักฐานของโจทก์เพียงพอให้ฟังว่าจำเลยกระทำผิดตามข้อหา
ถ้าศาลชั้นต้นถือว่าโจทก์ได้รับประโยชน์จากข้อสันนิษฐานของกฎหมาย จึงมิได้พิเคราะห์พยานหลักฐานของโจทก์ คงวินิจฉัยแต่ของจำเลย แล้วฟังว่าจำเลยมีความผิดลงโทษจำคุก 4 ปี ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยพยานหลักฐานของทั้งสองฝ่าย แต่ก็นำเอาข้อสันนิษฐานนั้นมาประกอบด้วย แล้วจึงฟังว่าจำเลยมีความผิดและพิพากษายืน เมื่อศาลฎีกาเห็นว่ากรณีแห่งคดีนี้ไม่มีข้อสันนิษฐานของกฎหมาย และเห็นว่าศาลล่างทั้งสองมิได้วินิจฉัยพยานหลักฐานของโจทก์จำเลยโดยชอบด้วยวิธีพิจารณา ศาลฎีกาก็ไม่จำต้องฟังข้อเท็จจริงตามศาลล่าง แต่พึงวินิจฉัยข้อเท็จจริงใหม่ตามพยานหลักฐานที่โจทก์จำเลยได้นำสืบมาแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1614/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อสันนิษฐานทางกฎหมายศุลกากร: พยานหลักฐานต้องแสดงเค้ามูลความผิดผู้ครอบครองสินค้า
พระราชบัญญัติศุลกากร(ฉบับที่ 12) พ.ศ.2497 มาตรา 10 มิได้ตั้งข้อสันนิษฐานไว้ว่าเมื่อปรากฎว่าผู้ใดมีสิ่งซึ่งต้องห้าม หรือสิ่งมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นสิ่งต้องกำกัดหรือเป็นสิ่งลักลอยหนีศุลกากรไว้ในครอบครอง ก็ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้นั้นได้นำสิ่งนั้นเข้ามาโดยมิชอบด้วยกฎหมายหรือนำเข้ามาโดยลักลอบหนีศุลกากร หากแต่ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าเป็นความจริงตามข้อเท็จจริงที่จดแจ้งไว้ในบันทึกของพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้พบเห็นข้อนี้เป็นข้อสันนิษฐานข้อแรก ส่วนข้อสันนิษฐานว่าผู้มีสิ่งนั้นไว้ในครอบครองเป็นผู้นำสิ่งนั้นเข้ามาโดยมิชอบ ฯ นั้น เป็นเพียงพอที่สืบเนื่องจากข้อสันนิษฐานข้อแรกนั้น
ข้อเท็จจริงที่จดแจ้งไว้ในบันทึกตามมาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติที่กล่าวนั้น อย่างน้อยจะต้องเป็นข้อเท็จจริงที่ประกอบกันเป็นพยานพฤติเหตุแวดล้อมพอจะแสดงเค้ามูลว่าผู้มีไว้ในครอบครองนั้นเป็นผู้นำสิ่งนั้นเข้ามาโดยมิชอบด้วยกฎหมาย หรือนำเข้ามาโดยการลักลอบหนีศุลกากร
บันทึกของเจ้าหน้าที่ตำรวจแจ้งไว้แต่ว่า ตำรวจได้ตรวจค้นบ้านจำเลย ค้นพบสิ่งของบรรจุอยู่ในกระสอบ ได้สอบถามจำเลย จำเลยว่ารับฝากไว้จากชายไม่ทราบชื่อ บรรทุกรถมา 1 คัน ตอนเช้าวันนั้นเอง ตำรวจสงสัยว่าเป็นสินค้าที่หลบหนีศุลกากร จึงยึดสินค้าและคุมตัวจำเลยมาดำเนินคดี เพียงเท่านี้ย่อมไม่มีลักษณะเป็นบันทึกอันจะก่อให้เกิดข้อสันนิษฐานตามมาตรา 10 ที่กล่าวนั้น และเมื่อเป็นดังนี้ การที่โจทก์ฟ้องหาว่าจำเลยร่วมกับผู้อื่นนำสินค้าเหล่านั้นเข้ามาในราชอาณาจักรโจทก์ก็ต้องมีหน้าที่นำสืบพิสูจน์ความผิดของจำเลย และจะลงโทษจำเลยได้ก็ต่อเมื่อพยานหลักฐานของโจทก์เพียงพอให้ฟังว่าจำเลยกระทำผิดตามข้อหา
ถ้าศาลชั้นต้นถือว่าโจทก์ได้รับประโยชน์จากข้อสันนิษฐานของกฎหมายจึงมิได้พิเคราะห์พยานหลักฐานของโจทก์ คงวินิจฉัยแต่ของจำเลยแล้วฟังว่าจำเลยมีความผิดลงโทษจำคุก 4 ปี ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยพยานหลักฐานของทั้งสองฝ่ายแต่ก็เอาข้อสันนิษฐานนั้นมาประกอบด้วย แล้วจึงฟังว่าจำเลยมีความผิดและพิพากษายืน เมื่อศาลฎีกาเห็นว่ากรณีแห่งคดีนี้ไม่มีข้อสันนิษฐานของกฎหมาย และเห็นว่าศาลล่างทั้งสองมิได้วินิจฉัยพยานหลักฐานของโจทก์จำเลยโดยชอบด้วยวิธีพิจารณา ศาลฎีกาก็ไม่จำต้องฟังข้อเท็จจริงตามศาลล่าง แต่พึงวินิจฉัยข้อเท็จจริงใหม่ตามพยานหลักฐานที่โจทก์จำเลยได้นำสืบมาแล้ว
ข้อเท็จจริงที่จดแจ้งไว้ในบันทึกตามมาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติที่กล่าวนั้น อย่างน้อยจะต้องเป็นข้อเท็จจริงที่ประกอบกันเป็นพยานพฤติเหตุแวดล้อมพอจะแสดงเค้ามูลว่าผู้มีไว้ในครอบครองนั้นเป็นผู้นำสิ่งนั้นเข้ามาโดยมิชอบด้วยกฎหมาย หรือนำเข้ามาโดยการลักลอบหนีศุลกากร
บันทึกของเจ้าหน้าที่ตำรวจแจ้งไว้แต่ว่า ตำรวจได้ตรวจค้นบ้านจำเลย ค้นพบสิ่งของบรรจุอยู่ในกระสอบ ได้สอบถามจำเลย จำเลยว่ารับฝากไว้จากชายไม่ทราบชื่อ บรรทุกรถมา 1 คัน ตอนเช้าวันนั้นเอง ตำรวจสงสัยว่าเป็นสินค้าที่หลบหนีศุลกากร จึงยึดสินค้าและคุมตัวจำเลยมาดำเนินคดี เพียงเท่านี้ย่อมไม่มีลักษณะเป็นบันทึกอันจะก่อให้เกิดข้อสันนิษฐานตามมาตรา 10 ที่กล่าวนั้น และเมื่อเป็นดังนี้ การที่โจทก์ฟ้องหาว่าจำเลยร่วมกับผู้อื่นนำสินค้าเหล่านั้นเข้ามาในราชอาณาจักรโจทก์ก็ต้องมีหน้าที่นำสืบพิสูจน์ความผิดของจำเลย และจะลงโทษจำเลยได้ก็ต่อเมื่อพยานหลักฐานของโจทก์เพียงพอให้ฟังว่าจำเลยกระทำผิดตามข้อหา
ถ้าศาลชั้นต้นถือว่าโจทก์ได้รับประโยชน์จากข้อสันนิษฐานของกฎหมายจึงมิได้พิเคราะห์พยานหลักฐานของโจทก์ คงวินิจฉัยแต่ของจำเลยแล้วฟังว่าจำเลยมีความผิดลงโทษจำคุก 4 ปี ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยพยานหลักฐานของทั้งสองฝ่ายแต่ก็เอาข้อสันนิษฐานนั้นมาประกอบด้วย แล้วจึงฟังว่าจำเลยมีความผิดและพิพากษายืน เมื่อศาลฎีกาเห็นว่ากรณีแห่งคดีนี้ไม่มีข้อสันนิษฐานของกฎหมาย และเห็นว่าศาลล่างทั้งสองมิได้วินิจฉัยพยานหลักฐานของโจทก์จำเลยโดยชอบด้วยวิธีพิจารณา ศาลฎีกาก็ไม่จำต้องฟังข้อเท็จจริงตามศาลล่าง แต่พึงวินิจฉัยข้อเท็จจริงใหม่ตามพยานหลักฐานที่โจทก์จำเลยได้นำสืบมาแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1589/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบอกเลิกสัญญาเช่าและการยกข้อต่อสู้ใหม่ในชั้นฎีกาที่ไม่ชอบ
โจทก์ฟ้องขับไล่จำเลยโดยกล่าวว่าสัญญาเช่าสิ้นอายุและได้บอกเลิกการเช่าแก่จำเลยแล้ว จำเลยต่อสู้ว่า โจทก์ไม่เคยบอกเลิกสัญญาเช่ากับจำเลย คำบอกกล่าวท้ายฟ้องหากมีจริงก็เป็นเอกสารทำขึ้นโดยมิชอบในภายหลัง ดังนี้ จำเลยหาได้ต่อสู้ว่า โจทก์ได้บอกกล่าวจำเลย แต่เป็นการบอกกล่าวที่ไม่ให้โอกาสจำเลยรู้ตังก่อนระยะเวลาเก็บค่าเช่าระยะหนึ่งไม่ เมื่อจำเลยมิได้ต่อสู้ไว้ดังนั้น จำเลยจะยกขึ้นเป็นข้ออุทธรณ์หรือฎีกาไม่ได้ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 225,249
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1589/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อจำกัดในการยกข้อต่อสู้ใหม่ในชั้นอุทธรณ์และฎีกา หากมิได้ยกขึ้นต่อสู้ในชั้นศาลล่าง
โจทก์ฟ้องขับไล่จำเลยโดยกล่าวว่าสัญญาเช่าสิ้นอายุและได้บอกเลิกการเช่าแก่จำเลยแล้ว จำเลยต่อสู้ว่า โจทก์ไม่เคยบอกเลิกสัญญาเช่ากับจำเลย คำบอกกล่าวท้ายฟ้องหากมีจริงก็เป็นเอกสารทำขึ้นโดยมิชอบในภายหลัง ดังนี้ จำเลยหาได้ต่อสู้ว่าโจทก์ได้บอกกล่าวจำเลย แต่เป็นการบอกกล่าวที่ไม่ให้โอกาสจำเลยรู้ตัวก่อนระยะเวลาเก็บค่าเช่าระยะหนึ่งไม่ เมื่อจำเลยมิได้ต่อสู้ไว้ดังนั้นจำเลยจะยกขึ้นเป็นข้ออุทธรณ์หรือฎีกาไม่ได้ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 225,249
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1583/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิการเช่าหลังผู้เช่าเดิมเสียชีวิต: การอยู่อาศัยร่วมและการแสดงเจตนาเช่า
โจทก์มิได้ฟ้องขับไล่จำเลยออกจากห้องที่โจทก์ให้จำเลยเช่าหรือที่โจทก์ให้จำเลยอาศัย แต่เป็นคดีที่ฟ้องขับไล่จำเลยในฐานที่จำเลยฉวยโอกาสเข้าอยู่ในห้องพิพาทแทนผู้เช่าเดิมซึ่งตาย โดยจำเลยไม่มีอำนาจ เป็นคดีไม่มีทุนทรัพย์ ไม่ต้องห้ามฎีกาในข้อเท็จจริง
จำเลยซึ่งเป็นน้องผู้เช่าได้ย้ายทะเบียนสำมะโนครัวเป็นผู้อยู่ในห้องพิพาทก่อนผู้เช่าตาย 1 ปีเศษ แต่จำเลยไม่ได้เข้ามาอยู่ร่วมกับผู้เช่า จำเลยเพิ่งมาปรนนิบัติผู้เช่าเมื่อผู้เช่าป่วยและตาย การกระทำของจำเลยไม่ก่อให้เกิดสิทธิที่จะเป็นบุคคลในครอบครัวของผู้เช่าซึ่งอาศัยอยู่ในทรัพย์สินที่เช่าขณะผู้เช่าตาย ตามพระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าในภาวะคับขันฯ มาตรา 17
จำเลยซึ่งเป็นน้องผู้เช่าได้ย้ายทะเบียนสำมะโนครัวเป็นผู้อยู่ในห้องพิพาทก่อนผู้เช่าตาย 1 ปีเศษ แต่จำเลยไม่ได้เข้ามาอยู่ร่วมกับผู้เช่า จำเลยเพิ่งมาปรนนิบัติผู้เช่าเมื่อผู้เช่าป่วยและตาย การกระทำของจำเลยไม่ก่อให้เกิดสิทธิที่จะเป็นบุคคลในครอบครัวของผู้เช่าซึ่งอาศัยอยู่ในทรัพย์สินที่เช่าขณะผู้เช่าตาย ตามพระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าในภาวะคับขันฯ มาตรา 17
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1583/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การมีสิทธิเป็นบุคคลในครอบครัวของผู้เช่าตาม พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าฯ ต้องมีการอยู่อาศัยร่วมกันจริง
โจทก์มิได้ฟ้องขับไล่จำเลยออกจากห้องที่โจทก์ให้จำเลยเช่าหรือที่โจทก์ให้จำเลยอาศัย แต่เป็นคดีที่ฟ้องขับไล่จำเลย ในฐานที่จำเลยฉวยโอกาสเข้าอยู่ในห้องพิพาทแทนผู้เช่าเดิมซึ่งตาย โดยจำเลยไม่มีอำนาจ เป็นคดีไม่มีทุนทรัพย์ ไม่ต้องห้ามฎีกาในข้อเท็จจริง
จำเลยซึ่งเป็นน้องผู้เช่าได้ย้ายทะเบียนสำมะโนครัว เป็นผู้อยู่ในห้องพิพาทก่อนผู้เช่าตาย 1 ปีเศษ แต่จำเลยไม่ได้เข้ามาอยู่ร่วมกับผู้เช่า จำเลยเพิ่งมาปรนนิบัติผู้เช่าเมื่อผู้เช่าป่วยและตาย การกระทำของจำเลยไม่ก่อให้เกิดสิทธิที่จะเป็นบุคคลในครอบครัวของผู้เช่าซึ่งอาศัยอยู่ในทรัพย์สินที่เช่าขณะผู้เช่าตาย ตามพระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าในภาวะคับขันฯ มาตรา 17
จำเลยซึ่งเป็นน้องผู้เช่าได้ย้ายทะเบียนสำมะโนครัว เป็นผู้อยู่ในห้องพิพาทก่อนผู้เช่าตาย 1 ปีเศษ แต่จำเลยไม่ได้เข้ามาอยู่ร่วมกับผู้เช่า จำเลยเพิ่งมาปรนนิบัติผู้เช่าเมื่อผู้เช่าป่วยและตาย การกระทำของจำเลยไม่ก่อให้เกิดสิทธิที่จะเป็นบุคคลในครอบครัวของผู้เช่าซึ่งอาศัยอยู่ในทรัพย์สินที่เช่าขณะผู้เช่าตาย ตามพระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าในภาวะคับขันฯ มาตรา 17
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1580/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาในการทำพินัยกรรม: การยกทรัพย์สินให้แก่ผู้รับผลประโยชน์ที่ชัดเจน มิใช่เพียงมอบเอกสารพินัยกรรม
เจ้ามรดกทำพินัยกรรมไว้ว่า
ข้อ 1 ถ้าข้าพเจ้าถึงแก่ความตายไปแล้ว บรรดาทรัพย์สิ่งของที่ข้าพเจ้ามีอยู่ และจะเกิดขึ้นในภายหน้า ข้าพเจ้ายอมยกให้เป็นกรรมสิทธิ์แก่ผู้ที่ระบุชื่อไว้ในพินัยกรรมให้เป็นผู้รับทรัพย์ซึ่งกำหนดไว้ ดังนี้
เนื้อที่นา........ฯลฯ......
ข้อ 2 ข้าพเจ้าขอมอบพินัยกรรมนี้ให้แก่นายพา ขนาดถัง (โจทก์) และขอตั้งให้นายสวน เข็มมุข เป็นผู้จัดการมรดกของข้าพเจ้าตามพินัยกรรมนี้
ถ้อยคำในพินัยกรรมแสดงว่า เจ้ามรดกเจตนาให้ยกนาตามพินัยกรรมให้นายพา ขนาดถัง โจทก์ และตั้ง นายสวน เข็มมุข เป็นผู้จัดการมรดกหาใช่มีเจตนาเพียงแต่มอบเอกสารพินัยกรรมให้โจทก์รักษาไว้เฉย ๆ เท่านั้นไม่ ข้อกำหนดดังกล่าวไม่เป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1706(2)
ข้อ 1 ถ้าข้าพเจ้าถึงแก่ความตายไปแล้ว บรรดาทรัพย์สิ่งของที่ข้าพเจ้ามีอยู่ และจะเกิดขึ้นในภายหน้า ข้าพเจ้ายอมยกให้เป็นกรรมสิทธิ์แก่ผู้ที่ระบุชื่อไว้ในพินัยกรรมให้เป็นผู้รับทรัพย์ซึ่งกำหนดไว้ ดังนี้
เนื้อที่นา........ฯลฯ......
ข้อ 2 ข้าพเจ้าขอมอบพินัยกรรมนี้ให้แก่นายพา ขนาดถัง (โจทก์) และขอตั้งให้นายสวน เข็มมุข เป็นผู้จัดการมรดกของข้าพเจ้าตามพินัยกรรมนี้
ถ้อยคำในพินัยกรรมแสดงว่า เจ้ามรดกเจตนาให้ยกนาตามพินัยกรรมให้นายพา ขนาดถัง โจทก์ และตั้ง นายสวน เข็มมุข เป็นผู้จัดการมรดกหาใช่มีเจตนาเพียงแต่มอบเอกสารพินัยกรรมให้โจทก์รักษาไว้เฉย ๆ เท่านั้นไม่ ข้อกำหนดดังกล่าวไม่เป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1706(2)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1570/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาในพินัยกรรม: การยกทรัพย์สินให้แก่ผู้รับผลประโยชน์และแต่งตั้งผู้จัดการมรดก
เจ้ามรดกทำพินัยกรรมไว้ว่า
ข้อ 1. ถ้าข้าพเจ้าถึงแก่ความตายไปแล้ว บรรดาทรัพย์สิ่งของที่ข้าพเจ้ามีอยู่และจะเกิดขึ้นในภายหน้า ข้าพเจ้ายอมยกให้เป็นกรรมสิทธิ์แก่ผู้ที่ระบุชื่อไว้ในพินัยกรรมให้เป็นผู้รับทรัพย์ซึ่งกำหนดไว้ ดังนี้
เนื้อที่นา....................ฯลฯ.............
ข้อ 2. ข้าพเจ้าขอมอบพินัยกรรมนี้ให้แก่นายพา ขนาดถัง(โจทก์) และขอตั้งให้นายสวน เข็มมุข เป็นผู้จัดการมรดกของข้าพเจ้าตามพินัยกรรมนี้
ถ้อยคำในพินัยกรรมแสดงว่าเจ้ามรดกเจตนาให้ยกนาตามพินัยกรรมให้นายพา ขนาดถัง โจทก์ และตั้งนายสวน เข็มมุขเป็นผู้จัดการมรดก หาใช่มีเจตนาเพียงแต่มอบเอกสารพินัยกรรมให้โจทก์รักษาไว้เฉยๆ เท่านั้นไม่ ข้อกำหนดดังกล่าวไม่เป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1706(2)
ข้อ 1. ถ้าข้าพเจ้าถึงแก่ความตายไปแล้ว บรรดาทรัพย์สิ่งของที่ข้าพเจ้ามีอยู่และจะเกิดขึ้นในภายหน้า ข้าพเจ้ายอมยกให้เป็นกรรมสิทธิ์แก่ผู้ที่ระบุชื่อไว้ในพินัยกรรมให้เป็นผู้รับทรัพย์ซึ่งกำหนดไว้ ดังนี้
เนื้อที่นา....................ฯลฯ.............
ข้อ 2. ข้าพเจ้าขอมอบพินัยกรรมนี้ให้แก่นายพา ขนาดถัง(โจทก์) และขอตั้งให้นายสวน เข็มมุข เป็นผู้จัดการมรดกของข้าพเจ้าตามพินัยกรรมนี้
ถ้อยคำในพินัยกรรมแสดงว่าเจ้ามรดกเจตนาให้ยกนาตามพินัยกรรมให้นายพา ขนาดถัง โจทก์ และตั้งนายสวน เข็มมุขเป็นผู้จัดการมรดก หาใช่มีเจตนาเพียงแต่มอบเอกสารพินัยกรรมให้โจทก์รักษาไว้เฉยๆ เท่านั้นไม่ ข้อกำหนดดังกล่าวไม่เป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1706(2)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1560/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความคดีหนี้เงินกู้และการแจ้งยืนยันหนี้ตาม พ.ร.บ.ล้มละลาย มาตรา 119
การที่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แจ้งความเป็นหนังสือไปยังผู้ร้องเตือนให้ชำระหนี้เงินกู้ (ตามพระราชบัญญัติล้มละลายมาตรา 119 วรรคหนึ่ง) เป็นแต่เพียงหนังสือทวงหนี้หาใช่หนังสือยืนยันหนี้สินอันจะเป็นการแสดงว่าเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ได้ใช้อำนาจตามพระราชบัญญัติล้มละลายมาตรา 119 วรรคสี่ ซึ่งจะเป็นเหตุให้อายุความสะดุดหยุดลงไม่
แต่การที่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แจ้งความเป็นหนังสือยืนยันหนี้สินไปยังผู้ร้อง(ตามพระราชบัญญัติล้มละลายมาตรา 119 วรรคสอง)ถือได้ว่าเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ได้กระทำการอื่นใดอันนับว่ามีผลเป็นอย่างเดียวกับการฟ้องร้องคดีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 173 อายุความย่อมสะดุดหยุดลง
แต่การที่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แจ้งความเป็นหนังสือยืนยันหนี้สินไปยังผู้ร้อง(ตามพระราชบัญญัติล้มละลายมาตรา 119 วรรคสอง)ถือได้ว่าเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ได้กระทำการอื่นใดอันนับว่ามีผลเป็นอย่างเดียวกับการฟ้องร้องคดีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 173 อายุความย่อมสะดุดหยุดลง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1560/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความในคดีหนี้จากการล้มละลาย: หนังสือยืนยันหนี้หลังการสอบสวนเป็นเหตุสะดุดอายุความ
การที่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แจ้งความเป็นหนังสือไปยังผู้ร้องเตือนให้ชำระหนี้เงินกู้ (ตามพระราชบัญญัติล้มละลาย มาตรา 119 วรรค 1) เป็นแต่เพียงหนังสือพวงหนี้ หาใช่หนังสือยืนยันหนี้สินอันจะเป็นการแสดงว่าเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ได้ใช้อำนาจตามพระราชบัญญัติล้มละลาย มาตรา 119 วรรค 4 ซึ่งจะเป็นเหตุให้อายุความสะดุดหยุดลงไม่
แต่การที่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แจ้งความเป็นหนังสือยืนยันหนี้สินไปยังผู้ร้อง (ตามพระราชบัญญัติล้มละลาย มาตรา 119 วรรค 2 ) ถือได้ว่า เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ได้กระทำการอื่นใดอันนับว่ามีผลเป็นอย่างเดียวกับการฟ้องร้องคดีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 172 อายุความย่อมสะดุดหยุดลง
ผู้ร้องกู้เงินผู้ล้มละลายเมื่อ 11 เมษายน 2495 เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แจ้งความเป็นหนังสือไปยังผู้ร้องเตือนให้ชำระหนี้ เมื่อ 19 กันยายน 2504 ผู้ร้องได้รับเมื่อ 20 ตุลาคม 2504 และปฏิเสธหนี้ต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เมื่อ 2 พฤศจิกายน 2504 เจ้าพนักงานพิทักษ์สอบสวนแล้ว แจ้งความเป็นหนังสือยืนยันหนี้ไปยังผู้ร้องเมื่อ 21 มิถุนายน 2504 ผู้ร้องได้รับเมื่อ 12 กรกฎาคม 2505 เป็นเวลาเกิน 10 ปีแล้ว นับตั้งแต่วันกู้ คดีจึงขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164
แต่การที่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แจ้งความเป็นหนังสือยืนยันหนี้สินไปยังผู้ร้อง (ตามพระราชบัญญัติล้มละลาย มาตรา 119 วรรค 2 ) ถือได้ว่า เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ได้กระทำการอื่นใดอันนับว่ามีผลเป็นอย่างเดียวกับการฟ้องร้องคดีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 172 อายุความย่อมสะดุดหยุดลง
ผู้ร้องกู้เงินผู้ล้มละลายเมื่อ 11 เมษายน 2495 เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แจ้งความเป็นหนังสือไปยังผู้ร้องเตือนให้ชำระหนี้ เมื่อ 19 กันยายน 2504 ผู้ร้องได้รับเมื่อ 20 ตุลาคม 2504 และปฏิเสธหนี้ต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เมื่อ 2 พฤศจิกายน 2504 เจ้าพนักงานพิทักษ์สอบสวนแล้ว แจ้งความเป็นหนังสือยืนยันหนี้ไปยังผู้ร้องเมื่อ 21 มิถุนายน 2504 ผู้ร้องได้รับเมื่อ 12 กรกฎาคม 2505 เป็นเวลาเกิน 10 ปีแล้ว นับตั้งแต่วันกู้ คดีจึงขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164