พบผลลัพธ์ทั้งหมด 1,016 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1194/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ภารจำยอมไม่เกิดเมื่อที่ดินยังเป็นของเจ้าของเดียวกัน การใช้ทางเดินก่อนขายไม่เป็นภารจำยอม
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1387 ภารจำยอมเหนือที่ดินแปลงหนึ่งจะเกิดขึ้นได้ก็เพื่อประโยชน์แก่ที่ดินแปลงอื่นเท่านั้น เมื่อที่ดินทั้งหมดยังเป็นของโจทก์การที่โจทก์ใช้ที่ดินส่วนหนึ่งเป็นทางเดินเข้าออก ก็เป็นเรื่องโจทก์ใช้อำนาจกรรมสิทธิ์ในที่ดินของตนเอง แม้จะฟังว่าโจทก์ได้ใช้เป็นทางเดินมาถึง 20 ปี ก่อนขายให้จำเลย ก็ไม่ก่อให้เกิดภารจำยอมเหนือที่ดินของโจทก์เอง
โจทก์ฟ้องมุ่งประสงค์จะให้จำเลยเปิดทางเดินซึ่งเป็นภารจำยอมติดที่ดินซึ่งโจทก์แบ่งขายให้จำเลยประการหนึ่ง และจำเลยยังได้ให้สัญญากับโจทก์ว่าจะเปิดทางให้โจทก์เดินด้วยอีกประการหนึ่ง นอกจากนี้ฟ้องโจทก์บรรยายว่าจำเลยได้เว้นทางให้โจทก์เดินเพียงกว้าง 50 เซ็นติเมตร แสดงว่าบุตรโจทก์สามารถเดินเข้าออกได้ หากโจทก์ไม่พอใจจะขอให้จำเลยเปิดทางกว้าง 1.50 เมตร ตามที่อ้างว่าเป็นภารจำยอมหรือมีข้อตกลงจึงได้ฟ้องจำเลย มิใช่ที่ดินของโจทก์ตกอยู่ในที่ล้อมไม่มีทางออก เห็นได้ชัดว่าฟ้องโจทก์มิได้ประสงค์จะอ้างสิทธิในเรื่องทางจำเป็นจึงไม่จำต้องวินิจฉัยข้อฎีกาของโจทก์ต่อไปว่าเป็นทางจำเป็นหรือไม่
โจทก์ฟ้องมุ่งประสงค์จะให้จำเลยเปิดทางเดินซึ่งเป็นภารจำยอมติดที่ดินซึ่งโจทก์แบ่งขายให้จำเลยประการหนึ่ง และจำเลยยังได้ให้สัญญากับโจทก์ว่าจะเปิดทางให้โจทก์เดินด้วยอีกประการหนึ่ง นอกจากนี้ฟ้องโจทก์บรรยายว่าจำเลยได้เว้นทางให้โจทก์เดินเพียงกว้าง 50 เซ็นติเมตร แสดงว่าบุตรโจทก์สามารถเดินเข้าออกได้ หากโจทก์ไม่พอใจจะขอให้จำเลยเปิดทางกว้าง 1.50 เมตร ตามที่อ้างว่าเป็นภารจำยอมหรือมีข้อตกลงจึงได้ฟ้องจำเลย มิใช่ที่ดินของโจทก์ตกอยู่ในที่ล้อมไม่มีทางออก เห็นได้ชัดว่าฟ้องโจทก์มิได้ประสงค์จะอ้างสิทธิในเรื่องทางจำเป็นจึงไม่จำต้องวินิจฉัยข้อฎีกาของโจทก์ต่อไปว่าเป็นทางจำเป็นหรือไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1194/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ภารจำยอมไม่เกิดเมื่อเจ้าของที่ดินใช้ทางเดินเองก่อนแบ่งขาย และฟ้องไม่ใช่อ้างทางจำเป็น
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1387 ภารจำยอมเหนือที่ดินแปลงหนึ่งจะเกิดขึ้นได้ก็เพื่อประโยชน์แก่ที่ดินแปลงอื่นเท่านั้น เมื่อที่ดินทั้งหมดยังเป็นของโจทก์ การที่โจทก์ใช้ที่ดินส่วนหนึ่งเป็นทางเดินเข้าออก ก็เป็นเรื่องโจทก์ให้อำนาจกรรมสิทธิ์ในที่ดินของตนเอง แม้จะฟังว่าโจทก์ได้ใช้เป็นทางเดินมาถึง 20 ปี ก่อนขายให้จำเลย ก็ไม่ก่อให้เกิดภารจำยอมเหนือที่ดินของโจทก์เอง
โจทก์ฟ้องมุ่งประสงค์จะให้จำเลยเปิดทางเดินซึ่งเป็นภารจำยอมติดที่ดินซึ่งโจทก์แบ่งขายให้จำเลยประการหนึ่ง และจำเลยยังได้ให้สัญญากับโจทก์ว่าจะเปิดทางให้โจทก์เดินด้วยอีกประการหนึ่ง นอกจากนี้ฟ้องโจทก์บรรยายว่า จำเลยได้เว้นทางให้โจทก์เดินเพียงกว้าง 50 เซ็นติเมตร แสดงว่าบุตรโจทก์สามารถเดินเข้าออกได้ หากโจทก์ไม่พอใจ จะขอให้จำเลยเปิดทางกว้าง 1.5 เมตร ตามที่อ้างว่าเป็นภารจำยอมหรือมีข้อตกลง จึงได้ฟ้องจำเลย มิใช่ที่ดินของโจทก์ตกอยู่ในที่ล้อมไม่มีทางออก เห็นได้ชัดว่าฟ้องโจทก์มิได้ ประสงค์จะอ้างสิทธิในเรื่องทางจำเป็น จึงไม่จำต้องวินิจฉัยข้อฎีกาของโจทก์ต่อไปว่าเป็นทางจำเป็นหรือไม่
โจทก์ฟ้องมุ่งประสงค์จะให้จำเลยเปิดทางเดินซึ่งเป็นภารจำยอมติดที่ดินซึ่งโจทก์แบ่งขายให้จำเลยประการหนึ่ง และจำเลยยังได้ให้สัญญากับโจทก์ว่าจะเปิดทางให้โจทก์เดินด้วยอีกประการหนึ่ง นอกจากนี้ฟ้องโจทก์บรรยายว่า จำเลยได้เว้นทางให้โจทก์เดินเพียงกว้าง 50 เซ็นติเมตร แสดงว่าบุตรโจทก์สามารถเดินเข้าออกได้ หากโจทก์ไม่พอใจ จะขอให้จำเลยเปิดทางกว้าง 1.5 เมตร ตามที่อ้างว่าเป็นภารจำยอมหรือมีข้อตกลง จึงได้ฟ้องจำเลย มิใช่ที่ดินของโจทก์ตกอยู่ในที่ล้อมไม่มีทางออก เห็นได้ชัดว่าฟ้องโจทก์มิได้ ประสงค์จะอ้างสิทธิในเรื่องทางจำเป็น จึงไม่จำต้องวินิจฉัยข้อฎีกาของโจทก์ต่อไปว่าเป็นทางจำเป็นหรือไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1190/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิออกเสียงเจ้าหนี้ในที่ประชุม, มติที่ประชุมเจ้าหนี้มีผลผูกพัน, การถอนฟ้องคดีไม่ขัดต่อคำพิพากษา
คดีล้มละลาย หนี้จำพวกที่อาจขอรับชำระหนี้ได้ และได้ยื่นคำขอรับชำระหนี้ไว้แล้วก่อนวันประชุมเจ้าหนี้นั้น เจ้าหนี้ย่อมมีสิทธิออกเสียงในที่ประชุมได้ และเมื่อไม่ปรากฏว่าเจ้าหนี้ที่มาประชุมคัดค้านการออกเสียงของเจ้าหนี้รายนี้ เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จึงไม่ต้องสั่งบั่นทอนในการออกเสียงของเจ้าหนี้นั้น และถือว่าเป็นการออกเสียงที่มีผลตามกฎหมายเมื่อจำนวนหนี้ของเจ้าหนี้ฝ่ายที่ลงมติฝ่ายนี้มีมากกว่าอีกฝ่ายหนึ่ง ต้องถือว่ามติของเจ้าหนี้ฝ่ายที่มีจำนวนหนี้ข้างมากนี้เป็นมติของที่ประชุมด้วย
คดีที่ศาลฎีกาพิพากษาย้อนสำนวนไปให้ศาลชั้นต้นดำเนินการพิจารณาต่อไปในฐานะที่โจทก์มีสิทธิดำเนินกระบวนพิจารณาต่อไปได้นั้น ไม่ใช่เป็นคำพิพากษาบังคับให้โจทก์จำต้องดำเนินคดีอย่างใด
คดีที่ศาลฎีกาพิพากษาย้อนสำนวนไปให้ศาลชั้นต้นดำเนินการพิจารณาต่อไปในฐานะที่โจทก์มีสิทธิดำเนินกระบวนพิจารณาต่อไปได้นั้น ไม่ใช่เป็นคำพิพากษาบังคับให้โจทก์จำต้องดำเนินคดีอย่างใด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1190/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิออกเสียงเจ้าหนี้ในที่ประชุม & ผลของมติที่ประชุมเจ้าหนี้ตามกฎหมายล้มละลาย
คดีล้มละลาย หนี้จำพวกที่อาจขอรับชำระหนี้ได้ และได้ยื่นคำขอรับชำระหนี้ไว้แล้วก่อนวันประชุมเจ้าหนี้นั้น เจ้าหนี้ย่อมมสิทธิออกเสียงในที่ประชุมได้ และเมื่อไม่ปรากฏว่าเจ้าหนี้ที่มาประชุมคัดค้านการออกเสียงของเจ้าหนี้รายนี้ เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จึงไม่ต้องสั่งบั่นทอนในการออกเสียงของเจ้าหนี้นั้น และถือว่าเป็นการออกเสียงที่มีผลตามกฎหมาย เมื่อจำนวนหนี้ของเจ้าหนี้ฝ่ายที่ลงมติฝ่ายนี้มีมากกว่าอีกฝ่ายหนึ่ง ต้องถือว่ามติของเจ้าหนี้ฝ่ายที่มีจำนวนหนี้ข้างมากนี้เป็นมติของที่ประชุมด้วย
คดีที่ศาลฎีกาพิพากษาย้อนสำนวนไปให้ศาลชั้นต้นดำเนินการพิจารณาต่อไปในฐานะที่โจทก์มีสทิธิดำเนินกระบวนพิจารณาต่อไปได้นั้น ไม่ใช่เป็นคำพิพากษาบังคับให้โจทก์จำต้องดำเนินคดีอย่างใด
คดีที่ศาลฎีกาพิพากษาย้อนสำนวนไปให้ศาลชั้นต้นดำเนินการพิจารณาต่อไปในฐานะที่โจทก์มีสทิธิดำเนินกระบวนพิจารณาต่อไปได้นั้น ไม่ใช่เป็นคำพิพากษาบังคับให้โจทก์จำต้องดำเนินคดีอย่างใด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1185/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำฟ้องอาญาต้องระบุรายละเอียดการกระทำผิดให้จำเลยเข้าใจข้อหาได้ เพื่อให้การฟ้องเป็นไปตามหลักกฎหมาย
การฟ้องคดีอาญานั้น โจทก์จะต้องระบุการกระทำทั้งหลายที่อ้างว่าจำเลยได้กระทำผิดพอสมควรเท่าที่จะให้จำเลยเข้าใจข้อหาได้ดี
คำฟ้องของโจทก์บรรยายแต่เพียงว่า จำเลยทั้งสองหลอกลวงด้วยการแสดงข้อความอันเป็นเท็จว่า ให้ผู้เสียหายนำเงินมามอบให้กับจำเลยเพื่อเอาไปลงแชร์และให้คำรับรองอันเป็นเท็จว่าถ้าส่งเงินครบแล้วจำเลยจะคืนเงินพร้อมทั้งผลประโยชน์ให้ จำเลยทั้งสองได้เก็บเงินจากผู้เสียหายไปจวนครบจำนวนแล้วก็ปฏิเสธไม่ยอมรับไม่ยอมคืนเงินโดยตามคำฟ้องมิกล่าวว่าความจริงเป็นอย่างไร เพื่อที่จะแสดงให้เข้าใจได้ว่าจำเลยทั้งสองหลอกลวงผู้เสียหายตรงไหน ฉะนั้น คำฟ้องในคดีนี้จึงไม่เป็นฟ้องที่ระบุความพอสมควรที่จะให้จำเลยเข้าใจข้อหาได้ดี ดังนี้ ศาลก็ต้องยกฟ้อง
คำฟ้องของโจทก์บรรยายแต่เพียงว่า จำเลยทั้งสองหลอกลวงด้วยการแสดงข้อความอันเป็นเท็จว่า ให้ผู้เสียหายนำเงินมามอบให้กับจำเลยเพื่อเอาไปลงแชร์และให้คำรับรองอันเป็นเท็จว่าถ้าส่งเงินครบแล้วจำเลยจะคืนเงินพร้อมทั้งผลประโยชน์ให้ จำเลยทั้งสองได้เก็บเงินจากผู้เสียหายไปจวนครบจำนวนแล้วก็ปฏิเสธไม่ยอมรับไม่ยอมคืนเงินโดยตามคำฟ้องมิกล่าวว่าความจริงเป็นอย่างไร เพื่อที่จะแสดงให้เข้าใจได้ว่าจำเลยทั้งสองหลอกลวงผู้เสียหายตรงไหน ฉะนั้น คำฟ้องในคดีนี้จึงไม่เป็นฟ้องที่ระบุความพอสมควรที่จะให้จำเลยเข้าใจข้อหาได้ดี ดังนี้ ศาลก็ต้องยกฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1185/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำฟ้องอาญาต้องระบุรายละเอียดการกระทำผิดให้จำเลยเข้าใจข้อหาได้ชัดเจน หากระบุเพียงการหลอกลวงโดยไม่บอกความจริง คำฟ้องนั้นไม่สมบูรณ์
การฟ้องคดีอาญานั้น โจทก์จะต้องระบุการกระทำทั้งหลายที่อ้างว่าจำเลยได้กระทำผิดพอสมควรเท่าที่จะให้จำเลยเข้าใจข้อหาได้ดี
คำฟ้องของโจทก์บรรยายแต่เพียงว่า จำเลยทั้งสองหลอกลวงด้วยการแสดงข้อความอันเป็นเท็จว่า ให้ผู้เสียหายนำเงินมามอบให้กับจำเลยเพื่อเอาไปลงแชร์และให้คำรับรองอันเป็นเท็จว่า ถ้าส่งเงินครบแล้วจำเลยจะคืนเงินพร้อมทั้งผลประโยชน์ให้ จำเลยทั้งสองได้เก็บเงินจากผู้เสียหายไปจวนครบจำนวนแล้วก็ปฏิเสธไม่ยอมรับไม่ยอมคืนเงิน โดยตามคำฟ้องมิกล่าวว่าความจริงเป็นอย่างไร เพื่อที่จะแสดงให้เข้าใจได้ว่าจำเลยทั้งสองหลอกลวงผู้เสียหายตรงไหน ฉะนั้น คำฟ้องในคดีนี้จึงไม่เป็นฟ้องที่ระบุความพอสมควรที่จะให้จำเลยเข้าใจข้อหาได้ดี ดังนี้ ศาลก็ต้องยกฟ้อง
คำฟ้องของโจทก์บรรยายแต่เพียงว่า จำเลยทั้งสองหลอกลวงด้วยการแสดงข้อความอันเป็นเท็จว่า ให้ผู้เสียหายนำเงินมามอบให้กับจำเลยเพื่อเอาไปลงแชร์และให้คำรับรองอันเป็นเท็จว่า ถ้าส่งเงินครบแล้วจำเลยจะคืนเงินพร้อมทั้งผลประโยชน์ให้ จำเลยทั้งสองได้เก็บเงินจากผู้เสียหายไปจวนครบจำนวนแล้วก็ปฏิเสธไม่ยอมรับไม่ยอมคืนเงิน โดยตามคำฟ้องมิกล่าวว่าความจริงเป็นอย่างไร เพื่อที่จะแสดงให้เข้าใจได้ว่าจำเลยทั้งสองหลอกลวงผู้เสียหายตรงไหน ฉะนั้น คำฟ้องในคดีนี้จึงไม่เป็นฟ้องที่ระบุความพอสมควรที่จะให้จำเลยเข้าใจข้อหาได้ดี ดังนี้ ศาลก็ต้องยกฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1179/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำสั่งงดสืบพยานระหว่างพิจารณาคดี: การอุทธรณ์ต้องรอจนกว่ามีคำพิพากษา
การที่ศาลชั้นต้นวินิจฉัยกำหนดประเด็นหน้าที่นำสืบและมีคำสั่งให้งดสืบในประเด็นข้อใดเป็นการสั่งโดยอาศัยบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 86 วรรค 2 ก่อนที่ศาลชั้นต้นมีคำพิพากษาหรือคำสั่งชี้ขาดตัดสินคดี จึงเป็นคำสั่งระหว่างพิจารณา ต้องห้ามมิให้อุทธรณ์ตามมาตรา 226(1) จะอุทธรณ์ในทันทีทันใดมิได้ โจทก์ชอบที่จะโต้แย้งคำสั่งไว้และอุทธรณ์คำสั่งนั้นได้เมื่อศาลพิพากษาหรือชี้ขาดตัดสินคดี กรณีไม่เข้าข้อยกเว้นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 228(3)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1179/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำสั่งงดสืบพยานระหว่างพิจารณาคดี: ไม่อุทธรณ์ได้ทันที ต้องรอคำพิพากษา
การที่ศาลชั้นต้นวินิจฉัยกำหนดประเด็นหน้าที่นำสืบและมีคำสั่งให้งดสืบในประเด็นข้อใด เป็นการสั่งโดยอาศัยบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 86 วรรคสอง ก่อนที่ศาลชั้นต้นมีคำพิพากษาหรือคำสั่งชี้ขาดตัดสินคดี จึงเป็นคำสั่งระหว่างพิจารณาต้องห้ามมิให้อุทธรณ์ตามมาตรา 226(1) จะอุทธรณ์ในทันทีทันใดมิได้ โจทก์ชอบที่จะโต้แย้งคำสั่งไว้ และอุทธรณ์คำสั่งนั้นได้เมื่อศาลพิพากษาหรือชี้ขาดตัดสินคดี กรณีไม่เข้าข้อยกเว้นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 228(3)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1176/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การหย่าโดยความยินยอมก่อนใช้ประมวลกฎหมายแพ่งฯ และสิทธิของคู่สัญญาในการบังคับตามสัญญาแบ่งทรัพย์สิน
สามีภริยาที่สมรสกันก่อนประกาศใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพ 5 เมื่อได้ตกลงหย่ากันโดยทำเป็นหนังสือและมีพยานลงลายมือชื่อ 2 คน ย่อมเป็นการหย่าที่สมบูรณ์ชอบด้วยกฎหมาย
โจทก์จำเลยเป็นสามีภริยากัน ได้ทำสัญญาหย่าและแบ่งทรัพย์สินกันโดยชอบด้วยกฎหมาย ในสัญญานั้นได้ตกลงยกที่นาและบ้านให้แก่บุตรซึ่งยังเป็นผู้เยาว์อยู่ยังไม่ได้โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินนั้นให้แก่บุตร โจทก์ได้ฟ้องจำเลยเรียกเอาทรัพย์สินที่ตกลงกันยกให้บุตรนั้นมาเป็นของตนเอง ถือได้ว่าโจทก์เป็นฝ่ายผิดสัญญา จำเลยซึ่งเป็นคู่สัญญากับโจทก์ย่อมมีสิทธิฟ้องในนามของจำเลย ให้โจทก์โอนกรรมสิทธิ์ที่ดินและบ้านให้แก่บุตรตามสัญญาได้
โจทก์จำเลยเป็นสามีภริยากัน ได้ทำสัญญาหย่าและแบ่งทรัพย์สินกันโดยชอบด้วยกฎหมาย ในสัญญานั้นได้ตกลงยกที่นาและบ้านให้แก่บุตรซึ่งยังเป็นผู้เยาว์อยู่ยังไม่ได้โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินนั้นให้แก่บุตร โจทก์ได้ฟ้องจำเลยเรียกเอาทรัพย์สินที่ตกลงกันยกให้บุตรนั้นมาเป็นของตนเอง ถือได้ว่าโจทก์เป็นฝ่ายผิดสัญญา จำเลยซึ่งเป็นคู่สัญญากับโจทก์ย่อมมีสิทธิฟ้องในนามของจำเลย ให้โจทก์โอนกรรมสิทธิ์ที่ดินและบ้านให้แก่บุตรตามสัญญาได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1176/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การหย่าโดยความยินยอมก่อนใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และสิทธิของคู่สัญญาในการบังคับตามสัญญา
สามีภริยาที่สมรสกันก่อนประกาศใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพ 5 เมื่อได้ตกลงหย่ากันโดยทำเป็นหนังสือและมีพยานลงลายมือชื่อ 2 คน ย่อมเป็นการหย่าที่สมบูรณ์ชอบด้วยกฎหมาย
โจทก์จำเลยเป็นสามีภริยากัน ได้ทำสัญญาหย่าและแบ่งทรัพย์สินกันโดยชอบด้วยกฎหมาย ในสัญญานั้นได้ตกลงยกที่นาและบ้านให้แก่บุตรซึ่งยังเป็นผู้เยาว์อยู่ยังไม่ได้โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินนั้นให้แก่บุตร โจทก์ได้ฟ้องจำเลยเรียกเอาทรัพย์สินที่ตกลงกันยกให้บุตรนั้นมาเป็นของตนเอง ถือได้ว่าโจทก์เป็นฝ่ายผิดสัญญา จำเลยซึ่งเป็นคู่สัญญากับโจทก์ย่อมมีสิทธิฟ้องในนามของจำเลย ให้โจทก์โอนกรรมสิทธิ์ที่ดินและบ้านให้แก่บุตรตามสัญญาได้
โจทก์จำเลยเป็นสามีภริยากัน ได้ทำสัญญาหย่าและแบ่งทรัพย์สินกันโดยชอบด้วยกฎหมาย ในสัญญานั้นได้ตกลงยกที่นาและบ้านให้แก่บุตรซึ่งยังเป็นผู้เยาว์อยู่ยังไม่ได้โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินนั้นให้แก่บุตร โจทก์ได้ฟ้องจำเลยเรียกเอาทรัพย์สินที่ตกลงกันยกให้บุตรนั้นมาเป็นของตนเอง ถือได้ว่าโจทก์เป็นฝ่ายผิดสัญญา จำเลยซึ่งเป็นคู่สัญญากับโจทก์ย่อมมีสิทธิฟ้องในนามของจำเลย ให้โจทก์โอนกรรมสิทธิ์ที่ดินและบ้านให้แก่บุตรตามสัญญาได้