พบผลลัพธ์ทั้งหมด 1,016 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1073/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องสัญญาประกันตัว: พนักงานสอบสวนในฐานะบุคคลธรรมดาและหน้าที่ตามกฎหมาย
พนักงานสอบสวนเป็นบุคคลธรรมดา โดยตำแหน่งหน้าที่ราชการอันกฎหมายกำหนดไว้ให้ทำสัญญาประกันได้จึงมีอำนาจฟ้องขอให้บังคับตามสัญญาประกันได้
นายประกันได้รับหนังสือให้ส่งตัวผู้ต้องหาภายหลังกำหนดวันที่จะต้องส่งตัวผู้ต้องหา นายประกันยังมีหน้าที่ส่งตัวผู้ต้องหาในเวลาต่อมา การที่นายประกันไม่ส่งตัวผู้ต้องหา เป็นการผิดสัญญาประกัน
แม้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 112 มิได้บัญญัติถึงกำหนดเวลาส่งตัวผู้ต้องหาไว้ก็ตาม แต่เป็นที่เข้าใจว่านายประกันจะต้องส่งตัวผู้ต้องหาตามกำหนดที่พนักงานสอบสวนเรียกให้ส่งตัว
นายประกันได้รับหนังสือให้ส่งตัวผู้ต้องหาภายหลังกำหนดวันที่จะต้องส่งตัวผู้ต้องหา นายประกันยังมีหน้าที่ส่งตัวผู้ต้องหาในเวลาต่อมา การที่นายประกันไม่ส่งตัวผู้ต้องหา เป็นการผิดสัญญาประกัน
แม้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 112 มิได้บัญญัติถึงกำหนดเวลาส่งตัวผู้ต้องหาไว้ก็ตาม แต่เป็นที่เข้าใจว่านายประกันจะต้องส่งตัวผู้ต้องหาตามกำหนดที่พนักงานสอบสวนเรียกให้ส่งตัว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1073/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องของพนักงานสอบสวนในสัญญาประกันตัวผู้ต้องหา และการผิดสัญญาจากการไม่ส่งตัวผู้ต้องหาตามกำหนด
พนักงานสอบสวนเป็นบุคคลธรรมดา โดยตำแหน่งหน้าที่ราชการอันกฎหมายกำหนดไว้ให้ทำสัญญาประกันได้ จึงมีอำนาจฟ้องขอให้บังคับตามสัญญาประกันได้
นายประกันได้รับหนังสือให้ส่งตัวผู้ต้องหาภายหลังกำหนดวันที่จะต้องส่งตัวผู้ต้องหา นายประกันยังมีหน้าที่ส่งตัวผู้ต้องหาในเวลาต่อมา การที่นายประกันไม่ส่งตัวผู้ต้องหา เป็นการผิดสัญญาประกัน
แม้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 112 มิได้บัญญัติถึงกำหนดเวลาส่งตัวผู้ต้องหาไว้ก็ตาม แต่เป็นที่เข้าใจว่านายประกันจะต้องส่งตัวผู้ต้องหาตามกำหนดที่พนักงานสอบสวนเรียกให้ส่งตัว
นายประกันได้รับหนังสือให้ส่งตัวผู้ต้องหาภายหลังกำหนดวันที่จะต้องส่งตัวผู้ต้องหา นายประกันยังมีหน้าที่ส่งตัวผู้ต้องหาในเวลาต่อมา การที่นายประกันไม่ส่งตัวผู้ต้องหา เป็นการผิดสัญญาประกัน
แม้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 112 มิได้บัญญัติถึงกำหนดเวลาส่งตัวผู้ต้องหาไว้ก็ตาม แต่เป็นที่เข้าใจว่านายประกันจะต้องส่งตัวผู้ต้องหาตามกำหนดที่พนักงานสอบสวนเรียกให้ส่งตัว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1044/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การออกเช็คโดยไม่มีเงินในบัญชี ความผิดตาม พ.ร.บ. เช็ค และการร่วมกระทำผิด
ฟ้องที่มิได้กล่าวหาว่า จำเลยร่วมกระทำความผิดด้วย จึงลงโทษไม่ได้
จำเลยที่ 1 ออกเช็คให้จำเลยที่ 2 ไปยืมเงินโจทก์ร่วมจำเลยที่ 2 ก็ได้ยืมเงินและมอบเช็คที่จำเลยที่ 1 เป็นผู้สั่งจ่ายให้โจทก์ร่วมเป็นการชำระหนี้ แม้โจทก์ร่วมรับเช็คไว้โดยรู้ว่าจำเลยที่ 1 ไม่มีเงินในบัญชีก็ถือไม่ได้ว่าโจทก์ร่วมรู้เห็นเป็นใจกระทำผิดกับจำเลยอันจะถือว่าไม่ใช่ผู้เสียหาย เพราะความผิดฐานออกเช็คโดยเจตนาจะไม่ให้มีการใช้เงินยังไม่เกิดจนกว่าจะขอรับเงิน และธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน นอกจากนี้โจทก์ร่วมและจำเลยที่ 2 ตกลงกันขณะออกเช็คว่า จะบังคับการจ่ายเงินต่อเมื่อพ้นกำหนด 1 เดือน นับแต่วันออกเช็คจึงถือไม่ได้ว่าจำเลยที่ 1 ออกเช็คโดยเจตนาจะไม่ให้มีการใช้เงินจนกว่าจะพ้น 1 เดือน แต่เมื่อพ้น 1 เดือน จำเลยที่ 1 มิได้นำเงินเข้าบัญชีเพื่อชำระเงินตามเช็ค และธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน อ้างว่าปิดบัญชีจำเลยที่ 1 แล้ว จึงถือได้ว่า จำเลยที่ 1 ออกเช็คโดยในขณะออกไม่มีเงินอยู่ในบัญชีอันจะพึงให้ใช้เงินได้มีความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คฯมาตรา 3
จำเลยที่ 1 ออกเช็คให้จำเลยที่ 2 ไปยืมเงินโจทก์ร่วมจำเลยที่ 2 ก็ได้ยืมเงินและมอบเช็คที่จำเลยที่ 1 เป็นผู้สั่งจ่ายให้โจทก์ร่วมเป็นการชำระหนี้ แม้โจทก์ร่วมรับเช็คไว้โดยรู้ว่าจำเลยที่ 1 ไม่มีเงินในบัญชีก็ถือไม่ได้ว่าโจทก์ร่วมรู้เห็นเป็นใจกระทำผิดกับจำเลยอันจะถือว่าไม่ใช่ผู้เสียหาย เพราะความผิดฐานออกเช็คโดยเจตนาจะไม่ให้มีการใช้เงินยังไม่เกิดจนกว่าจะขอรับเงิน และธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน นอกจากนี้โจทก์ร่วมและจำเลยที่ 2 ตกลงกันขณะออกเช็คว่า จะบังคับการจ่ายเงินต่อเมื่อพ้นกำหนด 1 เดือน นับแต่วันออกเช็คจึงถือไม่ได้ว่าจำเลยที่ 1 ออกเช็คโดยเจตนาจะไม่ให้มีการใช้เงินจนกว่าจะพ้น 1 เดือน แต่เมื่อพ้น 1 เดือน จำเลยที่ 1 มิได้นำเงินเข้าบัญชีเพื่อชำระเงินตามเช็ค และธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน อ้างว่าปิดบัญชีจำเลยที่ 1 แล้ว จึงถือได้ว่า จำเลยที่ 1 ออกเช็คโดยในขณะออกไม่มีเงินอยู่ในบัญชีอันจะพึงให้ใช้เงินได้มีความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คฯมาตรา 3
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1044/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาออกเช็คโดยไม่มีเงินในบัญชี การร่วมรู้เห็นเป็นใจของผู้รับเช็ค และการบังคับใช้เช็คตามข้อตกลง
ฟ้องที่มิได้กล่าวหาว่า จำเลยร่วมกระทำความผิดด้วย จึงลงโทษไม่ได้
จำเลยที่ 1 ออกเช็คให้จำเลยที่ 2 ก็ได้ยืมเงินและมอบเช็คที่จำเลยที่ 1 เป็นผู้สั่งจ่ายให้โจทก์ร่วมเป็นการชำระหนี้ แม้โจทก์ร่วมรับเช็คไว้โดยรู้ว่าจำเลยที่ 1 ไม่มีเงินในบัญชี ก็ถือไม่ได้ว่าโจทก์ร่วมรู้เห็นเป็นใจกระทำผิดกับจำเลยอันจะถือว่าไม่ใช่ผู้เสียหาย เพราะความผิดฐานออกเช็คโดยเจตนาจะไม่ให้มีการใช้เงินยังไม่เกิดจนกว่าจะขอรับเงินและธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน นอกจากนี้โจทก์ร่วมและจำเลยที่ 2 ตกลงกันขณะออกเช็คว่า จะบังคับการจ่ายเงินต่อเมื่อพ้นกำหนด 1 เดือน นับแต่วันออกเช็ค จึงถือไม่ได้ว่าจำเลยที่ 1 ออกเช็คโดยเจตนาจะไม่ให้มีการใช้เงินจนกว่าจะพ้น 1 เดือน แต่เมื่อพ้น 1 เดือน จำเลยที่ 1 มิได้นำเงินเข้าบัญชีเพื่อชำระเงินตามเช็คและธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน อ้างว่าปิดบัญชีจำเลยที่ 1 แล้ว จึงถือได้ว่า จำเลยที่ 1 ออกเช็คโดยในขณะออกไม่มีเงินอยู่ในบัญชีอันจะพึงให้ใช้เงินได้ มีความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค ฯ มาตรา 3
จำเลยที่ 1 ออกเช็คให้จำเลยที่ 2 ก็ได้ยืมเงินและมอบเช็คที่จำเลยที่ 1 เป็นผู้สั่งจ่ายให้โจทก์ร่วมเป็นการชำระหนี้ แม้โจทก์ร่วมรับเช็คไว้โดยรู้ว่าจำเลยที่ 1 ไม่มีเงินในบัญชี ก็ถือไม่ได้ว่าโจทก์ร่วมรู้เห็นเป็นใจกระทำผิดกับจำเลยอันจะถือว่าไม่ใช่ผู้เสียหาย เพราะความผิดฐานออกเช็คโดยเจตนาจะไม่ให้มีการใช้เงินยังไม่เกิดจนกว่าจะขอรับเงินและธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน นอกจากนี้โจทก์ร่วมและจำเลยที่ 2 ตกลงกันขณะออกเช็คว่า จะบังคับการจ่ายเงินต่อเมื่อพ้นกำหนด 1 เดือน นับแต่วันออกเช็ค จึงถือไม่ได้ว่าจำเลยที่ 1 ออกเช็คโดยเจตนาจะไม่ให้มีการใช้เงินจนกว่าจะพ้น 1 เดือน แต่เมื่อพ้น 1 เดือน จำเลยที่ 1 มิได้นำเงินเข้าบัญชีเพื่อชำระเงินตามเช็คและธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน อ้างว่าปิดบัญชีจำเลยที่ 1 แล้ว จึงถือได้ว่า จำเลยที่ 1 ออกเช็คโดยในขณะออกไม่มีเงินอยู่ในบัญชีอันจะพึงให้ใช้เงินได้ มีความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค ฯ มาตรา 3
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1036/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบังคับคดีและการยึดทรัพย์: การยึดทรัพย์ทั้งแปลงเพื่อชำระหนี้เป็นไปตามกฎหมาย หากจำเลยไม่คัดค้านหรือเพิกเฉย
จำเลยเป็นหนี้โจทก์ 34,000 บาทเศษ และดอกเบี้ยร้อยละ 15 ต่อปี ในเงินต้น 30,000 บาท จำเลยไม่ชำระหนี้ตามคำพิพากษาเลย เจ้าพนักงานจึงต้องยึดที่ทั้งแปลงราคาประมาณ 100,000 บาท แม้ต่อมาจำเลยจะได้ผ่อนชำระหนี้ไปถึง 35,000 บาท หากจำเลยเห็นว่า เจ้าพนักงานบังคับคดียึดสวนยางของจำเลยทั้งแปลงมากเกินความจำเป็น ก็ชอบที่จะร้องขอให้เจ้าพนักงานแบ่งยึดแต่พอควร หากจำเลยเห็นควรแบ่งขายให้พอดีกับหนี้สินที่ค้าง จำเลยก็น่าจะได้แถลงให้ศาลหรือเจ้าพนักงานบังคับคดีทราบ ในวันขาย จำเลยได้มองให้ทนายความมาระวังผลประโยชน์ของจำเลย ทนายความมิได้ทักท้วงในเรื่องนี้ แสดงว่าทนายจำเลยก็เห็นชอบด้วย จะยกเป็นเหตุคัดค้านเมื่อขายทอดตลาดสำเร็จแล้วย่อมไม่ได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1036/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบังคับคดีและการยึดทรัพย์สินเกินความจำเป็น ผู้ผิดพลาดต้องดำเนินการคัดค้านตั้งแต่แรก
จำเลยเป็นหนี้โจทก์ 34,000 บาทเศษ และดอกเบี้ยร้อยละ 15 ต่อปีในเงินต้น 30,000 บาท จำเลยไม่ชำระหนี้ตามคำพิพากษาเลย เจ้าพนักงานจึงต้องยึดที่ทั้งแปลงราคาประมาณ 100,000 บาท แม้ต่อมาจำเลยจะได้ผ่อนชำระหนี้ไปถึง 35,000 บาท หากจำเลยเห็นว่า เจ้าพนักงานบังคับคดียึดสวนยางของจำเลยทั้งแปลงมากเกินความจำเป็น ก็ชอบที่จะร้องขอให้เจ้าพนักงานแบ่งยึดแต่พอควร หากจำเลยเห็นควรแบ่งขายให้พอดีกับหนี้สินที่ค้าง จำเลยก็น่าจะได้แถลงให้ศาลหรือเจ้าพนักงานบังคับคดีทราบ ในวันขายจำเลยได้มอบให้ทนายความมาระวังผลประโยชน์ของจำเลย ทนายความมิได้ทักท้วงในเรื่องนี้ แสดงว่าทนายจำเลยก็เห็นชอบด้วย จะยกเป็นเหตุคัดค้านเมื่อขายทอดตลาดสำเร็จแล้วย่อมไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1009/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความสมบูรณ์ของพินัยกรรมตามแบบเอกสารฝ่ายเมือง แม้ผู้ทำพินัยกรรมมิได้ยื่นคำร้องด้วยตนเอง
กฎกระทรวงมหาดไทยที่ว่า ผู้ใดจะทำพินัยกรรมเป็นแบบเอกสารฝ่ายเมืองให้ทำคำร้องแสดงความจำนงตามแบบของเจ้าพนักงานยื่นต่อกรมการอำเภอนั้น เป็นแต่เพียงระเบียบไม่เกี่ยวกับเรื่องแบบแห่งพินัยกรรม ฉะนั้น แม้ผู้ทำพินัยกรรมไม่ได้ยื่นคำร้องเอง ก็ไม่มีผลกระทบกระเทือนถึงความสมบูรณ์ของพินัยกรรม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 991/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องขับไล่: ประเด็นการใช้สิทธิอุทธรณ์ตามมาตรา 224 และการพิจารณาเคหะตาม พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่า
โจทก์ได้กล่าวมาในฟ้องแล้วว่า จำเลยเช่าห้องพิพาทเพื่อประกอบการค้าเป็นการแสดงโดยแจ้งชัดซึ่งสภาพแห่งข้อหาของโจทก์แล้ว ส่วนห้องพิพาทอยู่ในทำเลการค้า และจำเลยได้ประกอบการค้าอะไร มีสภาพอย่างใดนั้น เป็นรายละเอียดที่จะนำสืบกันต่อไปในชั้นพิจารณา ฟ้องของโจทก์จึงหาเคลือบคลุมไม่
ข้อที่จำเลยฎีกาว่า ห้องพิพาทเป็นเคหะตามพระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าในภาวะคับขันฯซึ่งศาลอุทธรณ์เห็นว่าเป็นปัญหาข้อกฎหมาย ศาลฎีกาเห็นว่าเป็นฎีกาในข้อเท็จจริงเป็นอุทธรณ์ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 224 เมื่อเป็นอุทธรณ์ต้องห้ามแล้ว ก็ไม่ถือว่าเป็นข้อที่ได้ยกขึ้นว่ากล่าวในชั้นอุทธรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249 ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
ข้อที่จำเลยฎีกาว่า ห้องพิพาทเป็นเคหะตามพระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าในภาวะคับขันฯซึ่งศาลอุทธรณ์เห็นว่าเป็นปัญหาข้อกฎหมาย ศาลฎีกาเห็นว่าเป็นฎีกาในข้อเท็จจริงเป็นอุทธรณ์ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 224 เมื่อเป็นอุทธรณ์ต้องห้ามแล้ว ก็ไม่ถือว่าเป็นข้อที่ได้ยกขึ้นว่ากล่าวในชั้นอุทธรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249 ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 991/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องขับไล่: การระบุสภาพแห่งข้อหาในฟ้องเพียงพอแล้ว ศาลไม่รับวินิจฉัยข้ออุทธรณ์เรื่องเคหะ
โจทก์ได้กล่าวมาในฟ้องแล้วว่า จำเลยเช่าห้องพิพาทเพื่อประกอบการค้า เป็นการแสดงโดยแจ้งชัดซึ่งสภาพแห่งข้อหาของโจทก์แล้ว ส่วนห้องพิพาทอยู่ในทำเลการค้าและจำเลยได้ประกอบการค้าอะไร มีสภาพอย่างใดนั้น เป็นรายละเอียดที่จะนำสืบกันต่อไปในชั้นพิจารณา ฟ้องของโจทก์จึงหาเคลือบคลุมไม่
ข้อที่จำเลยฎีกาว่า ห้องพิพาทเป็นเคหะตามพระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าในภาวะคับขันฯ ซึ่งศาลอุทธรณ์เห็นว่าเป็นปัญหาข้อกฎหมาย ศาลฎีกาเห็นว่าเป็นฎีกาในข้อเท็จจริง อุทธรณ์ข้อนี้ก็เป็นอุทธรณ์ข้อเท็จจริง เป็นอุทธรณ์ต้องห้ามตามประมาวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 224 เมื่อเป็นอุทธรณ์ต้องห้ามแล้ว ก็ไม่ถือว่าเป็นข้อที่ได้ยกขึ้นว่ากล่าวในชั้นอุทะรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 249 ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย.
ข้อที่จำเลยฎีกาว่า ห้องพิพาทเป็นเคหะตามพระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าในภาวะคับขันฯ ซึ่งศาลอุทธรณ์เห็นว่าเป็นปัญหาข้อกฎหมาย ศาลฎีกาเห็นว่าเป็นฎีกาในข้อเท็จจริง อุทธรณ์ข้อนี้ก็เป็นอุทธรณ์ข้อเท็จจริง เป็นอุทธรณ์ต้องห้ามตามประมาวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 224 เมื่อเป็นอุทธรณ์ต้องห้ามแล้ว ก็ไม่ถือว่าเป็นข้อที่ได้ยกขึ้นว่ากล่าวในชั้นอุทะรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 249 ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 975/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฉุดคร่าเพื่ออนาจาร-ข่มขืนฯ และการฆ่าเพื่อความสะดวกในการกระทำผิด มีความผิดตามมาตรา 289(6) และ (7)
จำเลยกับพวกร่วมกันฉุดคร่าผู้เสียหายเพื่อประโยชน์ของจำเลยที่จะทำอนาจารและข่มขืนกระทำชำเรา ขณะที่การกระทำผิดฐานฉุดคร่ายังไม่สำเร็จ บิดาของผู้เสียหายวิ่งติดตามไปเพื่อขัดขวาง จำเลยสั่งให้พวกของจำเลยใช้อาวุธปืนยิงบิดาผู้เสียหายถึงแก่ความตาย ดังนี้ จำเลยผิดฐานร่วมเป็นตัวการฆ่าเพื่อให้เป็นความสะดวกในการที่จำเลยกับพวกจะทำการฉุดคร่าผู้เสียหายเพื่อจำเลยจะได้ตัวผู้เสียหายไว้เพื่อทำอนาจารและข่มขืนกระทำชำเราอันเป็นประโยชน์อันเกิดแก่การกระทำผิดตามมาตรา 289(6) และ(7)