พบผลลัพธ์ทั้งหมด 1,016 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 262/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การลดโทษจำเลยที่ให้การรับสารภาพแต่มีเจตนาอื่น ศาลพิจารณาจากพฤติการณ์และคำให้การที่เป็นประโยชน์
ในกรณีที่จำเลยเข้ามอบตัวต่อเจ้าพนักงานและให้การรับสารภาพแต่ด้วยความมุ่งหมายที่จะให้เจ้าพนักงานกันจำเลยไว้เป็นพยานครั้นการไม่เป็นไปตามความประสงค์เมื่อคดีมาสู่ศาลจำเลยก็กลับให้การต่อสู้คดีตลอดมา เช่นนี้แม้คำให้การชั้นสอบสวนของจำเลยจะเป็นประโยชน์ก็สมควรลดโทษให้จำเลยหนึ่งในสามเท่านั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 262/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การลดโทษจำเลยที่ให้การรับสารภาพเพื่อหวังผลประโยชน์อื่น และกลับให้การต่อสู้คดีภายหลัง
ในกรณีที่จำเลยเข้ามอบตัวต่อเจ้าพนักงานและให้การรับสารภาพแต่ด้วยความมุ่งหมายที่จะให้เจ้าพนักงานกันจำเลยไว้เป็นพยาน ครั้นการไม่เป็นไปตามความประสงค์เมื่อคดีมาสู่ศาล จำเลยก็กลับให้การต่อสู้คดีตลอดมา เช่นนี้ แม้คำให้การชั้นสอบสวนของจำเลยจะเป็นประโยชน์ก็สมควรลดโทษให้จำเลยหนึ่งในสามเท่านั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 230/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เหตุสุดวิสัยในการยื่นอุทธรณ์คดีอาญา: การป่วยและการเดินทาง
การยื่นคำขอให้ขยายเวลายื่นอุทธรณ์คดีอาญาภายหลัง ล่วงเลยกำหนด 15 วัน แล้วจะต้องเข้าหลักเกณฑ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 15 และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 23
การที่โจทก์มีบ้านพักอยู่ห่างศาล 38 กิโลเมตรป่วยเป็นหวัด และพยาธิตัวตืดมีอาการปวดศีรษะ อ่อนเพลีย ปวดท้อง เมื่อโจทก์ มาในเมืองขอให้แพทย์ตรวจร่างกายได้ก็น่าจะมาศาลเพื่อยื่นอุทธรณ์ได้ จึงไม่แสดงว่ามีเหตุสุดวิสัยแต่ประการใด
การที่โจทก์มีบ้านพักอยู่ห่างศาล 38 กิโลเมตรป่วยเป็นหวัด และพยาธิตัวตืดมีอาการปวดศีรษะ อ่อนเพลีย ปวดท้อง เมื่อโจทก์ มาในเมืองขอให้แพทย์ตรวจร่างกายได้ก็น่าจะมาศาลเพื่อยื่นอุทธรณ์ได้ จึงไม่แสดงว่ามีเหตุสุดวิสัยแต่ประการใด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 230/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยื่นอุทธรณ์คดีอาญา เกินกำหนด 15 วัน ต้องมีเหตุสุดวิสัยตามกฎหมาย
การยื่นคำขอให้ขยายเวลายื่นอุทธรณ์คดีอาญาภายหลังล่วงเลยกำหนด 15 วันแล้ว จะต้องเข้าหลักเกณฑ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 15 และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 23
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 190/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การนำสืบพยานเพื่อแสดงมูลหนี้และการหักหนี้ที่ถูกต้องตามกฎหมาย
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยทำสัญญากู้เงินโจทก์ 2,500 บาท จำเลยรับว่าทำสัญญากู้จริง เนื่องจากโจทก์ตกลงจ้างเหมาจำเลยเจาะน้ำบาดาลเป็นเงิน 3,300 บาท จำเลยจึงทำหนังสือกู้เงินโจทก์ 2,500 บาท เป็นเงินล่วงหน้าเพื่อซื้ออุปกรณ์ต่างๆ เมื่อจำเลยลงมือทำงานแล้วต่อมาจำเลยขอให้โจทก์ซื้อเครื่องสูบโยกอีกเป็นเงิน 1,500 บาท เมื่อรวมกับเงินที่จำเลยทำสัญญากู้จึงเป็น 4,000 บาทเงินรายนี้ เมื่อคิดหักกับค่าจ้าง 3,300 บาทแล้ว จำเลยยังคงรับผิดเพียง 700 บาท ดังนี้ จำเลยย่อมนำสืบพยานบุคคลได้ เพราะการนำสืบ ของจำเลยเป็นการนำสืบเพื่อแสดงว่าจำเลยเป็นหนี้โจทก์โดยเหตุใด อันเป็นการนำสืบถึงมูลหนี้ ไม่ได้เป็นการนำสืบแสดงว่าไม่ได้เป็นหนี้ และเป็นการนำสืบถึงว่าโจทก์ก็เป็นหนี้จำเลยในเรื่องโจทก์จ้างจำเลย เจาะน้ำบาดาล 3,300 บาท เมื่อได้หักหนี้กันแล้ว จำเลยยังคงเป็น หนี้โจทก์อยู่เพียง 700 บาท มิใช่เป็นการนำสืบแก้ไขเปลี่ยนแปลงเอกสารแต่เป็นการนำสืบเพื่อแสดงว่าโจทก์จำเลยเป็นหนี้ต่อกันอย่างไร ได้มีการหักหนี้กันแล้วอย่างไร จำเลยยังคงเป็นหนี้โจทก์อยู่อีกเท่าใด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 190/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การนำสืบพยานเพื่อแสดงมูลหนี้และการหักหนี้: จำเลยมีสิทธิแสดงข้อเท็จจริงเพื่อพิสูจน์ข้ออ้างในการหักหนี้ได้
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยทำสัญญากู้เงินโจทก์ 2,500 บาท จำเลยรับว่าทำสัญญากู้จริง เนื่องจากโจทก์ตกลงจ้างเหมาจำเลยเจาะน้ำบาดาลเป็นเงิน 3,300 บาท จำเลยจึงทำหนังสือกู้จากโจทก์ 2,500 บาท เป็นเงินล่วงหน้าเพื่อซื้ออุปกรณ์ต่าง ๆ เมื่อจำเลยลงมือทำงานแล้ว ต่อมาจำเลยขอให้โจทก์ซื้อเครื่องสูบโยกอีกเป็นเงิน 1,500 บาท เมื่อรวมกับเงินที่จำเลยทำสัญญากู้จึงเป็น 4,000 บาท เงินรายนี้เมื่อคิดหักกับค่าจ้าง 3,300 บาทแล้ว จำเลยยังคงรับผิดเพียง 700 บาท ดังนี้ จำเลยย่อมนำสืบพยานบุคคลได้ เพราะการนำสืบของจำเลยเป็นการนำสืบเพื่อแสดงว่าจำเลยเป็นหนี้โจทก์โดยเหตุใด อันเป็นการนำสืบถึงมูลหนี้ ไม่ได้เป็นการนำสืบแสดงว่าไม่ได้เป็นหนี้ และเป็นการนำสืบถึงว่าโจทก์ก็เป็นหนี้จำเลยในเรื่องโจทก์จ้างจำเลยเจาะน้ำบาดาล 3,300 บาท เมื่อได้หักหนี้กันแล้ว จำเลยยังคงเป็นหนี้โจทก์อยู่เพียง 700 บาท มิใช่เป็นการนำสืบแก้ไขเปลี่ยนแปลงเอกสาร แต่เป็นการนำสืบเพื่อแสดงว่าโจทก์จำเลยเป็นหนี้ต่อกันอย่างไร ได้มีการหักหนี้กันแล้วอย่างไร จำเลยยังคงเป็นหนี้โจทก์อยู่อีกเท่าใด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 164/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องเรียกหนี้หลังเลิกบริษัท, อำนาจทนาย, และการตีราคาไม้ของกลาง
แม้การชำระบัญชีสิ้นสุดไปแล้ว กฎหมายยังให้เจ้าหนี้ฟ้องเรียกหนี้สินที่บริษัทหรือผู้ถือหุ้นเป็นหนี้อยู่ได้
กรณีเรื่องนี้ว่ากล่าวกันให้บริษัทผู้ร้องต้องรับผิดเป็นเงินวางศาลเมื่อบริษัทผู้ร้องรับไม้ของกลางไปและได้ว่ากล่าวกันก่อนเลิกบริษัท ฉะนั้น ตามนัยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1249 ประกอบมาตรา 1272 คู่กรณีจึงคงว่ากล่าวคดีกันต่อมาได้และทนายของบริษัทผู้ร้องคงมีอำนาจดำเนินคดีต่อมาตามที่ได้รับแต่งตั้งไว้ได้
ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามศาลชั้นต้นให้บริษัทผู้ร้องนำเงินราคาไม้ของกลางที่ยังขาด 1,398,000 บาท มาวางศาลภายใน 15 วันบริษัทผู้ร้องฎีกาต่อมาได้ไม่ต้องห้ามไม่อยู่ภายในบังคับของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218
บริษัทผู้ร้องขอให้คิดราคาไม้ของกลาง 4 เท่าของอัตราค่าภาคหลวงราคานี้กรมป่าไม้ขายให้เฉพาะองค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ ซึ่งเป็นองค์การรัฐบาลเท่านั้นการตีราคาในคดีนี้ต้องถือราคาในท้องตลาดเป็นเกณฑ์ คือลูกบาศก์เมตรละ 2,050 บาท
กรณีเรื่องนี้ว่ากล่าวกันให้บริษัทผู้ร้องต้องรับผิดเป็นเงินวางศาลเมื่อบริษัทผู้ร้องรับไม้ของกลางไปและได้ว่ากล่าวกันก่อนเลิกบริษัท ฉะนั้น ตามนัยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1249 ประกอบมาตรา 1272 คู่กรณีจึงคงว่ากล่าวคดีกันต่อมาได้และทนายของบริษัทผู้ร้องคงมีอำนาจดำเนินคดีต่อมาตามที่ได้รับแต่งตั้งไว้ได้
ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามศาลชั้นต้นให้บริษัทผู้ร้องนำเงินราคาไม้ของกลางที่ยังขาด 1,398,000 บาท มาวางศาลภายใน 15 วันบริษัทผู้ร้องฎีกาต่อมาได้ไม่ต้องห้ามไม่อยู่ภายในบังคับของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218
บริษัทผู้ร้องขอให้คิดราคาไม้ของกลาง 4 เท่าของอัตราค่าภาคหลวงราคานี้กรมป่าไม้ขายให้เฉพาะองค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ ซึ่งเป็นองค์การรัฐบาลเท่านั้นการตีราคาในคดีนี้ต้องถือราคาในท้องตลาดเป็นเกณฑ์ คือลูกบาศก์เมตรละ 2,050 บาท
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 164/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องเรียกหนี้หลังชำระบัญชีเลิกบริษัท และอำนาจทนายความในการดำเนินคดี
แม้การชำระบัญชีสิ้นสุดไปแล้ว กฎหมายยังให้เจ้าหนี้ฟ้องเรียกหนี้สินที่บริษัทหรือผู้ถือหุ้นเป็นหนี้อยู่ได้ กรณีเรื่องนี้ว่ากล่าวกันให้บริษัทผู้ร้องต้องรับผิดเป็นเงินวางศาลเมื่อบริษัทผู้ร้องรับไม้ของกลางไปและได้ว่ากล่าวกันก่อนเลิกบริษัท ฉะนั้น ตามนัยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1249 ประกอบมาตรา 1272 คู่กรณีจึงคงว่ากล่าวคดีกันต่อมาได้และทนายของบริษัทผู้ร้องคงมีอำนาจดำเนินดคีต่อมาตามที่ได้รับแต่งตั้งไว้ได้
ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามศาลชั้นต้นให้บริษัทผู้ร้องนำเงินราคาไม้ของกลางที่ยังขาด 1,398,000 บาท มาวางศาลภายใน 15 วัน บริษัทผู้ร้องฎีกาต่อมาได้ไม่ต้องห้าม ไม่อยู่ภายในบังคับของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218
บริษัทผู้ร้องขอให้คิดราคาไม้ของกลาง 4 เท่าของอัตราค่าภาคหลวง ราคานี้กรมป่าไม้ขายให้เฉพาะองค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ ซึ่งเป็นองค์การรัฐบาลเท่านั้น การตีราคาในคดีนี้ต้องถือราคาในท้องตลาดเป็นเกณฑ์ คือ ลูกบาศก์เมตรละ 2,050 บาท
ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามศาลชั้นต้นให้บริษัทผู้ร้องนำเงินราคาไม้ของกลางที่ยังขาด 1,398,000 บาท มาวางศาลภายใน 15 วัน บริษัทผู้ร้องฎีกาต่อมาได้ไม่ต้องห้าม ไม่อยู่ภายในบังคับของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218
บริษัทผู้ร้องขอให้คิดราคาไม้ของกลาง 4 เท่าของอัตราค่าภาคหลวง ราคานี้กรมป่าไม้ขายให้เฉพาะองค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ ซึ่งเป็นองค์การรัฐบาลเท่านั้น การตีราคาในคดีนี้ต้องถือราคาในท้องตลาดเป็นเกณฑ์ คือ ลูกบาศก์เมตรละ 2,050 บาท
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 162/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจับกุมและการต่อสู้: อำนาจจับกุมนอกเวลากลางวัน, ความสำคัญผิด, การใช้กำลังสมควรแก่เหตุ
ในคดีที่ข้อเท็จจริงมีเพียงว่า มีผู้แจ้งความ (ในข้อหาชิงทรัพย์) เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2508 ต่อมาวันที่ 14 สิงหาคม 2508 สายลับแจ้งว่าจำเลยกลับมานอนบ้านเจ้าพนักงานจึงไปจับจำเลย เข้าจับเวลา 5.40 นาฬิกา ไม่ปรากฏว่ามีการขออนุญาตพิเศษจากผู้ว่าราชการจังหวัด หรือไม่อาจขอได้ทันเพราะเหตุใด เช่นนี้ คดีไม่พอจะฟังว่าเป็นการฉุกเฉินอย่างยิ่ง ฉะนั้น การที่เจ้าพนักงานจับจำเลยในที่รโหฐานในเวลากลางคืนจึงไม่มีอำนาจที่จะทำได้ หากจำเลยต่อสู้ จำเลยก็ไม่มีความผิดฐานต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงาน (ป.วิ.อ.มาตรา 96(2))
จำเลยให้การว่า ได้ทำร้ายเจ้าพนักงานจริง แต่ต่อสู้ว่า สำคัญผิดว่าเป็นคนร้ายและได้ต่อสู้เช่นนี้มาตั้งแต่ชั้นสอบสวน เมื่อพิเคราะห์การกระทำของเจ้าพนักงานที่ขึ้นไปจับจำเลยบนเรือนในเวลากลางคืนขณะจำเลยยังนอนอยู่และทันทีที่รู้ตัวจำเลยก็ลุกขึ้นสู้เช่นนี้ น่าเชื่อว่าจำเลยไม่ทันเข้าใจว่าเป็นเจ้าพนักงาน และการกระทำของจำเลยเท่าที่ได้กระทำไปนั้น (มีดฟัน 1 ที) ก็พอสมควรแก่เหตุ จำเลยจึงไม่มีความผิด (ป.อาญา มาตรา 68)
จำเลยให้การว่า ได้ทำร้ายเจ้าพนักงานจริง แต่ต่อสู้ว่า สำคัญผิดว่าเป็นคนร้ายและได้ต่อสู้เช่นนี้มาตั้งแต่ชั้นสอบสวน เมื่อพิเคราะห์การกระทำของเจ้าพนักงานที่ขึ้นไปจับจำเลยบนเรือนในเวลากลางคืนขณะจำเลยยังนอนอยู่และทันทีที่รู้ตัวจำเลยก็ลุกขึ้นสู้เช่นนี้ น่าเชื่อว่าจำเลยไม่ทันเข้าใจว่าเป็นเจ้าพนักงาน และการกระทำของจำเลยเท่าที่ได้กระทำไปนั้น (มีดฟัน 1 ที) ก็พอสมควรแก่เหตุ จำเลยจึงไม่มีความผิด (ป.อาญา มาตรา 68)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 162/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจับกุมและการต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงาน: อำนาจการจับกุมและการป้องกันตัวตามกฎหมาย
ในคดีที่ข้อเท็จจริงมีเพียงว่า มีผู้แจ้งความ (ในข้อหาชิงทรัพย์)เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2508 ต่อมาวันที่ 14 สิงหาคม 2508 สายลับแจ้งว่าจำเลยกลับมานอนบ้านเจ้าพนักงานจึงไปจับจำเลยเข้าจับเวลา 5.40 นาฬิกา ไม่ปรากฏว่ามีการขออนุญาตพิเศษจากผู้ว่าราชการจังหวัดหรือไม่อาจขอได้ทันเพราะเหตุใด เช่นนี้คดีไม่พอจะฟังว่าเป็นการฉุกเฉินอย่างยิ่งฉะนั้น การที่เจ้าพนักงานจับจำเลยในที่รโหฐานในเวลากลางคืนจึงไม่มีอำนาจที่จะทำได้หากจำเลยต่อสู้จำเลยก็ไม่มีความผิดฐานต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงาน (ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 96(2))
จำเลยให้การว่า ได้ทำร้ายเจ้าพนักงานจริง แต่ต่อสู้ว่า สำคัญผิดว่าเป็นคนร้ายและได้ต่อสู้เช่นนี้มาตั้งแต่ชั้นสอบสวนเมื่อพิเคราะห์การกระทำของเจ้าพนักงานที่ขึ้นไปจับจำเลยบนเรือนในเวลากลางคืนขณะจำเลยยังนอนอยู่และทันทีที่รู้ตัวจำเลยก็ลุกขึ้นสู้เช่นนี้ น่าเชื่อว่าจำเลยไม่ทันเข้าใจว่าเป็นเจ้าพนักงาน และการกระทำของจำเลยเท่าที่ได้กระทำไปนั้น (มีดฟัน 1 ที) ก็พอสมควรแก่เหตุ จำเลยจึงไม่มีความผิด (ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 68)
จำเลยให้การว่า ได้ทำร้ายเจ้าพนักงานจริง แต่ต่อสู้ว่า สำคัญผิดว่าเป็นคนร้ายและได้ต่อสู้เช่นนี้มาตั้งแต่ชั้นสอบสวนเมื่อพิเคราะห์การกระทำของเจ้าพนักงานที่ขึ้นไปจับจำเลยบนเรือนในเวลากลางคืนขณะจำเลยยังนอนอยู่และทันทีที่รู้ตัวจำเลยก็ลุกขึ้นสู้เช่นนี้ น่าเชื่อว่าจำเลยไม่ทันเข้าใจว่าเป็นเจ้าพนักงาน และการกระทำของจำเลยเท่าที่ได้กระทำไปนั้น (มีดฟัน 1 ที) ก็พอสมควรแก่เหตุ จำเลยจึงไม่มีความผิด (ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 68)