พบผลลัพธ์ทั้งหมด 1,016 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 268/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิการครอบครองและการฟ้องเรียกค่าเสียหายจากการทำละเมิด กรณีอายุความและการพิสูจน์วันทำละเมิด
การครอบครองทรัพย์สินในระหว่างคดีนั้นคู่ความฝ่ายที่ครอบครองจะยกเอาสิทธิแห่งการครอบครองมาใช้ยันกับเจ้าของหาได้ไม่
การเรียกค่าเสียหายในกรณีละเมิดแย่งทำนานั้น มีอายุความ 1 ปีฉะนั้น ค่าเสียหายในตอนที่ทำนามาก่อนนั้นย่อมเป็นอันขาดอายุความ
การเรียกค่าเสียหายในกรณีละเมิดแย่งทำนานั้น มีอายุความ 1 ปีฉะนั้น ค่าเสียหายในตอนที่ทำนามาก่อนนั้นย่อมเป็นอันขาดอายุความ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 268/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การครอบครองทรัพย์สินระหว่างคดีไม่ผูกพันคู่กรณี และอายุความค่าเสียหายจากการแย่งการทำนา
การครอบครอบทรัพย์สินในระหว่างคดีนั้น คู่ความฝ่ายที่ครอบครองจะยกเอาสิทธิแห่งการครอบครองมาใช้ยันกับเจ้าของหาได้ไม่
การเรียกค่าเสียหายในกรณีละเมิดแย่งการทำนานั้น มีอายุความ 1 ปี ฉะนั้นค่าเสียหายในตอนที่ทำนามาก่อนนั้น ย่อมเป็นอันขาดอายุความ
การเรียกค่าเสียหายในกรณีละเมิดแย่งการทำนานั้น มีอายุความ 1 ปี ฉะนั้นค่าเสียหายในตอนที่ทำนามาก่อนนั้น ย่อมเป็นอันขาดอายุความ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 262/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องซ้ำเรื่องเดิม: ประเด็นฟ้องซ้ำต้องห้ามตามมาตรา 144 ว.พ.พ.
โจทก์ฟ้องจำเลยในประเด็นอย่างเดียวกับคดีที่จำเลยเคยฟ้องโจทก์และศาลได้พิพากษาแล้วเช่นนี้ ฟ้องโจทก์ย่อมต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 144(อ้างฎีกาที่ 1165/2492)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 262/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องซ้ำเรื่องค่าเสียหายจากอุบัติเหตุรถชน: ห้ามตามมาตรา 144
โจทก์ฟ้องจำเลยในประเด็นอย่างเดียวกับคดีที่จำเลยเคยฟ้องโจทก์ และศาลได้พิพากษาแล้ว เช่นนี้ ฟ้องโจทก์ย่อมต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 144
(อ้างฎีกาที่ 1165/2492)
(อ้างฎีกาที่ 1165/2492)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 205/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิกถอนโฉนดที่ดินทับซ้อน แม้จะออกก่อนใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน และการไม่มีหน้าที่รับผิดของกรมที่ดิน
เมื่อเจ้าหน้าที่ของกรมที่ดินได้ตรวจสอบเขตตามที่เจ้าของที่ดินหรือตัวแทนนำชี้และการออกโฉนดก็ได้ปฏิบัติตามระเบียบ เช่นนี้ย่อมเป็นการปฏิบัติหน้าที่ตามสมควรแล้วหากเขตเนื้อที่ในโฉนดไม่ถูกต้องจะถือว่าเป็นความผิดของเจ้าหน้าที่กรมที่ดินย่อมไม่ได้ผู้ซื้อที่ดินมีโฉนดมาโดยสุจริตและจดทะเบียนโดยถูกต้องตามกฎหมายแล้วไม่อาจได้กรรมสิทธิ์เพราะที่ดินเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินเช่นนี้ไม่มีกฎหมายบัญญัติให้กรมที่ดินต้องรับผิด
อธิบดีกรมที่ดินมีอำนาจสั่งเพิกถอนโฉนดที่ไม่ถูกต้องได้ ไม่ว่าเป็นโฉนดที่ออกมาก่อนหรือภายหลังวันใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน
อธิบดีกรมที่ดินมีอำนาจสั่งเพิกถอนโฉนดที่ไม่ถูกต้องได้ ไม่ว่าเป็นโฉนดที่ออกมาก่อนหรือภายหลังวันใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 205/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิกถอนโฉนดที่ดินทับซ้อน และความรับผิดของกรมที่ดินเมื่อผู้ซื้อโอนโดยสุจริต
เมื่อเจ้าหน้าที่ของกรมที่ดินได้ตรวจสอบเขตตามที่เจ้าของที่ดินหรือตัวแทนนำชี้ และการออกโฉนดก็ได้ปฏิบัติตามระเบียบ เช่นนี้ ย่อมเป็นการปฏิบัติหน้าที่ตามสมควรแล้ว หากเขตเนื้อที่ในโฉนดไม่ถูกต้อง จะถือว่าเป็นความผิดของเจ้าหน้าที่กรมที่ดินย่อมไม่ได้ ผู้ซื้อที่ดินมีโฉนดมาโดยสุจริตและจดทะเบียนโดยถูกต้องตามกฎหมายแล้ว ไม่อาจได้กรรมสิทธิ์เพราะที่ดินเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน เช่นนี้ ไม่มีกฎหมายบัญญัติให้กรมที่ดินต้องรับผิด
อธิบดีกรมที่ดินมีอำนาจสั่งเพิกถอนโฉนดที่ไม่ถูกต้องได้ ไม่ว่าเป็นโฉนดที่ออกมาก่อนหรือภายหลังวันใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน
อธิบดีกรมที่ดินมีอำนาจสั่งเพิกถอนโฉนดที่ไม่ถูกต้องได้ ไม่ว่าเป็นโฉนดที่ออกมาก่อนหรือภายหลังวันใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 185/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์ในสลากที่ได้มาจากการซื้อขายจากผู้ไม่มีสิทธิ แม้ผู้ซื้อจะสุจริตก็ไม่ทำให้ได้กรรมสิทธิ์
สลากกินแบ่งของโจทก์หายไป จำเลยซึ่งเป็นพ่อค้าจำหน่ายสลากกินแบ่งรับซื้อไว้โดยเปิดเผย และโดยสุจริต ไม่ทราบว่าเป็นสลากกินแบ่งของโจทก์ที่หายไปเช่นนี้ เมื่อผู้ขายมิใช่เจ้าของสลากและไม่มีอำนาจจะเอามาขายได้ จำเลยผู้รับซื้อก็ไม่ได้กรรมสิทธิ์ในสลากินแบ่งนั้น
คำว่า ท้องตลาด ตามมาตรา 1332 หมายถึง "ที่ชุมนุมแห่งการค้า" ที่ใดเป็นที่ชุมนุมการค้าหรือไม่ ย่อมแล้วแต่ข้อเท็จจริงเป็นเรื่อง ๆ ไป
คำว่า ท้องตลาด ตามมาตรา 1332 หมายถึง "ที่ชุมนุมแห่งการค้า" ที่ใดเป็นที่ชุมนุมการค้าหรือไม่ ย่อมแล้วแต่ข้อเท็จจริงเป็นเรื่อง ๆ ไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 185/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์ในสลากหาย: ผู้รับซื้อโดยสุจริตไม่เป็นเจ้าของ หากผู้ขายไม่มีสิทธิ
สลากกินแบ่งของโจทก์หายไปจำเลยซึ่งเป็นพ่อค้าจำหน่ายสลากกินแบ่งรับซื้อไว้โดยเปิดเผยและโดยสุจริต ไม่ทราบว่าเป็นสลากกินแบ่งของโจทก์ที่หายไปเช่นนี้เมื่อผู้ขายมิใช่เจ้าของสลากและไม่มีอำนาจจะเอามาขายได้จำเลยผู้รับซื้อก็ไม่ได้กรรมสิทธิ์ในสลากกินแบ่งนั้น
คำว่า ท้องตลาด ตามมาตรา 1332 หมายถึง'ที่ชุมนุมแห่งการค้า' ที่ใดเป็นที่ชุมนุมการค้าหรือไม่ย่อมแล้วแต่ข้อเท็จจริงเป็นเรื่องๆ ไป
คำว่า ท้องตลาด ตามมาตรา 1332 หมายถึง'ที่ชุมนุมแห่งการค้า' ที่ใดเป็นที่ชุมนุมการค้าหรือไม่ย่อมแล้วแต่ข้อเท็จจริงเป็นเรื่องๆ ไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 181/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความแย่งการครอบครองที่ดิน: ที่ดินแปลงนี้มีสภาพเป็นที่สวนตั้งแต่แรก การครอบครองจึงต้องใช้อายุความ 9 ปี 10 ปี
เดิมผู้มีชื่อได้ขอจับจองที่ดินและได้รับใบเหยียบย่ำเมื่อปี 2469ต่อมาได้โอนที่ดินให้โจทก์เมื่อปี 2472 เจ้าพนักงานอำเภอได้บันทึกไว้ในใบเหยียบย่ำ เมื่อโจทก์ได้รับโอนมาแล้วก็แผ้วถางปลูกผลอาสินลงทั่วพื้นที่ทั้งหมดดังนี้ ที่พิพาทจึงเป็นที่สวนการแย่งการครอบครองจึงต้องถืออายุความ 9 ปี 10 ปี ตามกฎหมายลักษณะเบ็ดเสร็จบทที่ 42 จำเลยเพิ่งโต้แย้งสิทธิโจทก์เพียง 1 ปี สิทธิของโจทก์จึงยังไม่เสียไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 181/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความแย่งการครอบครองที่ดิน: สิทธิยังไม่เสียไปหากโต้แย้งสิทธิช้า
เดิมผู้มีชื่อได้ขอจับจองที่ดินและได้รับใบเหยียบย่ำเมื่อปี 2469 ต่อมาได้โอนที่ดินให้โจทก์เมื่อปี 2472 เจ้าพนักงานอำเภอได้บันทึกไว้ในใบเหยียบย่ำ เมื่อโจทก์ได้รับโอนมาแล้วก็แผ้วถางปลูกผลอาสินลงทั่วพื้นที่ทั้งหมด ดังนี้ ที่พิพาทจึงเป็นที่สวนการแย่งการครอบครองจึงต้องถืออายุความ 9 ปี 10 ปี ตามกฎหมายลักษณะเบ็ดเสร็จ บทที่ 42 จำเลยเพิ่งโต้แย้งสิทธิโจทก์เพียง 1 ปี สิทธิของโจทก์จึงยังไม่เสียไป