พบผลลัพธ์ทั้งหมด 1,016 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 179/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขาดนัดพิจารณาคดี และการขอพิจารณาคดีใหม่ตามมาตรา 208 ต้องมีเหตุผลชัดเจนและคัดค้านคำตัดสิน
จำเลยขาดนัดพิจารณา และศาลได้อ่านคำพิพากษาแล้ว จำเลยจะมายื่นคำร้องขอแก้ไขหรือเพิกถอนการพิจารณาที่ผิดพลาดตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 27 ไม่ได้ เพราะการขอแก้ไขตามมาตรานี้จะต้องกระทำก่อนศาลชั้นต้นมีคำพิพากษา
คำขอให้พิจารณาคดีใหม่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 208 ต้องกล่าวโดยละเอียดชัดแจ้งซึ่งเหตุที่คู่ความได้ขาดนัด และข้อคัดค้านคำตัดสินชี้ขาดของศาล หากคำขอของจำเลยมิได้มีข้อคัดค้านคำตัดสินชี้ขาดของศาลโดยละเอียดชัดแจ้ง ก็ไม่ต้องด้วยบทบัญญัติมาตรา 208 อันจะควรรับไว้พิจารณา
คำขอให้พิจารณาคดีใหม่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 208 ต้องกล่าวโดยละเอียดชัดแจ้งซึ่งเหตุที่คู่ความได้ขาดนัด และข้อคัดค้านคำตัดสินชี้ขาดของศาล หากคำขอของจำเลยมิได้มีข้อคัดค้านคำตัดสินชี้ขาดของศาลโดยละเอียดชัดแจ้ง ก็ไม่ต้องด้วยบทบัญญัติมาตรา 208 อันจะควรรับไว้พิจารณา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 179/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขาดนัดพิจารณาคดีและการขอพิจารณาคดีใหม่ จำเลยต้องดำเนินการตามขั้นตอนที่กฎหมายกำหนดก่อนมีคำพิพากษา
จำเลยขาดนัดพิจารณา และศาลได้อ่านคำพิพากษาแล้วจำเลยจะมายื่นคำร้องขอแก้ไขหรือเพิกถอนการพิจารณาที่ผิดพลาดตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 27 ไม่ได้เพราะการขอแก้ไขตามมาตรานี้จะต้องกระทำก่อนศาลชั้นต้นมีคำพิพากษา
คำขอให้พิจารณาคดีใหม่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 208 ต้องกล่าวโดยละเอียดชัดแจ้งซึ่งเหตุที่คู่ความได้ขาดนัดและข้อคัดค้านคำตัดสินชี้ขาดของศาลหากคำขอของจำเลยมิได้มีข้อคัดค้านคำตัดสินชี้ขาดของศาลโดยละเอียดชัดแจ้งก็ไม่ต้องด้วยบทบัญญัติมาตรา 208 อันจะควรรับไว้พิจารณา
คำขอให้พิจารณาคดีใหม่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 208 ต้องกล่าวโดยละเอียดชัดแจ้งซึ่งเหตุที่คู่ความได้ขาดนัดและข้อคัดค้านคำตัดสินชี้ขาดของศาลหากคำขอของจำเลยมิได้มีข้อคัดค้านคำตัดสินชี้ขาดของศาลโดยละเอียดชัดแจ้งก็ไม่ต้องด้วยบทบัญญัติมาตรา 208 อันจะควรรับไว้พิจารณา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 166/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การลงโทษปรับในความผิดตาม พ.ร.บ.ศุลกากร: ปรับรวมหรือปรับเรียงรายตัวบุคคล
(1) การที่พระราชบัญญัติศุลกากร (ฉบับที่ 11) พ.ศ.2490 มาตรา 3 บัญญัติว่า 'สำหรับความผิดครั้งหนึ่งๆ ให้ปรับเป็นเงินสี่เท่าราคาของซึ่งได้รวมค่าอากรเข้าด้วย' นั้น ก็เพราะมุ่งหมายให้ลงโทษปรับผู้กระทำผิดครั้งหนึ่งๆ เป็นเงินสี่เท่าราคาของรวมทั้งค่าอากรด้วย โดยไม่ต้องให้คำนึงว่าจะมีผู้ร่วมกระทำผิดด้วยหลายคนหรือไม่
(2) โดยที่พระราชบัญญัติศุลกากรมีความมุ่งหมายดังกล่าวนี้เองจึงต้องถือว่าพระราชบัญญัติศุลกากรนี้ได้บัญญัติถึงวิธีการลงโทษปรับผู้กระทำผิดไว้เป็นอย่างอื่นตามความในมาตรา 17 ประมวลกฎหมายอาญาแล้ว เพราะฉะนั้นจะนำเอามาตรา 31 แห่งประมวลกฎหมายอาญามาใช้แก่ผู้กระทำผิดตามพระราชบัญญัติศุลกากรไม่ได้กล่าวคือ จะปรับเรียงตัวผู้กระทำผิดไม่ได้
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 30/2507)
(2) โดยที่พระราชบัญญัติศุลกากรมีความมุ่งหมายดังกล่าวนี้เองจึงต้องถือว่าพระราชบัญญัติศุลกากรนี้ได้บัญญัติถึงวิธีการลงโทษปรับผู้กระทำผิดไว้เป็นอย่างอื่นตามความในมาตรา 17 ประมวลกฎหมายอาญาแล้ว เพราะฉะนั้นจะนำเอามาตรา 31 แห่งประมวลกฎหมายอาญามาใช้แก่ผู้กระทำผิดตามพระราชบัญญัติศุลกากรไม่ได้กล่าวคือ จะปรับเรียงตัวผู้กระทำผิดไม่ได้
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 30/2507)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1121/2507
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การใช้ประโยชน์ที่สาธารณะและการรอนสิทธิของเจ้าของที่ดินริมน้ำ การปลูกสร้างกีดขวางเป็นเหตุให้เจ้าของที่ดินมีสิทธิฟ้องร้อง
ที่ดินที่จำเลยปลูกเรือนแพอยู่อาศัยเป็นที่สาธารณประโยชน์เรือนแพของจำเลยอยู่ตรงหน้าที่ดินของโจทก์และใกล้ที่ดินของโจทก์ เห็นได้ว่าโจทก์ได้รับความเสียหายโดยตรงจากการที่จำเลยใช้ที่สาธารณประโยชน์ตรงหน้าที่ดินของโจทก์ จำเลยไม่มีสิทธิปลูกสร้างกีดขวางการใช้ที่สาธารณประโยชน์หน้าที่ดินของโจทก์ โจทก์ฟ้องขับไล่จำเลยได้
โจทก์จำเลยจะทำสัญญาเช่าสาธารณสมบัติของแผ่นดินมิได้ แต่โจทก์อาจจะยินยอมให้จำเลยทำการกีดขวางหน้าที่ดินของโจทก์ได้ และจะตกลงให้สินจ้างแลกเปลี่ยนในการที่โจทก์ยอมสละความสะดวกของตนก็ได้ แต่มิใช่เป็นการเช่า แม้จำเลยจะเคยเช่าที่ดินตรงที่ปลูกเรือนพิพาท เมื่อโจทก์บอกเลิกการเช่าและไม่ยินยอมให้เรือนพิพาทกีดขวางหน้าที่ดินต่อไปจำเลยจะอ้างความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าในภาวะคับขันฯ ไม่ได้ จำเลยต้องรื้อเรือนพิพาทออกไป
โจทก์จำเลยจะทำสัญญาเช่าสาธารณสมบัติของแผ่นดินมิได้ แต่โจทก์อาจจะยินยอมให้จำเลยทำการกีดขวางหน้าที่ดินของโจทก์ได้ และจะตกลงให้สินจ้างแลกเปลี่ยนในการที่โจทก์ยอมสละความสะดวกของตนก็ได้ แต่มิใช่เป็นการเช่า แม้จำเลยจะเคยเช่าที่ดินตรงที่ปลูกเรือนพิพาท เมื่อโจทก์บอกเลิกการเช่าและไม่ยินยอมให้เรือนพิพาทกีดขวางหน้าที่ดินต่อไปจำเลยจะอ้างความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าในภาวะคับขันฯ ไม่ได้ จำเลยต้องรื้อเรือนพิพาทออกไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1121/2507 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การใช้ประโยชน์ที่ดินสาธารณะประโยชน์ การกีดขวางการใช้ประโยชน์ที่ดินของผู้อื่น และสิทธิในการรื้อถอนสิ่งปลูกสร้าง
ที่ดินที่จำเลยปลูกเรือนแพอยู่อาศัยเป็นที่สาธารณประโยชน์ เรือนแพของจำเลยอยู่ตรงหน้าที่ดินของโจทก์และใกล้ที่ดินของโจทก์ เห็นได้ว่าโจทก์ได้รับความเสียหายโดยตรงจากการที่จำเลยใช้ที่สาธารณะประโยชน์ตรงหน้าที่ดินของโจทก์จำเลยไม่มีสิทธิปลูกสร้างกีดขวางการใช้ที่สาธารณประโยชน์หน้าที่ดินของโจทก์ โจทก์ฟ้องขับไล่จำเลยได้
โจทก์จำเลยจะทำสัญญาเช่าสาธารณสมบัติของแผ่นดินมิได้ แต่โจทก์อาจจะยินยอมให้จำเลยทำการกีดขวางหน้าที่ดินของโจทก์ได้ และจะตกลงให้สินจ้างแลกเปลี่ยนในการที่โจทก์ยอมสละความสะดวกของตนก็ได้ แต่มิใช่เป็นการเช่า แม้จำเลยจะเคยเช่าที่ดินตรงที่ปลูกเรือนพิพาท เมื่อโจทก์บอกเลิกการเช่าและไม่ยินยอมให้เรือนพิพาทกีดขวางหน้าที่ดินต่อไป จำเลยจะอ้างความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าในภาวะคับขันฯไม่ได้ จำเลยต้องรื้อเรือนพิพาทออกไป
โจทก์จำเลยจะทำสัญญาเช่าสาธารณสมบัติของแผ่นดินมิได้ แต่โจทก์อาจจะยินยอมให้จำเลยทำการกีดขวางหน้าที่ดินของโจทก์ได้ และจะตกลงให้สินจ้างแลกเปลี่ยนในการที่โจทก์ยอมสละความสะดวกของตนก็ได้ แต่มิใช่เป็นการเช่า แม้จำเลยจะเคยเช่าที่ดินตรงที่ปลูกเรือนพิพาท เมื่อโจทก์บอกเลิกการเช่าและไม่ยินยอมให้เรือนพิพาทกีดขวางหน้าที่ดินต่อไป จำเลยจะอ้างความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าในภาวะคับขันฯไม่ได้ จำเลยต้องรื้อเรือนพิพาทออกไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1097/2507 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นสั่งรื้อถอนอาคารไม่มั่นคงแข็งแรง และความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์
เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นมีอำนาจสั่งให้เจ้าของอาคารรื้อถอนอาคารที่นายช่างตรวจพบว่าไม่มั่นคงแข็งแรงหรือไม่ปลอดภัยได้ หากเจ้าของอาคารไม่ปฏิบัติตามหรือไม่อุทธรณ์คำสั่งต่อคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์เกี่ยวแก่การก่อสร้างอาคารภายใน 15 วัน เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นก็มีอำนาจรื้อถอนอาคารนั้นได้ ตามพระราชบัญญัติควบคุมการก่อสร้างอาคาร พ.ศ.2478 มาตรา 11 ทวิ วรรค 3 การที่เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นรื้อถอนอาคาร จึงเป็นการปฏิบัติตามอำนาจหน้าที่โดยชอบ ไม่มีมูลเป็นความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์
ความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 358 นั้น หมายถึงการกระทำแก่ตัวทรัพย์ให้เสียหายฯ เช่น รื้อถอนตึกแถวลง ย่อมเป็นการการกระทำแก่ตัวทรัพย์ ทำให้ตึกแถวถูกทำลายเสียหาย แต่เมื่อรื้อแล้ว ไม่นำวัตถุก่อสร้างไปมอบเจ้าของจนวัตก่อสร้างสูญหายไปนั้น หาใช่เป็นการกระทำแก่ตัวทรัพย์ไม่ จึงไม่เป็นความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์
ความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 358 นั้น หมายถึงการกระทำแก่ตัวทรัพย์ให้เสียหายฯ เช่น รื้อถอนตึกแถวลง ย่อมเป็นการการกระทำแก่ตัวทรัพย์ ทำให้ตึกแถวถูกทำลายเสียหาย แต่เมื่อรื้อแล้ว ไม่นำวัตถุก่อสร้างไปมอบเจ้าของจนวัตก่อสร้างสูญหายไปนั้น หาใช่เป็นการกระทำแก่ตัวทรัพย์ไม่ จึงไม่เป็นความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1097/2507
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจสั่งรื้อถอนอาคารของเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นและการไม่เป็นความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์
เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นมีอำนาจสั่งให้เจ้าของอาคารรื้อถอนอาคารที่นายช่างตรวจพบว่าไม่มั่นคงแข็งแรงหรือไม่ปลอดภัยได้ หากเจ้าของอาคารไม่ปฏิบัติตามหรือไม่อุทธรณ์คำสั่งต่อคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์เกี่ยวแก่การก่อสร้างอาคารภายใน 15 วัน เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นก็มีอำนาจรื้อถอนอาคารนั้นได้ ตามพระราชบัญญัติควบคุมการก่อสร้างอาคาร พ.ศ.2479 มาตรา11 ทวิ วรรคสาม การที่เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นรื้อถอนอาคารจึงเป็นการปฏิบัติตามอำนาจหน้าที่โดยชอบ ไม่มีมูลเป็นความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์
ความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 358นั้น หมายถึงการกระทำแก่ตัวทรัพย์ให้เสียหายฯ เช่นรื้อถอนตึกแถวลง ย่อมเป็นการกระทำแก่ตัวทรัพย์ ทำให้ตึกแถวถูกทำลายเสียหาย แต่เมื่อรื้อแล้ว ไม่นำวัตถุก่อสร้างไปมอบเจ้าของจนวัตถุก่อสร้างสูญหายไปนั้นหาใช่เป็นการกระทำแก่ตัวทรัพย์ไม่ จึงไม่เป็นความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์
ความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 358นั้น หมายถึงการกระทำแก่ตัวทรัพย์ให้เสียหายฯ เช่นรื้อถอนตึกแถวลง ย่อมเป็นการกระทำแก่ตัวทรัพย์ ทำให้ตึกแถวถูกทำลายเสียหาย แต่เมื่อรื้อแล้ว ไม่นำวัตถุก่อสร้างไปมอบเจ้าของจนวัตถุก่อสร้างสูญหายไปนั้นหาใช่เป็นการกระทำแก่ตัวทรัพย์ไม่ จึงไม่เป็นความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1096/2507
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การชำระหนี้เช็คหลังธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน: การเริ่มนับระยะเวลาตามมาตรา 5
เมื่อธนาคารปฏิเสธไม่จ่ายเงินตามเช็คของจำเลย การการกระทำของจำเลยย่อมเป็นผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คฯ มาตรา 3 แล้วจำเลยจะมีทางพ้นผิดได้ต่อเมื่อได้ปฏิบัติตามมาตรา 5ซึ่งบัญญัติให้ผู้กระทำผิดนำเงินไปชำระแก่ผู้ทรงเช็คภายในกำหนด 7 วัน นับแต่วันที่ธนาคารบอกกล่าวแก่ผู้ออกเช็คได้รับทราบว่าธนาคารปฏิเสธไม่จ่ายเงิน เมื่อทางพิจารณาฟังได้ว่า ธนาคารมิได้บอกกล่าวให้จำเลยผู้ออกเช็คได้รับทราบว่าธนาคารปฏิเสธไม่จ่ายเงิน กับกรณีเรื่องนี้ถือได้ว่าจำเลยได้ชำระเงินแก่ผู้ทรงเช็คแล้ว และการชำระเงินก็ยังไม่พ้นกำหนดเวลาดังระบุไว้ในมาตรา 5 เพราะธนาคารไม่ได้บอกกล่าวแก่จำเลยให้ทราบว่าธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน จึงยังไม่อาจเริ่มนับระยะเวลาและเมื่อไม่อาจเริ่มนับระยะเวลา จึงไม่มีทางจะถือว่าพ้นกำหนดเวลาที่กำหนดไว้ได้ คดีจึงเป็นอันเลิกกัน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1096/2507 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การชำระเงินหลังธนาคารปฏิเสธเช็ค: การเริ่มนับระยะเวลาตามมาตรา 5 แห่ง พ.ร.บ.เช็ค
เมื่อธนาคารปฏิเสธไม่จ่ายเงินตามเช็คของจำเลย การกระทำของจำเลยย่อมเป็นผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คฯ มาตรา 3แล้ว จำเลยจะมีทางพ้นผิดได้ต่อเมื่อได้ปฏิบัติตามมาตรา 5 เมื่อทางพิจารณาฟังได้ว่าธนาคารมิได้บอกกล่าวให้จำเลยผู้ออกเช็คได้รับทราบว่าวธนาคารปฏิเสธไม่จ่ายเงิน กับกรณีเรื่องนี้ถือได้ว่าจำเลยได้ชำระเงินแก่ผู้ทรงเช็คแล้ว และการชำระเงินก็ยังไม่พ้นกำหนดเวลาดังระบุไว้ในมาตรา 5 เพราะธนาคารไม่ได้บอกกล่าวแก่จำเลยให้ทราบว่าธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน จึงยังไม่อาจเริ่มนับระยะเวลา และเมื่อไม่อาจเริ่มนับระยะเวลา จึงไม่มีทางจะถือว่าพ้นกำหนดเวลาที่กำหนดไว้ได้ คดีจึงเป็นอันเลิกกัน พิพากษายกฟ้องโจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1072/2507
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิสูจน์ความจริงในคดีหมิ่นประมาท: ประโยชน์ต่อประชาชนและความบริสุทธิ์ของพุทธศาสนา
โจทก์เป็นเจ้าคณะอำเภอ ฟ้องหาว่าจำเลยกล่าวคำหมิ่นประมาทใส่ความว่าโจทก์เข้าหานางชีที่ห้องวิปัสสนา เป็นเหตุให้โจทก์เสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่นเกลียดชัง นั้น จำเลยขอพิสูจน์ความจริงได้ เพราะการพิสูจน์ความจริงของจำเลยย่อมเป็นประโยชน์แก่ประชาชน เนื่องจากประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ผู้เป็นศาสนิกชนย่อมหวงแหนที่จะมิให้ผู้ใดมาทำลายหรือทำความมัวหมองให้แก่พุทธศาสนาที่ตนนับถือ ยิ่งเมื่อจำเลยมาพิสูจน์ความจริงให้ประจักษ์ต่อศาลได้ ก็เป็นประโยชน์แก่คนทั่วไปที่จะได้ไม่มัวหลงเคารพเลื่อมใสโจทก์ต่อไป(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 24/2507)