พบผลลัพธ์ทั้งหมด 1,016 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 91/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การใช้ให้ผู้อื่นกระทำผิดและขัดขวางเจ้าพนักงาน ศาลฎีกามีอำนาจปรับบทและกำหนดโทษตามความเหมาะสม
ขณะที่ตำรวจเข้าจับกุมและแย่งปืนกับจำเลยที่ 1 อยู่นั้น จำเลยที่ 2 เข้าช่วยแย่งปืนจากตำรวจ เมื่อตำรวจจับจำเลยที่ 2 ได้จำเลยที่ 2 ได้ร้องบอกให้จำเลยที่ 1 ขว้างระเบิดมือใส่ตำรวจดังนี้ จำเลยที่ 2 มีความผิดฐานต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงานกระทงหนึ่ง และใช้ให้ฆ่าเจ้าพนักงานอีกกระทงหนึ่ง
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยที่ 2 บอกให้จำเลยที่ 1 เอาลูกระเบิดมือขว้างเจ้าพนักงาน ก็เท่ากับโจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยที่ 2 ใช้ให้จำเลยที่ 1 เอาลูกระเบิดมือขว้างเจ้าพนักงานเพื่อจะฆ่าให้ตาย (แม้โจทก์จะไม่ได้อ้างมาตรา 84 มาในคำขอท้ายฟ้องก็ตาม)ถือได้ว่าโจทก์ประสงค์ให้ลงโทษจำเลยที่ 2 ฐานเป็นผู้ใช้แล้ว
จำเลยที่ 2 ให้จำเลยที่ 1 ฆ่าเจ้าพนักงาน แต่จำเลยที่ 1 ไม่กระทำตามจำเลยที่ 2 จึงมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 289 ประกอบด้วยมาตรา 84 วรรค 2 ซึ่งต้องระวางโทษ 1 ใน 3 ของโทษประหารชีวิตกฎหมายไม่ได้บัญญัติโทษ 1 ใน 3 ของโทษประหารชีวิตไว้ จึงต้องนำประมวลกฎหมายอาญามาตรา 52(1) มาใช้เป็นหลักในการกำหนดโทษ กล่าวคือ ให้ลดโทษประหารชีวิตเสีย 1 ใน 3 ก่อน คงเหลือโทษเพียง 2 ใน 3 โดยให้จำคุกขั้นต่ำ 16 ปี แล้วคำนวณเอาเพียงครึ่งหนึ่งของอัตราโทษ 2 ใน 3 ผลลัพธ์ก็คือ ลงโทษจำคุกจำเลยมีกำหนด 8 ปี
โจทก์ไม่ได้ฎีกาในทำนองขอให้เพิ่มโทษ ศาลฎีกาจะพิพากษาเพิ่มโทษจำเลยให้หนักขึ้นหาได้ไม่
ศาลล่างปรับบทกฎหมายไม่ถูกต้อง แม้โจทก์จะไม่ได้ฎีกาขึ้นมาก็ตามศาลฎีกามีอำนาจพิพากษาปรับบทกฎหมายให้ถูกต้องได้
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 30/2509)
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยที่ 2 บอกให้จำเลยที่ 1 เอาลูกระเบิดมือขว้างเจ้าพนักงาน ก็เท่ากับโจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยที่ 2 ใช้ให้จำเลยที่ 1 เอาลูกระเบิดมือขว้างเจ้าพนักงานเพื่อจะฆ่าให้ตาย (แม้โจทก์จะไม่ได้อ้างมาตรา 84 มาในคำขอท้ายฟ้องก็ตาม)ถือได้ว่าโจทก์ประสงค์ให้ลงโทษจำเลยที่ 2 ฐานเป็นผู้ใช้แล้ว
จำเลยที่ 2 ให้จำเลยที่ 1 ฆ่าเจ้าพนักงาน แต่จำเลยที่ 1 ไม่กระทำตามจำเลยที่ 2 จึงมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 289 ประกอบด้วยมาตรา 84 วรรค 2 ซึ่งต้องระวางโทษ 1 ใน 3 ของโทษประหารชีวิตกฎหมายไม่ได้บัญญัติโทษ 1 ใน 3 ของโทษประหารชีวิตไว้ จึงต้องนำประมวลกฎหมายอาญามาตรา 52(1) มาใช้เป็นหลักในการกำหนดโทษ กล่าวคือ ให้ลดโทษประหารชีวิตเสีย 1 ใน 3 ก่อน คงเหลือโทษเพียง 2 ใน 3 โดยให้จำคุกขั้นต่ำ 16 ปี แล้วคำนวณเอาเพียงครึ่งหนึ่งของอัตราโทษ 2 ใน 3 ผลลัพธ์ก็คือ ลงโทษจำคุกจำเลยมีกำหนด 8 ปี
โจทก์ไม่ได้ฎีกาในทำนองขอให้เพิ่มโทษ ศาลฎีกาจะพิพากษาเพิ่มโทษจำเลยให้หนักขึ้นหาได้ไม่
ศาลล่างปรับบทกฎหมายไม่ถูกต้อง แม้โจทก์จะไม่ได้ฎีกาขึ้นมาก็ตามศาลฎีกามีอำนาจพิพากษาปรับบทกฎหมายให้ถูกต้องได้
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 30/2509)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 91/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การใช้ให้ผู้อื่นกระทำความผิดทางอาญา แม้ผู้อื่นไม่ลงมือทำ ผู้ใช้ก็มีความผิดตามกฎหมาย
ขณะที่ตำรวจเข้าจับกุมและแย่งปืนกับจำเลยที่ 1 อยู่นั้น จำเลยที่ 2 เข้าช่วยแย่งปืนจากตำรวจ เมื่อตำรวจจับจำเลยที่ 2 ได้จำเลยที่ 2 ได้ร้องบอกให้จำเลยที่ 1 ขว้างระเบิดมือใส่ตำรวจ ดังนี้ จำเลยที่ 2 มีความผิดฐานต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงานกระทงหนึ่ง และใช้ให้ฆ่าเจ้าพนักงานอีกกระทงหนึ่ง
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยที่ 2 บอกให้จำเลยที่ 1 เอาลูกระเบิดมือขว้างเจ้าพนักงาน ก็เท่ากับโจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยที่ 2 ใช้ให้จำเลยที่ 1 เอาลูกระเบิดขว้างเจ้าพนักงานเพื่อจะฆ่าให้ตาย (แม้โจทก์จะไม่ได้อ้างมาตรา 84 มาในคำขอท้ายฟ้องก็ตาม) ถือได้ว่าโจทก์ประสงค์ให้ลงโทษจำเลยที่ 2 ฐานเป็นผู้ใช้แล้ว
จำเลยที่ 2 ให้จำเลยที่ 1 ฆ่าเจ้าพนักงาน แต่จำเลยที่ 1 ไม่กระทำตามจำเลยที่ 2 จึงมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 289 ประกอบด้วยมาตรา 84 วรรค 2 ซึ่งต้องระวางโทษ 1 ใน 3 ของโทษประหารชีวิต กฎหมายไม่ได้บัญญัติโทษ 1 ใน 3 ของโทษประหารชีวิตไว้ จึงต้องนำประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 52 (1) มาใช้เป็นหลักฐานในการกำหนดโทษ กล่าวคือ ให้ลดโทษประหารชีวิตเสีย 1 ใน 3 ก่อน คงเหลือโทษเพียง 2 ใน 3 โดยให้จำคุกขั้นต่ำ 16 ปี แล้วคำนวณเอาเพียงครึ่งหนึ่งของอัตราโทษ 2 ใน 3 ผลลัพธ์ก็คือ ลงโทษจำคุกจำเลยมีกำหนด 8 ปี
โจทก์ไม่ได้ฎีกาในทำนองขอให้เพิ่มโทษ ศาลฎีกาจะพิพากษาเพิ่มโทษจำเลยให้หนักขึ้นหาได้ไม่
ศาลล่างปรับบทกฎหมายไม่ถูกต้อง แม้โจทก์จะไม่ได้ฎีกาขึ้นมาก็ตาม ศาลฎีกามีอำนาจพิพากษาปรับบทกฎหมายให้ถูกต้องได้
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 30/2509)
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยที่ 2 บอกให้จำเลยที่ 1 เอาลูกระเบิดมือขว้างเจ้าพนักงาน ก็เท่ากับโจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยที่ 2 ใช้ให้จำเลยที่ 1 เอาลูกระเบิดขว้างเจ้าพนักงานเพื่อจะฆ่าให้ตาย (แม้โจทก์จะไม่ได้อ้างมาตรา 84 มาในคำขอท้ายฟ้องก็ตาม) ถือได้ว่าโจทก์ประสงค์ให้ลงโทษจำเลยที่ 2 ฐานเป็นผู้ใช้แล้ว
จำเลยที่ 2 ให้จำเลยที่ 1 ฆ่าเจ้าพนักงาน แต่จำเลยที่ 1 ไม่กระทำตามจำเลยที่ 2 จึงมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 289 ประกอบด้วยมาตรา 84 วรรค 2 ซึ่งต้องระวางโทษ 1 ใน 3 ของโทษประหารชีวิต กฎหมายไม่ได้บัญญัติโทษ 1 ใน 3 ของโทษประหารชีวิตไว้ จึงต้องนำประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 52 (1) มาใช้เป็นหลักฐานในการกำหนดโทษ กล่าวคือ ให้ลดโทษประหารชีวิตเสีย 1 ใน 3 ก่อน คงเหลือโทษเพียง 2 ใน 3 โดยให้จำคุกขั้นต่ำ 16 ปี แล้วคำนวณเอาเพียงครึ่งหนึ่งของอัตราโทษ 2 ใน 3 ผลลัพธ์ก็คือ ลงโทษจำคุกจำเลยมีกำหนด 8 ปี
โจทก์ไม่ได้ฎีกาในทำนองขอให้เพิ่มโทษ ศาลฎีกาจะพิพากษาเพิ่มโทษจำเลยให้หนักขึ้นหาได้ไม่
ศาลล่างปรับบทกฎหมายไม่ถูกต้อง แม้โจทก์จะไม่ได้ฎีกาขึ้นมาก็ตาม ศาลฎีกามีอำนาจพิพากษาปรับบทกฎหมายให้ถูกต้องได้
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 30/2509)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 70/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การริบรถยนต์ของกลางในคดีศุลกากร: ศาลใช้บทบัญญัติประมวลกฎหมายอาญามาตรา 33 ได้ แม้โจทก์มิได้อ้าง
คำขอท้ายฟ้องโจทก์อ้างว่า จำเลยกระทำผิดตามพระราชบัญญัติศุลกากร (ฉบับที่ 13) พ.ศ. 2499 มาตรา 4 นั้น เมื่อมาตรา 4 บัญญัติให้เพิ่มความเป็นมาตรา 27 ทวิ ก็เท่ากับโจทก์อ้างและขอให้ลงโทษตามความในมาตรา 4 คือ มาตรา 27 ทวิแล้ว
การกระทำของจำเลยผิดพระราชบัญญัติศุลกากร ฯ มาตรา 27 ทวิ โทษเบากว่ามาตรา 27 และมาตรา 27 ทวิ เพิ่งบัญญัติขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2499 กับความผิดตามมาตรา 27 ทวิ นี้ไม่เป็นผิดตามมาตรา 27 ส่วนพระราชบัญญัติศุลกากรฯ มาตรา 32 ก็ให้ริบทรัพย์ซึ่งเป็นความผิดพระราชบัญญัติศุลกากรซึ่งใช้บังคับในขณะนั้น ที่ประชุมใหญ่เห็นว่าจะริบรถยนต์ของกลางตามพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469 มาตรา 32 ไม่ได้ แต่ริบตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 33 ได้ แม้โจทก์ไม่ได้อ้างมาตรา 33 แต่ก็ขอให้ริบรถยนต์ของกลางมาแล้ว ศาลจึงริบตามบทกฎหมายที่ถูกต้องได้
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 2/2510)
การกระทำของจำเลยผิดพระราชบัญญัติศุลกากร ฯ มาตรา 27 ทวิ โทษเบากว่ามาตรา 27 และมาตรา 27 ทวิ เพิ่งบัญญัติขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2499 กับความผิดตามมาตรา 27 ทวิ นี้ไม่เป็นผิดตามมาตรา 27 ส่วนพระราชบัญญัติศุลกากรฯ มาตรา 32 ก็ให้ริบทรัพย์ซึ่งเป็นความผิดพระราชบัญญัติศุลกากรซึ่งใช้บังคับในขณะนั้น ที่ประชุมใหญ่เห็นว่าจะริบรถยนต์ของกลางตามพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469 มาตรา 32 ไม่ได้ แต่ริบตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 33 ได้ แม้โจทก์ไม่ได้อ้างมาตรา 33 แต่ก็ขอให้ริบรถยนต์ของกลางมาแล้ว ศาลจึงริบตามบทกฎหมายที่ถูกต้องได้
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 2/2510)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 70/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การริบรถยนต์ของกลางในคดีศุลกากร: ศาลฎีกาพิจารณาความผิดตามมาตรา 27 ทวิ และอำนาจริบตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 33
คำขอท้ายฟ้องโจทก์อ้างว่า จำเลยกระทำผิดตามพระราชบัญญัติศุลกากร (ฉบับที่ 13) พ.ศ. 2499 มาตรา 4 นั้นเมื่อมาตรา 4 บัญญัติให้เพิ่มความเป็นมาตรา 27 ทวิ ก็เท่ากับโจทก์อ้างและขอให้ลงโทษตามความในมาตรา 4 คือ มาตรา 27 ทวิแล้ว
การกระทำของจำเลยผิดพระราชบัญญัติศุลกากรฯ มาตรา 27 ทวิโทษเบากว่ามาตรา 27 และมาตรา 27 ทวิ เพิ่งบัญญัติขึ้นเมื่อพ.ศ. 2499 กับความผิดตามมาตรา 27 ทวิ นี้ไม่เป็นผิดตามมาตรา 27ส่วนพระราชบัญญัติศุลกากรฯ มาตรา 32 ก็ให้ริบทรัพย์ซึ่งเป็นความผิดพระราชบัญญัติศุลกากรซึ่งใช้บังคับในขณะนั้นที่ประชุมใหญ่เห็นว่าจะริบรถยนต์ของกลางตามพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469 มาตรา 32 ไม่ได้แต่ริบตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 33 ได้แม้โจทก์ไม่ได้อ้างมาตรา 33 แต่ก็ขอให้ริบรถยนต์ของกลางมาแล้ว ศาลจึงริบตามบทกฎหมายที่ถูกต้องได้ (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 2/2510)
การกระทำของจำเลยผิดพระราชบัญญัติศุลกากรฯ มาตรา 27 ทวิโทษเบากว่ามาตรา 27 และมาตรา 27 ทวิ เพิ่งบัญญัติขึ้นเมื่อพ.ศ. 2499 กับความผิดตามมาตรา 27 ทวิ นี้ไม่เป็นผิดตามมาตรา 27ส่วนพระราชบัญญัติศุลกากรฯ มาตรา 32 ก็ให้ริบทรัพย์ซึ่งเป็นความผิดพระราชบัญญัติศุลกากรซึ่งใช้บังคับในขณะนั้นที่ประชุมใหญ่เห็นว่าจะริบรถยนต์ของกลางตามพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469 มาตรา 32 ไม่ได้แต่ริบตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 33 ได้แม้โจทก์ไม่ได้อ้างมาตรา 33 แต่ก็ขอให้ริบรถยนต์ของกลางมาแล้ว ศาลจึงริบตามบทกฎหมายที่ถูกต้องได้ (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 2/2510)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 55/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเป็นผู้นำจับตาม พ.ร.บ.การพนัน: การแจ้งเบาะแสที่ระบุตัวผู้กระทำผิดและสถานที่ ถือเป็นผู้นำจับได้
ในคดีที่เจ้าพนักงานตำรวจซึ่งเป็นพยานโจทก์เบิกความว่า ผู้ประสงค์เงินสินบนนำจับมาแจ้งว่า ที่บ้านจำเลยลักลอบเล่นการพนันได้ระบุถึงผู้เล่นและเล่นอยู่ตรงไหนของตัวบ้าน เจ้าพนักงานตำรวจอีกผู้หนึ่งก็ได้สอบถามผู้มาแจ้งตามข้อเท็จจริง เช่นนี้ถือได้ว่าผู้ที่มาแจ้ง นั้นเป็นผู้นำจับตามความในพระราชบัญญัติการพนันแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 55/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจ่ายสินบนนำจับคดีการพนัน: ผู้แจ้งความที่ระบุรายละเอียดผู้เล่นและสถานที่ ถือเป็นผู้นำจับ
ในคดีที่เจ้าพนักงานตำรวจซึ่งเป็นพยานโจทก์เบิกความว่า ผู้ประสงค์เงินสินบนนำจับมาแจ้งว่าที่บ้านจำเลยลักลอบเล่นการพนัน ได้ระบุถึงผู้เล่นและเล่นอยู่ตรงไหนของตัวบ้าน เจ้าพนักงานตำรวจอีกผู้หนึ่งก็ได้สอบถามผู้มาแจ้ง ตามข้อเท็จจริงเช่นนี้ถือได้ว่าผู้ที่มาแจ้งนั้นเป็นผู้นำจับตามความในพระราชบัญญัติการพนันแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 46/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเช่าพื้นที่เก็บสินค้าไม่เป็นที่อยู่อาศัย ไม่อยู่ภายใต้ พ.ร.บ.ควบคุมการเช่าเคหะฯ โจทก์มีสิทธิฟ้องขับไล่
จำเลยเช่าห้องพิพาทใช้เป็นที่เก็บสินค้าและสัมภาระซึ่งมีไว้ขาย แม้จะมีบริวารของจำเลยหลับนอนในห้องพิพาทก็เพื่อเฝ้าดูแลรักษาสินค้า เพื่อประโยชน์ในทางการค้าของจำเลย ห้องพิพาทจึงไม่เป็นที่อยู่อาศัย จำเลยจึงไม่ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติควบคุมการเช่าเคหะและที่ดิน พ.ศ. 2504
โจทก์ฟ้องขอให้ขับไล่จำเลยอ้างว่าอาศัย แต่เท็จจริงฟังได้ว่าจำเลยเช่าแต่ไม่ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติควบคุมการเช่าเคหะและที่ดิน พ.ศ. 2504 ดังนี้ แม้โจทก์จะกล่าวถึงมูลกรณีเดิมว่าจำเลยเข้าอยู่ทีแรกโดยการเช่าหรืออาศัยก็ตาม ก็เป็นเพียงการกล่าวถึงมูลกรณีเดิมซึ่งไม่ใช่สารสำคัญ เพราะจำเลยจะอยู่โดยการเช่าหรืออาศัยโจทก์ก็ได้บอกกล่าวให้จำเลยออกจากห้องพิพาทโดยชอบด้วยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 566 แล้ว แสดงว่าการเช่าหรือการอาศัยสิ้นสุดแล้ว การอยู่ต่อมาจึงเป็นการละเมิด การที่ศาลพิพากษาขับไล่จำเลยจึงไม่เป็นการนอกฟ้องนอกประเด็น
จำเลยมีหน้าที่นำสืบก่อน ในวันนัดสืบพยานจำเลยโจทก์ไม่มาศาล ศาลสั่งว่าโจทก์ขาดนัดพิจารณาและดำเนินการสืบพยานจำเลยได้ 1 ปาก จำเลยขอเลื่อนไป ถึงวันนัดสืบพยานจำเลยนัดต่อมา โจทก์มาศาล ถือว่าโจทก์มาศาลเมื่อยังไม่พ้นเวลาที่โจทก์จะนำพยานของตนเข้าสืบตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 204 วรรค 3 อนุมาตรา (1) เพราะจำเลยยังสืบพยานไม่หมด โจทก์จึงมีสิทธินำพยานของตนเข้าสืบ ตลอดจนระบุอ้างพยานหลักฐานเพิ่มเติมได้ (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 3/2510)
โจทก์ฟ้องขอให้ขับไล่จำเลยอ้างว่าอาศัย แต่เท็จจริงฟังได้ว่าจำเลยเช่าแต่ไม่ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติควบคุมการเช่าเคหะและที่ดิน พ.ศ. 2504 ดังนี้ แม้โจทก์จะกล่าวถึงมูลกรณีเดิมว่าจำเลยเข้าอยู่ทีแรกโดยการเช่าหรืออาศัยก็ตาม ก็เป็นเพียงการกล่าวถึงมูลกรณีเดิมซึ่งไม่ใช่สารสำคัญ เพราะจำเลยจะอยู่โดยการเช่าหรืออาศัยโจทก์ก็ได้บอกกล่าวให้จำเลยออกจากห้องพิพาทโดยชอบด้วยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 566 แล้ว แสดงว่าการเช่าหรือการอาศัยสิ้นสุดแล้ว การอยู่ต่อมาจึงเป็นการละเมิด การที่ศาลพิพากษาขับไล่จำเลยจึงไม่เป็นการนอกฟ้องนอกประเด็น
จำเลยมีหน้าที่นำสืบก่อน ในวันนัดสืบพยานจำเลยโจทก์ไม่มาศาล ศาลสั่งว่าโจทก์ขาดนัดพิจารณาและดำเนินการสืบพยานจำเลยได้ 1 ปาก จำเลยขอเลื่อนไป ถึงวันนัดสืบพยานจำเลยนัดต่อมา โจทก์มาศาล ถือว่าโจทก์มาศาลเมื่อยังไม่พ้นเวลาที่โจทก์จะนำพยานของตนเข้าสืบตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 204 วรรค 3 อนุมาตรา (1) เพราะจำเลยยังสืบพยานไม่หมด โจทก์จึงมีสิทธินำพยานของตนเข้าสืบ ตลอดจนระบุอ้างพยานหลักฐานเพิ่มเติมได้ (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 3/2510)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 46/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเช่าห้องเพื่อเก็บสินค้า ไม่ถือเป็นที่อยู่อาศัย จึงไม่ได้รับความคุ้มครองตาม พ.ร.บ.ควบคุมการเช่าเคหะ
จำเลยเช่าห้องพิพาทใช้เป็นที่เก็บสินค้าและสัมภาระซึ่งมีไว้ขายแม้จะมีบริวารของจำเลยหลับนอนในห้องพิพาทก็เพื่อเฝ้าดูแลรักษาสินค้าเพื่อประโยชน์ในทางการค้าของจำเลยห้องพิพาทจึงไม่เป็นที่อยู่อาศัยจำเลยจึงไม่ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติควบคุมการเช่าเคหะและที่ดิน พ.ศ. 2504
โจทก์ฟ้องขอให้ขับไล่จำเลยอ้างว่าอาศัยแต่ข้อเท็จจริงฟังได้ว่าจำเลยเช่าแต่ไม่ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติ ควบคุมการเช่าเคหะและที่ดิน พ.ศ. 2504 ดังนี้แม้โจทก์จะกล่าวถึงมูลกรณีเดิมว่าจำเลยเข้าอยู่ทีแรกโดยการเช่าหรืออาศัยก็ตาม ก็เป็นเพียงการกล่าวถึงมูลกรณีเดิมซึ่งไม่ใช่สารสำคัญเพราะจำเลย จะอยู่โดยการเช่าหรืออาศัยโจทก์ก็ได้บอกกล่าวให้จำเลยออกจาก ห้องพิพาทโดยชอบด้วยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 566 แล้ว แสดงว่าการเช่าหรือการอาศัยสิ้นสุดแล้วการอยู่ต่อมาจึงเป็น การละเมิด การที่ศาลพิพากษาขับไล่จำเลยจึงไม่เป็นการนอกฟ้องนอกประเด็น
จำเลยมีหน้าที่นำสืบก่อนในวันนัดสืบพยานจำเลยโจทก์ไม่มาศาล ศาลสั่งว่าโจทก์ขาดนัดพิจารณาและดำเนินการสืบพยานจำเลยได้ 1 ปากจำเลยขอเลื่อนไป ถึงวันนัดสืบพยานจำเลยนัดต่อมา โจทก์มาศาลถือว่าโจทก์มาศาลเมื่อยังไม่พ้นเวลาที่โจทก์จะนำพยานของตนเข้าสืบตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 205 วรรค 3 อนุมาตรา (1)เพราะจำเลยยังสืบพยานไม่หมดโจทก์จึงมีสิทธินำพยานของตนเข้าสืบตลอดจนระบุอ้างพยานหลักฐานเพิ่มเติมได้ (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 3/2510)
โจทก์ฟ้องขอให้ขับไล่จำเลยอ้างว่าอาศัยแต่ข้อเท็จจริงฟังได้ว่าจำเลยเช่าแต่ไม่ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติ ควบคุมการเช่าเคหะและที่ดิน พ.ศ. 2504 ดังนี้แม้โจทก์จะกล่าวถึงมูลกรณีเดิมว่าจำเลยเข้าอยู่ทีแรกโดยการเช่าหรืออาศัยก็ตาม ก็เป็นเพียงการกล่าวถึงมูลกรณีเดิมซึ่งไม่ใช่สารสำคัญเพราะจำเลย จะอยู่โดยการเช่าหรืออาศัยโจทก์ก็ได้บอกกล่าวให้จำเลยออกจาก ห้องพิพาทโดยชอบด้วยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 566 แล้ว แสดงว่าการเช่าหรือการอาศัยสิ้นสุดแล้วการอยู่ต่อมาจึงเป็น การละเมิด การที่ศาลพิพากษาขับไล่จำเลยจึงไม่เป็นการนอกฟ้องนอกประเด็น
จำเลยมีหน้าที่นำสืบก่อนในวันนัดสืบพยานจำเลยโจทก์ไม่มาศาล ศาลสั่งว่าโจทก์ขาดนัดพิจารณาและดำเนินการสืบพยานจำเลยได้ 1 ปากจำเลยขอเลื่อนไป ถึงวันนัดสืบพยานจำเลยนัดต่อมา โจทก์มาศาลถือว่าโจทก์มาศาลเมื่อยังไม่พ้นเวลาที่โจทก์จะนำพยานของตนเข้าสืบตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 205 วรรค 3 อนุมาตรา (1)เพราะจำเลยยังสืบพยานไม่หมดโจทก์จึงมีสิทธินำพยานของตนเข้าสืบตลอดจนระบุอ้างพยานหลักฐานเพิ่มเติมได้ (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 3/2510)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1760/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การลงโทษเกินคำขอของโจทก์ ศาลฎีกามีอำนาจแก้ไขได้ แม้จำเลยมิได้ฎีกา หากเป็นปัญหาความสงบเรียบร้อย
การที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้คำพิพากษาศาลชั้นต้นให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 138 ประกอบด้วยมาตรา140 ซึ่งเป็นบทกระทงที่หนักตามมาตรา 91 โดยโจทก์มิได้ขอให้ลงโทษจำเลยตามมาตรา 140 ด้วยนั้น เป็นการเกินคำขอของโจทก์ จึงเป็นผลร้ายแก่จำเลย แม้จำเลยมิได้ฎีกาขึ้นมา แต่เป็นปัญหาเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อย ศาลฎีกามีอำนาจแก้ไข
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1756/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาประสงค์ต่อทรัพย์ vs. เสรีภาพ: การลงโทษฐานพยายามกระทำผิดต่อเสรีภาพ แม้ไม่มีเจตนาชิงทรัพย์
ฟ้องอ้างบทลงโทษมาตรา 339 ฐานชิงทรัพย์โดยบรรยายฟ้องด้วยว่าจำเลยใช้มีดบังคับข่มขืนใจให้ผู้เสียหายขับรถยนต์เลี้ยวเข้าไปในถนนสุขาภิบาล 1 และขู่เข็ญว่าในทันใดนั้นจะใช้กำลังประทุษร้ายโดยใช้มีดแทงทำร้ายให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ร่างกาย ดังนี้ เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่าจำเลยมิได้ประสงค์ต่อทรัพย์และผู้เสียหายยังไม่ทันได้กระทำตามที่ถูกข่มขู่ ศาลย่อมลงโทษจำเลยฐานพยายามทำผิดต่อเสรีภาพตามมาตรา 309 ประกอบด้วยมาตรา 80 ได้ (นัยฎีกาที่ 1683/2500)