พบผลลัพธ์ทั้งหมด 184 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1298/2503
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิจารณาคำฟ้องต้องดูทั้งฉบับ และการแปลงหนี้ใหม่ตามกฎหมาย
การพิจารณาคำฟ้องต้องดูทั้งฉบับ เมื่อดูทั้งฉบับแล้วจึงจะเห็นได้ว่าโจทก์ฟ้องอย่างไร แม้โจทก์จะกล่าวในช่องคู่ความข้างต้นกำกวมบ้าง ก็หามีความสำคัญแก่คดีไม่ และไม่ใช่เรื่องที่ศาลจะวินิจฉัยข้อกฎหมายเบื้องต้นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 24 ด้วย
ลูกหนี้กู้เงินโจทก์ไปโดยทำหลักฐานให้ไว้เป็นหนังสือหลังจากนั้นลูกหนี้คนนั้นออกเช็คเพื่อชำระหนี้ให้โจทก์แล้วขอรับหลักฐานการกู้เงินคืนไป เช่นนี้ มิใช่เป็นกรณีที่คู่สัญญาได้ทำสัญญาเปลี่ยนสิ่งซึ่งเป็นสารสำคัญแห่งหนี้แต่ประการใด เพราะหนี้ที่มีต่อกันนั้น มิได้มีสิ่งใดเปลี่ยนแปลงไป ตามกฎหมายจึงมิใช่เป็นการแปลงหนี้ใหม่ ฉะนั้น เมื่อปรากฏต่อมาว่าลูกหนี้ตาย เช็คของลูกหนี้นั้นยังขึ้นเงินไม่ได้ หนี้เดิมจึงยังหาระงับไปไม่
ลูกหนี้กู้เงินโจทก์ไปโดยทำหลักฐานให้ไว้เป็นหนังสือหลังจากนั้นลูกหนี้คนนั้นออกเช็คเพื่อชำระหนี้ให้โจทก์แล้วขอรับหลักฐานการกู้เงินคืนไป เช่นนี้ มิใช่เป็นกรณีที่คู่สัญญาได้ทำสัญญาเปลี่ยนสิ่งซึ่งเป็นสารสำคัญแห่งหนี้แต่ประการใด เพราะหนี้ที่มีต่อกันนั้น มิได้มีสิ่งใดเปลี่ยนแปลงไป ตามกฎหมายจึงมิใช่เป็นการแปลงหนี้ใหม่ ฉะนั้น เมื่อปรากฏต่อมาว่าลูกหนี้ตาย เช็คของลูกหนี้นั้นยังขึ้นเงินไม่ได้ หนี้เดิมจึงยังหาระงับไปไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1283/2503 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเปลี่ยนแปลงฐานความผิดจากยักยอกทรัพย์ (มาตรา 353) เป็นเอาทรัพย์ (มาตรา 314) ทำให้การฎีกาในข้อเท็จจริงต้องห้าม
ศาลชั้นต้นลงโทษจำเลยฐานยักยอกตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 353 จำเลยยักยอกเงิน 2 ครั้ง ต่างกรรมต่างวาระกัน จำคุกจำเลยกระทงละ 2 ปี 6 เดือน รวม 2 กระทง 5 ปี
ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้ว่า จำเลยผิดฐานยักยอกตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 314 ให้ลงโทษจำคุกกระทงละ 1 ปี 6 เดือน รวมจำคุก 3 ปี
ดังนี้ถือว่าแก้ไขเล็กน้อย ต้องห้ามมิให้ฎีกาในข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218 (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 23/2503) (ควรเทียบดูฎีกาที่ 619/2499)
ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้ว่า จำเลยผิดฐานยักยอกตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 314 ให้ลงโทษจำคุกกระทงละ 1 ปี 6 เดือน รวมจำคุก 3 ปี
ดังนี้ถือว่าแก้ไขเล็กน้อย ต้องห้ามมิให้ฎีกาในข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218 (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 23/2503) (ควรเทียบดูฎีกาที่ 619/2499)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1283/2503
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแก้ไขโทษจากยักยอกทรัพย์ ศาลอุทธรณ์แก้ไขโทษฐานจากประมวลกฎหมายอาญาเป็นกฎหมายลักษณะอาญา ทำให้ฎีกาในข้อเท็จจริงต้องห้าม
ศาลชั้นต้นลงโทษจำเลยฐานยักยอกตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 353 จำเลยยักยอกเงิน 2 ครั้ง ต่างกรรมต่างวาระกันจำคุกจำเลยกระทงละ 2 ปี 6 เดือน รวม 2 กระทง 5 ปี
ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้ว่า จำเลยผิดฐานยักยอกตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 314 ให้ลงโทษจำคุกกระทงละ 1ปี 6 เดือน รวมจำคุก 3 ปี
ดังนี้ถือว่าแก้ไขเล็กน้อย ต้องห้ามมิให้ฎีกาในข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218 (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 23/2503) (ควรเทียบดูกับฎีกาที่ 619/2499)
ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้ว่า จำเลยผิดฐานยักยอกตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 314 ให้ลงโทษจำคุกกระทงละ 1ปี 6 เดือน รวมจำคุก 3 ปี
ดังนี้ถือว่าแก้ไขเล็กน้อย ต้องห้ามมิให้ฎีกาในข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218 (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 23/2503) (ควรเทียบดูกับฎีกาที่ 619/2499)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1277/2503 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจหน้าที่ดูแลรักษาที่สาธารณประโยชน์: กรมการอำเภอและอธิบดีกรมที่ดิน
พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 มาตรา 4 มิได้ยกเลิก พ.ร.บ. ลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ. 2457 มาตรา 117, 122 บัญญัติให้กรมการอำเภอดูแลรักษาที่อันเป็นสาธารณประโยชน์ และว่าจะขัดกับประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 มาตรา 4 (15) ก็ไม่ได้เพราะ ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 มาตรา 8 ให้อธิบดีกรมที่ดินทีอำนาจหน้าที่ดูแลรักษาและดำเนินการคุ้มครองป้องกันที่ดิน ทั้งหลายอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน ในเมื่อไม่มีกฎหมายกำหนดไว้เป็นอย่างอื่น
พ.ร.บ. ลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ. 2457 มาตรา 117 บัญญัติให้เป็นหน้าที่กรมการอำเภอจะต้องระวังรักษาดูแลที่ดินเป็นสาธารณประโยชน์ของรัฐบาล ไม่ให้ผู้ใดทำให้เสียหายและ พ.ร.บ. ระเบียบราชการบริหารแผ่นดิน พ.ศ. 2495 มาตรา 40 วรรคสุดท้ายได้บัญญัติให้นายอำเภอมีหน้าที่เกี่ยวกับราชการอันเป็นอำนาจของกรรมการอำเภอ ฉะนั้น นายอำเภอจึงมีอำนาจดูแลรักษาและสั่งห้ามไม่ให้ผู้ใดทำให้ที่สาธารณประโยชน์เสียหาย
พ.ร.บ. ลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ. 2457 มาตรา 117 บัญญัติให้เป็นหน้าที่กรมการอำเภอจะต้องระวังรักษาดูแลที่ดินเป็นสาธารณประโยชน์ของรัฐบาล ไม่ให้ผู้ใดทำให้เสียหายและ พ.ร.บ. ระเบียบราชการบริหารแผ่นดิน พ.ศ. 2495 มาตรา 40 วรรคสุดท้ายได้บัญญัติให้นายอำเภอมีหน้าที่เกี่ยวกับราชการอันเป็นอำนาจของกรรมการอำเภอ ฉะนั้น นายอำเภอจึงมีอำนาจดูแลรักษาและสั่งห้ามไม่ให้ผู้ใดทำให้ที่สาธารณประโยชน์เสียหาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1277/2503
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจหน้าที่ดูแลรักษาที่สาธารณประโยชน์: นายอำเภอ vs กรมที่ดิน
พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ.2497 มาตรา 4มิได้ยกเลิกพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ.2457 และพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ.2457 มาตรา 117,122บัญญัติให้กรมการอำเภอดูแลรักษาที่อันเป็นสาธารณประโยชน์ และจะว่าขัดกับประมวลกฎหมายที่ดินอันจะต้องยกเลิกไป ตามพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ.2497 มาตรา 4(15)ก็ไม่ได้ เพราะประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ.2497 มาตรา 8 ให้อธิบดีกรมที่ดินมีอำนาจหน้าที่ดูแลรักษาและดำเนินการคุ้มครองป้องกันที่ดินทั้งหลายอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน ในเมื่อไม่มีกฎหมายกำหนดไว้เป็นอย่างอื่น
พระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ.2457 มาตรา 117บัญญัติให้เป็นหน้าที่กรมการอำเภอจะต้องระวังรักษาดูแลที่ดินเป็นสาธารณประโยชน์ของรัฐบาล ไม่ให้ผู้ใดทำให้เสียหายและพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2495 มาตรา 40 วรรคสุดท้ายได้บัญญัติให้นายอำเภอมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการอันเป็นอำนาจของกรมการอำเภอ ฉะนั้น นายอำเภอจึงมีอำนาจดูแลรักษาและสั่งห้ามไม่ให้ผู้ใดทำให้ที่สาธารณประโยชน์เสียหาย
พระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ.2457 มาตรา 117บัญญัติให้เป็นหน้าที่กรมการอำเภอจะต้องระวังรักษาดูแลที่ดินเป็นสาธารณประโยชน์ของรัฐบาล ไม่ให้ผู้ใดทำให้เสียหายและพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2495 มาตรา 40 วรรคสุดท้ายได้บัญญัติให้นายอำเภอมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการอันเป็นอำนาจของกรมการอำเภอ ฉะนั้น นายอำเภอจึงมีอำนาจดูแลรักษาและสั่งห้ามไม่ให้ผู้ใดทำให้ที่สาธารณประโยชน์เสียหาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1244/2503 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฎีกาต้องห้าม & การอุทธรณ์คำสั่งศาลชั้นต้นที่ไม่รับฎีกา: จำเลยต้องใช้วิธีการปกติคืออุทธรณ์ไปยังศาลอุทธรณ์ ไม่ใช่ร้องขอให้ศาลดำเนินการให้
การที่จำเลยขวนขวายจะให้ได้ คำรับรองเพื่อฎีกา เป็นการรับอยู่ในตัวว่าจำเลยเห็นด้วยกับศาลชั้นต้นที่ไม่รับฎีกาของจำเลย เพราะต้องห้ามตามกฎหมาย กรณีจึงไม่เข้าประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 224 ซึ่งให้ร้องอุทธรณ์คำสั่งต่อศาลฎีกา
เมื่อไม่ต้องด้วยบทบัญญัติให้ร้องตรงมายังศาลฎีกา อีกทั้งยังไม่มีการรับฎีกาอันจะถือได้ว่า คดีได้ขึ้นสู่ศาลฎีกาแล้ว หากจำเลยไม่เห็นด้วยกับคำสั่งศาลชั้นต้น จำเลยก็มีแต่ทางจะอุทธรณ์ต่อศาลอุทธรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 193 (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 20/2503)
เมื่อไม่ต้องด้วยบทบัญญัติให้ร้องตรงมายังศาลฎีกา อีกทั้งยังไม่มีการรับฎีกาอันจะถือได้ว่า คดีได้ขึ้นสู่ศาลฎีกาแล้ว หากจำเลยไม่เห็นด้วยกับคำสั่งศาลชั้นต้น จำเลยก็มีแต่ทางจะอุทธรณ์ต่อศาลอุทธรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 193 (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 20/2503)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1244/2503
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฎีกาที่ไม่ชอบ ศาลไม่ต้องส่งฎีกาให้รับรอง การอุทธรณ์คำสั่งศาลชั้นต้นที่ไม่รับฎีกา
การที่จำเลยขวนขวายจะให้ได้คำรับรองเพื่อฎีกา เป็นการรับอยู่ในตัวว่าจำเลยเห็นด้วยกับศาลชั้นต้นที่ไม่รับฎีกาของจำเลย เพราะต้องห้ามตามกฎหมาย กรณีจึงไม่เข้าประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 224 ซึ่งให้ร้องอุทธรณ์คำสั่งต่อศาลฎีกา
เมื่อไม่ต้องด้วยบทบัญญัติให้ร้องตรงมายังศาลฎีกา อีกทั้งยังไม่มีการรับฎีกาอันจะถือได้ว่าคดีได้ขึ้นสู่ศาลฎีกาแล้ว หากจำเลยไม่เห็นด้วยกับคำสั่งศาลชั้นต้นจำเลยก็มีแต่ทางจะอุทธรณ์ต่อศาลอุทธรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 193 (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 20/2503)
เมื่อไม่ต้องด้วยบทบัญญัติให้ร้องตรงมายังศาลฎีกา อีกทั้งยังไม่มีการรับฎีกาอันจะถือได้ว่าคดีได้ขึ้นสู่ศาลฎีกาแล้ว หากจำเลยไม่เห็นด้วยกับคำสั่งศาลชั้นต้นจำเลยก็มีแต่ทางจะอุทธรณ์ต่อศาลอุทธรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 193 (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 20/2503)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1236/2503 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยื่นบัญชีระบุพยานหลังพ้นกำหนด ศาลพิจารณาเหตุผลและความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น
คดีแพ่ง เมื่อคู่ความไม่ได้ยื่นบัญชีระบุพยานภายในกำหนด หากศาลได้พิเคราะห์ถึงเหตุต่าง ๆ ที่อ้างในการขออนุญาตระบุพยานประกอบพฤติการณ์อย่างอื่นในสำนวน เห็นไม่สมควรอนุญาตให้ยื่นบัญชีระบุพยาน ศาลก็ไม่อนุญาต (เทียบดูกับฎีกาที่ 1034/2503)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1236/2503
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยื่นบัญชีระบุพยานหลังพ้นกำหนด ศาลพิจารณาเหตุผลความจำเป็นและความสมเหตุสมผลประกอบการตัดสิน
คดีแพ่ง เมื่อคู่ความไม่ได้ยื่นบัญชีระบุพยานภายในกำหนดหากศาลได้พิเคราะห์ถึงเหตุต่างๆ ที่อ้างในการขออนุญาตระบุพยานประกอบพฤติการณ์อย่างอื่นในสำนวน เห็นไม่สมควรอนุญาตให้ยื่นบัญชีระบุพยาน ศาลก็ไม่อนุญาต (เทียบดูกับฎีกาที่ 1034/2503)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1151-1152/2503
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิกถอนการโอนทรัพย์เพื่อหลีกเลี่ยงเจ้าหนี้ในชั้นบังคับคดี ศาลมีอำนาจพิจารณาได้โดยไม่ต้องมีการฟ้องร้องเพิกถอนก่อน
ในชั้นร้องขัดทรัพย์ การที่ลูกหนี้ตามคำพิพากษาโอนทรัพย์สินให้ผู้อื่นโดยไม่สุจริตเป็นเหตุให้เจ้าหนี้อื่นเสียเปรียบนั้น เป็นการพิจารณาชั้นบังคับคดี เจตนารมย์ของการบังคับคดียอมให้ว่ากล่าวกันได้ภายหลังการยึดทรัพย์แล้ว ศาลจึงมีอำนาจชี้ขาดตามความในมาตรา 237 ได้ โดยมิพักต้องให้เจ้าหนี้ไปฟ้องดำเนินคดีฟ้องร้องขอให้ทำลายการโอนหรือเพิกถอนการฉ้อฉลเสียก่อนแต่ประการใด(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 18/2503)