พบผลลัพธ์ทั้งหมด 571 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1340/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การทำร้ายร่างกายจนเกิดการกระทบกระเทือนที่ศีรษะและรักษาตัวนานเกิน 10 วัน ถือเป็นอันตรายแก่กาย
โจทก์ถูกจำเลยชกล้มลงได้รับความกระทบกระเทือนที่ศีรษะ รักษาอยู่ 10 วัน เศษ กับได้รับแผลภายนอกเป็นรอยบวมเช่นนี้ ถือว่า เป็นอันตรายแก่กายตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 295 แล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1340/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การทำร้ายร่างกายจนเกิดการกระทบกระเทือนที่ศีรษะและรักษาตัวเป็นเวลานาน ถือเป็นอันตรายแก่กายตามกฎหมาย
โจทก์ถูกจำเลยชกล้มลงได้รับความกระทบกระเทือนที่ศีรษะรักษาอยู่ 10 วันเศษกับได้รับแผลภายนอกเป็นรอยบวมเช่นนี้ถือว่า เป็นอันตรายแก่กายตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 295 แล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1336/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาประนีประนอมยอมความมีผลระงับสิทธิในสัญญาก่อนหน้า สิทธิและหน้าที่จึงอยู่ภายใต้สัญญาใหม่ การบังคับคดีจึงทำไม่ได้หากไม่มีฟ้องใหม่
โจทก์ฟ้องเรียกเงินอ้างว่าจำเลยผิดสัญญาจ้างเหมาก่อสร้างจำเลยฟ้องแย้งว่าโจทก์ผิดสัญญาและทิ้งงาน จำเลยต้องจ้างคนอื่นแทน ให้โจทก์ใช้เงินที่ต้องจ้างเกินไป ต่อมาโจทก์จำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันโดยสละสิทธิ ที่อ้างมาในฟ้องและในฟ้องแย้งทั้งสิ้นให้โจทก์จำเลยมีสิทธิและหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติตามสัญญาจ้างเหมาซึ่งทำกันใหม่พร้อมสัญญาประนีประนอมยอมความ
ดังนี้ เมื่อศาลพิพากษาตามยอมมิได้ให้คู่ความฝ่ายใดแพ้คดีหรือชนะคดี ซึ่งจะต้องมีการบังคับคดีเกิดขึ้นสัญญาจ้างเหมารายใหม่จึงมิใช่อยู่ในข่ายบังคับคดีที่ศาลพิพากษา คู่ความฝ่ายใดจะอ้างว่าตนเป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาเพราะเหตุผิดสัญญารายใหม่ให้มีการบังคับคดีในคดีนี้ โดยไม่มีการฟ้องร้องเสนอคดีต่อศาลเป็นคดีใหม่หาได้ไม่
และในกรณีดังกล่าวข้างต้นนี้ คู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะร้องขอให้ศาลสั่งหรือพิพากษาล่วงหน้าว่าอีกฝ่ายหนึ่งหมดสิทธิเรียกร้องดังที่ระบุไว้ในสัญญารายใหม่เมื่อมีกรณีผิดสัญญาเกิดขึ้นนั้น โดยฝ่ายนั้นยังไม่ทันใช้สิทธิเรียกร้องเลย ก็หาอาจทำได้ไม่
ดังนี้ เมื่อศาลพิพากษาตามยอมมิได้ให้คู่ความฝ่ายใดแพ้คดีหรือชนะคดี ซึ่งจะต้องมีการบังคับคดีเกิดขึ้นสัญญาจ้างเหมารายใหม่จึงมิใช่อยู่ในข่ายบังคับคดีที่ศาลพิพากษา คู่ความฝ่ายใดจะอ้างว่าตนเป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาเพราะเหตุผิดสัญญารายใหม่ให้มีการบังคับคดีในคดีนี้ โดยไม่มีการฟ้องร้องเสนอคดีต่อศาลเป็นคดีใหม่หาได้ไม่
และในกรณีดังกล่าวข้างต้นนี้ คู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะร้องขอให้ศาลสั่งหรือพิพากษาล่วงหน้าว่าอีกฝ่ายหนึ่งหมดสิทธิเรียกร้องดังที่ระบุไว้ในสัญญารายใหม่เมื่อมีกรณีผิดสัญญาเกิดขึ้นนั้น โดยฝ่ายนั้นยังไม่ทันใช้สิทธิเรียกร้องเลย ก็หาอาจทำได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1336/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาประนีประนอมยอมความมีผลระงับสิทธิเดิม สัญญาใหม่ต้องบังคับตามเงื่อนไขของสัญญาใหม่เท่านั้น
โจทก์ฟ้องเรียกเงินอ้างว่าจำเลยผิดสัญญาจ้างเหมาก่อสร้าง จำเลยฟ้องแย้งว่าโจทก์ผิดสัญญาและทิ้งงาน จำเลยต้องจ้างคนอื่นแทน ให้โจทก์ใช้เงินที่ต้องจ้างเกินไป ต่อมาโจทก์จำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันโดยสละสิทธิที่อ้างมาในฟ้องและในฟ้องแย้งทั้งสิ้น ให้โจทก์จำเลยมีสิทธิและหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติตามสัญญาจ้างเหมาซึ่งทำกันใหม่พร้อมสัญญาประนีประนอมยอมความ ดังนี้ เมื่อศาลพิพากษาตามยอมมิได้ให้คู่ความฝ่ายใดแพ้คดีหรือชนะคดี ซึ่งจะต้องมีการบังคับคดีเกิดขึ้น สัญญาจ้างเหมารายใหม่จึงมิใช่อยู่ใน+บังคับคดีที่ศาลพิพากษา คู่ความฝ่ายใดจะอ้างว่าตนเป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาเพราะเหตุผิดสัญญารายใหม่ให้มีการบังคับคดีให้คดีนี้โดยไม่มีการฟ้องร้องเสนอคดีต่อศาลเป็นคดีใหม่หาได้ไม่
และในกรณีดังกล่าวข้างต้นนี้ คู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะร้องขอให้ศาลสั่งหรือพิพากษาล่วงหน้าว่าอีกฝ่ายหนึ่งหมดสิทธิเรียกร้องดังที่ระบุไว้ในสัญญารายใหม่เมื่อมีกรณีผิดสัญญาเกิดขึ้นนั้นโดยฝ่ายนั้นยังไม่ทันใช้สิทธิเรียกร้องเลย ก็อาจทำได้ไม่
และในกรณีดังกล่าวข้างต้นนี้ คู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะร้องขอให้ศาลสั่งหรือพิพากษาล่วงหน้าว่าอีกฝ่ายหนึ่งหมดสิทธิเรียกร้องดังที่ระบุไว้ในสัญญารายใหม่เมื่อมีกรณีผิดสัญญาเกิดขึ้นนั้นโดยฝ่ายนั้นยังไม่ทันใช้สิทธิเรียกร้องเลย ก็อาจทำได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1325/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าเกิน 3 ปี ไม่จดทะเบียน มีผลผูกพันเฉพาะคู่สัญญาเดิม สิทธิไม่สุจริตไม่มี
หากสัญญาเช่าตึกพิพาทเป็นสัญญาต่างตอบแทนมิใช่สัญญาเช่าธรรมดาที่ต้องจดทะเบียนการเช่าที่เกินกว่า 3 ปี ขึ้นไปแล้ว สัญญานี้ก็คงผูกพันเฉพาะผู้ที่เป็นคู่สัญญาเดิมกับจำเลย ไม่ติดมากับตึกพิพาทที่โจทก์ซื้อจากเจ้าของเดิม
จำเลยทำสัญญาเช่าตึกกับเจ้าของเดิมมีอายุ 3 ปี 2 ฉบับ มีอายุ2 ปี 2 ฉบับต่อกันไปรวมเป็น 10 ปี โดยไม่จดทะเบียน ย่อมมีผลบังคับได้เพียง 3 ปี ต่อจากนั้นโจทก์รับโอนตึกที่จำเลยเช่ามาโจทก์จึงฟ้องจำเลยได้เพราะสัญญาหมดอายุแล้ว ไม่เป็นการใช้สิทธิไม่สุจริตแต่อย่างใด
จำเลยทำสัญญาเช่าตึกกับเจ้าของเดิมมีอายุ 3 ปี 2 ฉบับ มีอายุ2 ปี 2 ฉบับต่อกันไปรวมเป็น 10 ปี โดยไม่จดทะเบียน ย่อมมีผลบังคับได้เพียง 3 ปี ต่อจากนั้นโจทก์รับโอนตึกที่จำเลยเช่ามาโจทก์จึงฟ้องจำเลยได้เพราะสัญญาหมดอายุแล้ว ไม่เป็นการใช้สิทธิไม่สุจริตแต่อย่างใด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1325/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าไม่จดทะเบียนเกิน 3 ปี สิทธิผูกพันเฉพาะคู่สัญญาเดิม ไม่ตามไปกับทรัพย์สินที่โอน
หากสัญญาเช่าตึกพิพาทเป็นสัญญาต่างตอบแทนมิใช่สัญญาเช่าธรรมดาที่ต้องจดทะเบียนการเช่าที่เกินกว่า 3 ปี ขึ้นไปแล้ว สัญญานี้ก็คงผูกพันเฉพาะผู้ที่เป็นคู่สัญญาเดิมกับจำเลย ไม่+มากับตึกพิพาทที่โจทก์ซื้อจากเจ้าของเดิม
จำเลยทำสัญญาเช่าตึกกับเจ้าของเดิมมีอายุ 3 ปี 2 ฉบับ มีอายุ 2 ปี 2 ฉบับ ต่อกันไปรวมเป็น 10 ปี โดยไม่จดทะเบียน ย่อมมีผลบังคับได้เพียง 3 ปี ต่อจากนั้น โจทก์รับโอนตึกที่จำเลยเช่ามา โจทก์จึงฟ้องจำเลยได้เพราะสัญญาหมดอายุแล้ว ไม่เป็นการใช้สิทธิไม่สุจริตแต่อย่างใด
จำเลยทำสัญญาเช่าตึกกับเจ้าของเดิมมีอายุ 3 ปี 2 ฉบับ มีอายุ 2 ปี 2 ฉบับ ต่อกันไปรวมเป็น 10 ปี โดยไม่จดทะเบียน ย่อมมีผลบังคับได้เพียง 3 ปี ต่อจากนั้น โจทก์รับโอนตึกที่จำเลยเช่ามา โจทก์จึงฟ้องจำเลยได้เพราะสัญญาหมดอายุแล้ว ไม่เป็นการใช้สิทธิไม่สุจริตแต่อย่างใด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1323-1324/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเปลี่ยนแปลงสัญญาเช่าโดยการตกลงกันใหม่เป็นลายลักษณ์อักษร และการนำสืบหลักฐานใบรับเงินค่าเช่าเพื่อพิสูจน์ข้อตกลง
โจทก์ทำสัญญาให้จำเลยเช่าโรงสี 3 ปี กำหนดค่าเช่าไว้เดือนละ 3,000 บาทจำเลยอ้างว่าโจทก์จำเลยตกลงกันไว้ว่า ชั้นแรกคิดค่าเช่าเดือนละ 3,000 บาท แต่ต่อไปโจทก์จะลดให้เป็นเดือนละ 2,000 บาท และ 1,000 บาทตามลำดับ แล้วจำเลยนำสืบใบรับเงินค่าเช่าอันแสดงว่าในระยะหลังๆ นี้โจทก์เก็บค่าเช่าเพียงเดือนละ 2,000 บาท และ 1,000 บาท ดังนี้เป็นเรื่องจำเลยนำสืบว่าคู่สัญญาตกลงทำสัญญากันใหม่เป็นหนังสือแก้ไขหนังสือสัญญาเช่าเดิมเฉพาะเรื่องอัตราค่าเช่าอย่างเดียวจำเลยจึงนำพยานบุคคลมาสืบอธิบายถึงที่มาของใบรับเงินนี้ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1323-1324/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแก้ไขสัญญายังผลได้ แม้ไม่มีเอกสารแก้ไข หากมีหลักฐานการชำระค่าเช่าตามอัตราใหม่
โจทก์ทำหนังสือสัญญาให้จำเลยเช่าโรงสี 3 ปี กำหนดค่าเช่าไว้เดือนละ 3,000 บาท จำเลยอ้างว่าโจทก์จำเลยตกลงกันไว้ว่า ชั้นแรกคิดค่าเช่าเดือนละ 3,000 บาท แต่ต่อไปโจทก์จะยกให้เป็นเดือนละ 2,000 บาท และ 1,000 บาท ตามลำดับ แล้วจำเลยนำสืบใบรับเงินค่าเช่าอันแสดงว่าในระยะหลัง ๆ นี้โจทก์เก็บค่าเช่าเพียงเดือนละ 2,000 บาท และ 1,000 บาท ดังนี้ เป็นเรื่องจำเลยนำสืบว่าคู่สัญญาตกลงทำสัญญากันใหม่เป็นหนังสือแก้ไขหนังสือสัญญาเช่าเดิม เฉพาะเรื่องอัตราค่าเช่าอย่างเดียว จำเลยจึงนำพยานบุคคลมาสืบอธิบายถึงที่มาของใบรับเงินนี้ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1280/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาประนีประนอมยอมความแบ่งเงินในบัญชี สัญญาตกเป็นโมฆะเมื่อเงินไม่มี และไม่ผูกพันทรัพย์สินอื่น
สัญญายอมความที่จำเลยตกลงแบ่งเงินของเจ้ามรดกในธนาคารให้โจทก์โดยเฉพาะนั้น เมื่อเงินไม่มีอยู่ในธนาคารโดยไม่ใช่ความผิดของจำเลยแล้ว สัญญาแบ่งเงินนั้นก็ไม่มีผลผูกพันทรัพย์อื่นของจำเลย ฉะนั้น โจทก์จะขอให้ยึดทรัพย์จำเลยมาใช้เงินตามสัญญานั้นไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1273/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิดหมิ่นประมาททางหนังสือพิมพ์ จำเลยต้องรับผิดเฉพาะการกล่าวต่อบุคคลอื่น ไม่ใช่การทำให้ผู้อื่นนำไปเผยแพร่
จำเลยกล่าวข้อความหมิ่นประมาทผู้อื่นต่อบรรณาธิการหนังสือพิมพ์แล้วบรรณาธิการหนังสือพิมพ์นำข้อความนั้นไปลงพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ที่ตนเป็นบรรณาธิการ และนำออกโฆษณาโดยไม่ปรากฏว่าจำเลยได้ ใช้ บังคับ ขู่เข็ญ จ้าง วาน หรือยุยงส่งเสริม หรือด้วยวิธีอื่นใดต่อบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ให้พิมพ์ข้อความนั้นแต่ประการใด ดังนี้ จำเลยคงมีความผิดตามมาตรา 326 เท่านั้น หาผิดตามมาตรา 328 ด้วยไม่