คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
จิตติ ติงศภัทิย์

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 1,113 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 851/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อำนาจการจัดการที่ดินของมิซซังโรมันคาทอลิก: การมอบอำนาจและผลผูกพันตามสัญญาเช่า
มิซซังโรมันคาธอลิคกรุงเทพฯมีฐานะเป็นนิติบุคคลและถือกรรมสิทธิ์ในที่ดินได้(เพียง 2 อย่าง คือ ที่ดินที่ใช้เป็นวัดโรงเรือนตึกรามวัดบาดหลวงและที่ดินเพื่อทำประโยชน์ให้แก่มิซซัง)
ลักษณะสายการปกครองของมิซซัง ได้กำหนดไว้เป็นชั้นๆ ให้มีอำนาจปกครองลดหลั่นกันมาภายในขอบเขตที่กำหนดโดยมีสังฆราชมิซซังโรมันคาธอลิคกรุงเทพฯผู้ได้รับแต่งตั้งจากโป๊ปเป็นใหญ่ควบคุมทั้งหมดสังฆราชมอบอำนาจให้บิชอพภาคจันทบุรี บิชอพภาคจันทบุรีตั้งเจ้าอาวาสวัดบางปลาสร้อยให้มีอำนาจดูแลที่ดินของวัดได้การที่เจ้าอาวาสวัดบางปลาสร้อยทำสัญญาให้จำเลยเช่าที่ดินของวัด จึงเป็นการทำแทนสังฆราชมิซซังโรมันคาธอลิคกรุงเทพฯ รวมตลอดถึงการบอกเลิกสัญญาเช่าด้วย

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 851/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อำนาจปกครองมิซซังและการมอบอำนาจสัญญาเช่าที่ดิน: สิทธิของมิซซังในการฟ้องคดี
มิซซังโรมันคาธอลิคกรุงเทพฯมีฐานะเป็นนิติบุคคลและถือกรรมสิทธิ์ในที่ดินได้(เพียง 2 อย่าง คือ ที่ดินที่ใช้เป็นวัดโรงเรือนตึกรามวัดบาดหลวง และที่ดินเพื่อทำประโยชน์ให้แก่มิซซัง)
ลักษณะสายการปกครองของมิซซัง ได้กำหนดไว้เป็นชั้นๆ ให้มีอำนาจปกครองลดหลั่นกันมาภายในขอบเขตที่กำหนด โดยมีสังฆราชมิซซังโรมันคาธอลิคกรุงเทพ ฯ ผู้ได้รับแต่งตั้งจากโป๊ปเป็นใหญ่ควบคุมทั้งหมด สังฆราชมอบอำนาจให้บิชอพภาคจันทบุรี บิชอพภาคจันทบุรีตั้งเจ้าอาวาสวัดบางปลาสร้อยให้มีอำนาจดูแลที่ดินของวัดได้ การที่เจ้าอาวาสวัดบางปลาสร้อยทำสัญญาให้จำเลยเช่าที่ดินของวัด จึงเป็นการทำแทนสังฆราชมิซซังโรมันคาธอลิคกรุงเทพฯ รวมตลอดถึงการบอกเลิกสัญญาเช่าด้วย

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 851/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อำนาจการจัดการที่ดินของมิซซังโรมันคาทอลิก และการมอบอำนาจตามสายการปกครอง
มิซซังโรมันคาธอลิคกรุงเทพฯมีฐานะเป็นนิติบุคคลและถือกรรมสิทธิ์ในที่ดินได้(เพียง 2 อย่าง คือ ที่ดินที่ใช้เป็นวัดโรงเรือนตึกรามวัดบาดหลวง. และที่ดินเพื่อทำประโยชน์ให้แก่มิซซัง).
ลักษณะสายการปกครองของมิซซัง ได้กำหนดไว้เป็นชั้นๆ ให้มีอำนาจปกครองลดหลั่นกันมาภายในขอบเขตที่กำหนด. โดยมีสังฆราชมิซซังโรมันคาธอลิคกรุงเทพฯผู้ได้รับแต่งตั้งจากโป๊ปเป็นใหญ่ควบคุมทั้งหมด. สังฆราชมอบอำนาจให้บิชอพภาคจันทบุรี บิชอพภาคจันทบุรีตั้งเจ้าอาวาสวัดบางปลาสร้อยให้มีอำนาจดูแลที่ดินของวัดได้. การที่เจ้าอาวาสวัดบางปลาสร้อยทำสัญญาให้จำเลยเช่าที่ดินของวัด. จึงเป็นการทำแทนสังฆราชมิซซังโรมันคาธอลิคกรุงเทพฯ รวมตลอดถึงการบอกเลิกสัญญาเช่าด้วย.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 801/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การเพิ่มเติมฟ้องคดีอาญาภายหลังสืบพยาน: ข้อจำกัดตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 120
โจทก์ฟ้องจำเลยในข้อหาทำร้ายร่างกายถึงบาดเจ็บตามมาตรา295 ในชั้นพิจารณาปรากฏว่าบาดแผลผู้เสียหายถึงอันตรายสาหัสจึงขอเพิ่มเติมฟ้องในข้อหาทำร้ายร่างกายบาดเจ็บสาหัสตามมาตรา297 เช่นนี้ หาใช่เป็นแต่การแก้หรือเพิ่มเติมฟ้องโดยแก้หรือเพิ่มเติมฐานความผิด คือ บทมาตราในกฎหมายที่บัญญัติความผิดหรือรายละเอียดซึ่งต้องกล่าวไว้ในฟ้องเท่านั้นไม่จึงมิต้องด้วยบทบัญญัติประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 164 แต่อย่างไรก็ดี เมื่อข้อเท็จจริงเกี่ยวกับอาการสาหัสของบาดแผลนี้เพิ่งมาปรากฏในชั้นพิจารณาของศาลมิได้ปรากฏมาแต่ในชั้นสอบสวน โจทก์จึงฟ้องคดีในความผิดที่ยังไม่มีการสอบสวนไม่ได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 120 (อ้างฎีกาที่750/2494)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 801/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การเพิ่มเติมฟ้องคดีอาญา: ข้อจำกัดการเพิ่มข้อหาใหม่ในชั้นพิจารณาเมื่อยังมิได้มีการสอบสวน
โจทก์ฟ้องจำเลยในข้อหาทำร้ายร่างกายถึงบาดเจ็บตามมาตรา295 ในชั้นพิจารณาปรากฏว่าบาดแผลผู้เสียหายถึงอันตรายสาหัสจึงขอเพิ่มเติมฟ้องในข้อหาทำร้ายร่างกายบาดเจ็บสาหัสตามมาตรา297 เช่นนี้ หาใช่เป็นแต่การแก้หรือเพิ่มเติมฟ้องโดยแก้หรือเพิ่มเติมฐานความผิด คือบทมาตราในกฎหมายที่บัญญัติความผิดหรือรายละเอียดซึ่งต้องกล่าวไว้ในฟ้องเท่านั้นไม่จึงมิต้องด้วยบทบัญญัติประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 164 แต่อย่างไรก็ดี เมื่อข้อเท็จจริงเกี่ยวกับอาการสาหัสของบาดแผลนี้เพิ่งมาปรากฏในชั้นพิจารณาของศาลมิได้ปรากฏมาแต่ในชั้นสอบสวน โจทก์จึงฟ้องคดีในความผิดที่ยังไม่มีการสอบสวนไม่ได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 120(อ้างฎีกาที่750/2494)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 801/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การเพิ่มเติมฟ้องคดีอาญา: ข้อจำกัดเมื่อข้อเท็จจริงใหม่เพิ่งปรากฏในชั้นพิจารณา และผลกระทบต่อสิทธิจำเลย
โจทก์ฟ้องจำเลยในข้อหาทำร้ายร่างกายถึงบาดเจ็บตามมาตรา295 ในชั้นพิจารณาปรากฏว่าบาดแผลผู้เสียหายถึงอันตรายสาหัสจึงขอเพิ่มเติมฟ้องในข้อหาทำร้ายร่างกายบาดเจ็บสาหัสตามมาตรา297 เช่นนี้ หาใช่เป็นแต่การแก้หรือเพิ่มเติมฟ้องโดยแก้หรือเพิ่มเติมฐานความผิด คือ บทมาตราในกฎหมายที่บัญญัติความผิดหรือรายละเอียดซึ่งต้องกล่าวไว้ในฟ้องเท่านั้นไม่จึงมิต้องด้วยบทบัญญัติประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 164 แต่อย่างไรก็ดี เมื่อข้อเท็จจริงเกี่ยวกับอาการสาหัสของบาดแผลนี้เพิ่งมาปรากฏในชั้นพิจารณาของศาลมิได้ปรากฏมาแต่ในชั้นสอบสวน โจทก์จึงฟ้องคดีในความผิดที่ยังไม่มีการสอบสวนไม่ได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 120(อ้างฎีกาที่750/2494)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 800/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ หน้าที่ศาลในการรับรองอุทธรณ์และการส่งสำนวนไปยังอธิบดีอัยการ: ผู้ต้องดำเนินการเอง
การอุทธรณ์คำสั่งศาลชั้นต้นที่ไม่ส่งสำนวนและอุทธรณ์ไปให้อธิบดีกรมอัยการพิจารณารับรองตามคำร้องของโจทก์ร่วมนั้น ผู้อุทธรณ์ต้องทำเป็นอุทธรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 193 และชอบที่ศาลอุทธรณ์จะได้วินิจฉัยโดยทำเป็นคำพิพากษามิใช่ทำเป็นคำสั่ง แต่โดยที่ศาลอุทธรณ์ได้ทำคำสั่งโดยผู้พิพากษาสองนาย เพียงแต่ผิดแบบเฉพาะการทำเป็นคำพิพากษาหรือคำสั่งจึงไม่จำเป็นที่จะให้ศาลอุทธรณ์พิจารณาพิพากษาใหม่ (อ้างฎีกาที่ 1244/2503)
การที่จะให้อธิบดีกรมอัยการรับรองอุทธรณ์นั้น กฎหมายมิได้บัญญัติให้ศาลชั้นต้นมีหน้าที่ต้องส่งอุทธรณ์ไปให้อธิบดีกรมอัยการรับรอง การรับรองอุทธรณ์เป็นประโยชน์แก่ผู้อุทธรณ์เอง ผู้อุทธรณ์จึงต้องขวนขวายขอร้องไปยังอธิบดีกรมอัยการเอง หาใช่อาศัยศาลเป็นเครื่องมือส่งต่อไปยังอธิบดีกรมอัยการไม่ (อ้างฎีกาที่ 656/2506)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 800/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ หน้าที่ศาลในการส่งเรื่องขอรับรองอุทธรณ์ไปยังอธิบดีอัยการ และรูปแบบคำวินิจฉัยของศาล
การอุทธรณ์คำสั่งศาลชั้นต้นที่.ไม่ส่งสำนวนและอุทธรณ์ไปให้อธิบดีกรมอัยการพิจารณารับรองตามคำร้องของโจทก์ร่วมนั้น. ผู้อุทธรณ์ต้องทำเป็นอุทธรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 193. และชอบที่ศาลอุทธรณ์จะได้วินิจฉัยโดยทำเป็นคำพิพากษามิใช่ทำเป็นคำสั่ง. แต่โดยที่ศาลอุทธรณ์ได้ทำคำสั่งโดยผู้พิพากษาสองนาย เพียงแต่ผิดแบบเฉพาะการทำเป็นคำพิพากษาหรือคำสั่ง.จึง.ไม่จำเป็นที่จะให้ศาลอุทธรณ์พิจารณาพิพากษาใหม่(อ้างฎีกาที่ 1244/2503).
การที่จะให้อธิบดีกรมอัยการรับรองอุทธรณ์นั้น กฎหมายมิได้บัญญัติให้ศาลชั้นต้นมีหน้าที่ต้องส่งอุทธรณ์ไปให้อธิบดีกรมอัยการรับรอง. การรับรองอุทธรณ์เป็นประโยชน์แก่ผู้อุทธรณ์เอง. ผู้อุทธรณ์จึงต้องขวนขวายขอร้องไปยังอธิบดีกรมอัยการเอง. หาใช่อาศัยศาลเป็นเครื่องมือส่งต่อไปยังอธิบดีกรมอัยการไม่.(อ้างฎีกาที่ 656/2506).

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 800/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ หน้าที่ศาลในการรับรองอุทธรณ์และการส่งเรื่องให้อธิบดีอัยการ ผู้ต้องดำเนินการเอง
การอุทธรณ์คำสั่งศาลชั้นต้นที่ไม่ส่งสำนวนและอุทธรณ์ไปให้อธิบดีกรมอัยการพิจารณารับรองตามคำร้องของโจทก์ร่วมนั้นผู้อุทธรณ์ต้องทำเป็นอุทธรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 193 และชอบที่ศาลอุทธรณ์จะได้วินิจฉัยโดยทำเป็นคำพิพากษามิใช่ทำเป็นคำสั่งแต่โดยที่ศาลอุทธรณ์ได้ทำคำสั่งโดยผู้พิพากษาสองนาย เพียงแต่ผิดแบบเฉพาะการทำเป็นคำพิพากษาหรือคำสั่งจึงไม่จำเป็นที่จะให้ศาลอุทธรณ์พิจารณาพิพากษาใหม่(อ้างฎีกาที่ 1244/2503)
การที่จะให้อธิบดีกรมอัยการรับรองอุทธรณ์นั้น กฎหมายมิได้บัญญัติให้ศาลชั้นต้นมีหน้าที่ต้องส่งอุทธรณ์ไปให้อธิบดีกรมอัยการรับรองการรับรองอุทธรณ์เป็นประโยชน์แก่ผู้อุทธรณ์เองผู้อุทธรณ์จึงต้องขวนขวายขอร้องไปยังอธิบดีกรมอัยการเองหาใช่อาศัยศาลเป็นเครื่องมือส่งต่อไปยังอธิบดีกรมอัยการไม่ (อ้างฎีกาที่ 656/2506)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 760/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อำนาจฟ้องคดีอาญาและการแต่งตั้งผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ทำให้การฟ้องไม่มีอำนาจ
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 162 ที่ว่า'ถ้าฟ้องถูกต้องตามกฎหมายแล้ว..........ในคดีราษฎรเป็นโจทก์ให้ไต่สวนมูลฟ้อง ฯลฯ นั้นหมายความว่าเมื่อโจทก์ฟ้องถูกต้องตามกฎหมายแล้ว แต่ยังไม่มีการกระทำแสดงออกให้เป็นการยืนยันหรือสนับสนุนคำฟ้องนั้นจึงให้ศาลทำการไต่สวนมูลฟ้องเสียก่อน. และถ้าศาลเห็นว่าเท่าที่พยานโจทก์เบิกความชั้นไต่สวนมูลฟ้อง จะเป็นพยานกี่คนก็ตาม ทำให้คดีพอวินิจฉัยได้แล้ว. ศาลก็อาจสั่งงดสืบพยานโจทก์ที่เหลืออยู่เสียก็ได้.
โจทก์ยื่นฟ้องแล้ว ศาลสั่งนัดไต่สวนมูลฟ้องเมื่อถึงวันนัด โจทก์แถลงต่อศาล. ศาลจดข้อแถลงรับของโจทก์ไว้แล้วสั่งว่าคดีพอวินิจฉัยได้ ให้งดสืบพยานโจทก์เสีย. เช่นนี้ก็เท่ากับว่าที่โจทก์แถลงต่อศาล ศาลจดคำแถลงของโจทก์ไว้นั้น เป็นข้อเท็จจริงอย่างหนึ่งที่ศาลพอจะยกขึ้นวินิจฉัยแล้ว. แล้ววินิจฉัยและพิพากษาคดีของโจทก์ไป จึงไม่เป็นการขัดต่อบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา162(1).
ตามกฎมหาเถรสมาคมฉบับที่ 6(พ.ศ.2506)ว่าด้วยการแต่งตั้งผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาส ข้อ 6 กำหนดไว้ว่า. 'ในกรณีที่เจ้าอาวาสไม่อยู่. และไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ชั่วครั้งคราว. ให้เจ้าอาวาสสั่งแต่งตั้งรองเจ้าอาวาสผู้ช่วยเจ้าอาวาส หรือพระภิกษุรูปใดรูปหนึ่งที่เห็นสมควร เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาส'. นั้นหมายถึงกรณีที่เจ้าอาวาสไม่อยู่. และไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ชั่วครั้งคราวเท่านั้น.ถ้าเจ้าอาวาสยังอยู่ประจำที่วัด. เจ้าอาวาสก็ไม่มีอำนาจที่จะแต่งตั้งผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาส. และในกรณีที่เจ้าอาวาสไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้เพราะเหตุใดเหตุหนึ่ง. ตามกฎมหาเถรสมาคมฉบับที่ 6 ข้อ 5 เป็นอำนาจเจ้าคณะตำบลที่จะแต่งตั้งผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาส. การที่เจ้าอาวาสตั้งผู้รักษาการแทนเสียเอง จึงไม่ชอบ. ผู้ที่เจ้าอาวาสแต่งตั้ง.จึงไม่มีสิทธิและอำนาจหรือหน้าที่โดยชอบด้วยกฎหมาย. และไม่มีอำนาจฟ้องคดีแทนเจ้าอาวาส.
อำนาจฟ้องเป็นข้อกฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อย. ศาลหยิบยกขึ้นพิจารณาเองได้.
of 112