คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
จิตติ ติงศภัทิย์

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 1,113 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1970/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อำนาจบังคับคดีหลังล้มละลาย: สิทธิการบังคับคดีตกเป็นของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เมื่อลูกหนี้ถูกพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด
เมื่อโจทก์แถลงรับว่าตนได้ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดแล้ว สิทธิของโจทก์ที่จะรับค่าเช่าและดำเนินการบังคับคดีจากจำเลย จึงตกเป็นอำนาจของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แต่ผู้เดียว
มาตรา 24 เป็นเรื่องห้ามมิให้ลูกหนี้กระทำการใดๆเกี่ยวกับทรัพย์สินหรือกิจการของตน เว้นแต่จะได้กระทำตามคำสั่งหรือความเห็นชอบของศาล เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์หรือที่ประชุมเจ้าหนี้เท่านั้น การจะอนุญาตให้ลูกหนี้ทำกิจการนั้นได้ต้องอยู่ในดุลพินิจของบุคคลดังกล่าวโดยเฉพาะเรื่องนี้ เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ไม่เห็นชอบด้วยในการที่โจทก์จะเข้าไปจัดการทรัพย์สิน และศาลล่างทั้งสองไม่เห็นชอบด้วยการกระทำของโจทก์ ศาลฎีกาไม่เห็นมีเหตุที่ควรจะเปลี่ยนแปลงดุลพินิจในเรื่องนี้ให้เป็นอย่างอื่น

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1970/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิบังคับคดีตกเป็นของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ เมื่อลูกหนี้ถูกพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด
เมื่อโจทก์แถลงรับว่าตนได้ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดแล้ว. สิทธิของโจทก์ที่จะรับค่าเช่าและดำเนินการบังคับคดีจากจำเลย จึงตกเป็นอำนาจของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แต่ผู้เดียว.
มาตรา 24 เป็นเรื่องห้ามมิให้ลูกหนี้กระทำการใดๆเกี่ยวกับทรัพย์สินหรือกิจการของตน เว้นแต่จะได้กระทำตามคำสั่งหรือความเห็นชอบของศาล เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์หรือที่ประชุมเจ้าหนี้เท่านั้น. การจะอนุญาตให้ลูกหนี้ทำกิจการนั้นได้ต้องอยู่ในดุลพินิจของบุคคลดังกล่าว. โดยเฉพาะเรื่องนี้ เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ไม่เห็นชอบด้วยในการที่โจทก์จะเข้าไปจัดการทรัพย์สิน และศาลล่างทั้งสองไม่เห็นชอบด้วยการกระทำของโจทก์. ศาลฎีกาไม่เห็นมีเหตุที่ควรจะเปลี่ยนแปลงดุลพินิจในเรื่องนี้ให้เป็นอย่างอื่น.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1970/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิในการบังคับคดีตกเป็นของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ เมื่อลูกหนี้ถูกพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด
เมื่อโจทก์แถลงรับว่าตนได้ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดแล้ว สิทธิของโจทก์ที่จะรับค่าเช่าและดำเนินการบังคับคดีจากจำเลย จึงตกเป็นอำนาจของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แต่ผู้เดียว
มาตรา 24 เป็นเรื่องห้ามมิให้ลูกหนี้กระทำการใดๆเกี่ยวกับทรัพย์สินหรือกิจการของตน เว้นแต่จะได้กระทำตามคำสั่งหรือความเห็นชอบของศาล เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์หรือที่ประชุมเจ้าหนี้เท่านั้น การจะอนุญาตให้ลูกหนี้ทำกิจการนั้นได้ต้องอยู่ในดุลพินิจของบุคคลดังกล่าว โดยเฉพาะเรื่องนี้ เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ไม่เห็นชอบด้วยในการที่โจทก์จะเข้าไปจัดการทรัพย์สิน และศาลล่างทั้งสองไม่เห็นชอบด้วยการกระทำของโจทก์ ศาลฎีกาไม่เห็นมีเหตุที่ควรจะเปลี่ยนแปลงดุลพินิจในเรื่องนี้ให้เป็นอย่างอื่น

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1855/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การรอนสิทธิเพื่อนบ้านจากสิ่งปลูกสร้างรุกล้ำพื้นที่สาธารณะและการฟ้องละเมิดที่ไม่เป็นการฟ้องซ้ำ
โจทก์เป็นเจ้าของที่ดินโฉนดที่ 3308 อยู่ริมแม่น้ำ โดยซื้อจาก บ. ซึ่ง บ. รับซื้อจาก อ. อีกต่อหนึ่ง ที่ดินแปลงนี้อยู่ติดกับบ้านของจำเลยซึ่งปลูกอยู่ชายตลิ่งแม่น้ำในที่สาธารณสมบัติของแผ่นดิน ตัวเรือนของจำเลยบังหน้าที่ดินของโจทก์ ขัดต่อความสะดวกในการที่โจทก์จะใช้สอยหรือรับประโยชน์จากแม่น้ำลำคลองอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน ดังนี้ถือว่าโจทก์เป็นผู้เสียหายพิเศษ จำเลยจะอ้างว่าโจทก์ไม่เสียหาย เพราะที่ดินโจทก์ใช้เป็นทางเดินจำเป็นแล้ว ย่อมไม่ได้ (อ้างฎีกาที่1095/2500)
พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย พ.ศ.2456 มาตรา 89หาได้ตัดอำนาจโจทก์ที่จะฟ้องร้องจำเลยทางแพ่งเพื่อบังคับตามสิทธิของโจทก์อันมีอยู่ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ไม่
คดีแดงที่ 3425/2504 นั้น ศาลวินิจฉัยในประเด็นที่ว่าจำเลยปลูกเรือนอยู่ได้เพราะบิดาของ อ. โจทก์ในคดีนั้นให้จำเลยเช่า และโจทก์ได้รับรองการเช่าแล้ว โจทก์ในคดีนั้นจึงไม่มีอำนาจที่จะฟ้องขับไล่จำเลย เพราะจำเลยได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติควบคุมการเช่าฯ อันเป็นประเด็นโต้เถียงเกี่ยวกับเรื่องเช่าทรัพย์ ไม่ใช่เรื่องละเมิด ส่วนคดีนี้โจทก์อ้างว่าได้รับซื้อที่ดินโฉนดที่ 3308 จาก บ. โดย บ. ซื้อจาก อ. เป็นโฉนดแบ่งแยกจากโฉนดเลขที่ 2389 คือ ที่ดินที่พิพาทในคดีแดงที่3425/2504. แต่โจทก์คดีนี้มิได้เป็นคู่ความกับจำเลยในคดีแพ่งหมายเลขแดงที่ 3425/2504 จะถือว่าโจทก์เป็นผู้สืบสิทธิมาจากโจทก์ในคดีก่อนก็ไม่ได้ เพราะสัญญาเช่าระหว่างจำเลยกับโจทก์ในคดีก่อนเป็นสัญญาเช่าที่ในแม่น้ำนอกที่ดินที่โจทก์ในคดีนี้ซื้อมา จึงไม่ได้โอนมายังโจทก์พร้อมกับที่ดินที่โจทก์ซื้อ คดีจึงไม่มีประเด็นในเรื่องเช่าทรัพย์ดังในคดีก่อน ประเด็นในคดีนี้คือ โจทก์ให้จำเลยออกไปจากหน้าที่ดิน จำเลยไม่ยอมออก อันเป็นเรื่องละเมิด ฟ้องของโจทก์จึงไม่เป็นฟ้องซ้ำกับคดีแดงที่ 3425/2504

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1855/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การฟ้องขับไล่ละเมิดจากสิ่งปลูกสร้างกีดขวางการใช้ประโยชน์ที่ดินและสาธารณสมบัติ ผู้รับโอนสิทธิไม่เป็นฟ้องซ้ำ
โจทก์เป็นเจ้าของที่ดินโฉนดที่ 3308 อยู่ริมแม่น้ำ โดยซื้อจาก บ. ซึ่ง บ. รับซื้อจาก อ. อีกต่อหนึ่งที่ดินแปลงนี้อยู่ติดกับบ้านของจำเลยซึ่งปลูกอยู่ชายตลิ่งแม่น้ำในที่สาธารณสมบัติของแผ่นดิน ตัวเรือนของจำเลยบังหน้าที่ดินของโจทก์ ขัดต่อความสะดวกในการที่โจทก์จะใช้สอยหรือรับประโยชน์จากแม่น้ำลำคลองอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน ดังนี้ถือว่าโจทก์เป็นผู้เสียหายพิเศษ จำเลยจะอ้างว่าโจทก์ไม่เสียหาย เพราะที่ดินโจทก์ใช้เป็นทางเดินจำเป็นแล้ว ย่อมไม่ได้ (อ้างฎีกาที่1095/2500)
พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย พ.ศ.2456 มาตรา 89 หาได้ตัดอำนาจโจทก์ที่จะฟ้องร้องจำเลยทางแพ่งเพื่อบังคับตามสิทธิของโจทก์อันมีอยู่ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ไม่
คดีแดงที่ 3425/2504 นั้น ศาลวินิจฉัยในประเด็นที่ว่าจำเลยปลูกเรือนอยู่ได้เพราะบิดาของ อ. โจทก์ในคดีนั้นให้จำเลยเช่า และโจทก์ได้รับรองการเช่าแล้ว โจทก์ในคดีนั้นจึงไม่มีอำนาจที่จะฟ้องขับไล่จำเลย เพราะจำเลยได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติควบคุมการเช่าฯ อันเป็นประเด็นโต้เถียงเกี่ยวกับเรื่องเช่าทรัพย์ ไม่ใช่เรื่องละเมิด ส่วนคดีนี้โจทก์อ้างว่าได้รับซื้อที่ดินโฉนดที่ 3308 จาก บ. โดย บ. ซื้อจาก อ. เป็นโฉนดแบ่งแยกจากโฉนดเลขที่ 2389 คือ ที่ดินที่พิพาทในคดีแดงที่3425/2504 แต่โจทก์คดีนี้มิได้เป็นคู่ความกับจำเลยในคดีแพ่งหมายเลขแดงที่ 3425/2504 จะถือว่าโจทก์เป็นผู้สืบสิทธิมาจากโจทก์ในคดีก่อนก็ไม่ได้ เพราะสัญญาเช่าระหว่างจำเลยกับโจทก์ในคดีก่อนเป็นสัญญาเช่าที่ในแม่น้ำนอกที่ดินที่โจทก์ในคดีนี้ซื้อมา จึงไม่ได้โอนมายังโจทก์พร้อมกับที่ดินที่โจทก์ซื้อ คดีจึงไม่มีประเด็นในเรื่องเช่าทรัพย์ดังในคดีก่อน ประเด็นในคดีนี้คือ โจทก์ให้จำเลยออกไปจากหน้าที่ดิน จำเลยไม่ยอมออก อันเป็นเรื่องละเมิด ฟ้องของโจทก์จึงไม่เป็นฟ้องซ้ำกับคดีแดงที่ 3425/2504

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1855/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การรอนสิทธิใช้ประโยชน์ที่ดินริมน้ำของเจ้าของที่ดินจากสิ่งปลูกสร้างบนที่สาธารณสมบัติ การฟ้องไม่เป็นฟ้องซ้ำ
โจทก์เป็นเจ้าของที่ดินโฉนดที่ 3308 อยู่ริมแม่น้ำ โดยซื้อจาก บ. ซึ่ง บ. รับซื้อจาก อ. อีกต่อหนึ่ง.ที่ดินแปลงนี้อยู่ติดกับบ้านของจำเลยซึ่งปลูกอยู่ชายตลิ่งแม่น้ำในที่สาธารณสมบัติของแผ่นดิน ตัวเรือนของจำเลยบังหน้าที่ดินของโจทก์. ขัดต่อความสะดวกในการที่โจทก์จะใช้สอยหรือรับประโยชน์จากแม่น้ำลำคลองอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน. ดังนี้ถือว่าโจทก์เป็นผู้เสียหายพิเศษ. จำเลยจะอ้างว่าโจทก์ไม่เสียหาย. เพราะที่ดินโจทก์ใช้เป็นทางเดินจำเป็นแล้ว. ย่อมไม่ได้ (อ้างฎีกาที่1095/2500).
พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย พ.ศ.2456 มาตรา 89.หาได้ตัดอำนาจโจทก์ที่จะฟ้องร้องจำเลยทางแพ่งเพื่อบังคับตามสิทธิของโจทก์อันมีอยู่ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ไม่.
คดีแดงที่ 3425/2504 นั้น ศาลวินิจฉัยในประเด็นที่ว่าจำเลยปลูกเรือนอยู่ได้เพราะบิดาของ อ. โจทก์ในคดีนั้นให้จำเลยเช่า และโจทก์ได้รับรองการเช่าแล้ว. โจทก์ในคดีนั้นจึงไม่มีอำนาจที่จะฟ้องขับไล่จำเลย. เพราะจำเลยได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติควบคุมการเช่าฯ อันเป็นประเด็นโต้เถียงเกี่ยวกับเรื่องเช่าทรัพย์. ไม่ใช่เรื่องละเมิด. ส่วนคดีนี้โจทก์อ้างว่าได้รับซื้อที่ดินโฉนดที่ 3308 จาก บ. โดย บ. ซื้อจาก อ. เป็นโฉนดแบ่งแยกจากโฉนดเลขที่ 2389 คือ ที่ดินที่พิพาทในคดีแดงที่3425/2504. แต่โจทก์คดีนี้มิได้เป็นคู่ความกับจำเลยในคดีแพ่งหมายเลขแดงที่ 3425/2504. จะถือว่าโจทก์เป็นผู้สืบสิทธิมาจากโจทก์ในคดีก่อนก็ไม่ได้. เพราะสัญญาเช่าระหว่างจำเลยกับโจทก์ในคดีก่อนเป็นสัญญาเช่าที่ในแม่น้ำนอกที่ดินที่โจทก์ในคดีนี้ซื้อมา. จึงไม่ได้โอนมายังโจทก์พร้อมกับที่ดินที่โจทก์ซื้อ. คดีจึงไม่มีประเด็นในเรื่องเช่าทรัพย์ดังในคดีก่อน. ประเด็นในคดีนี้คือ โจทก์ให้จำเลยออกไปจากหน้าที่ดิน จำเลยไม่ยอมออก. อันเป็นเรื่องละเมิด. ฟ้องของโจทก์จึงไม่เป็นฟ้องซ้ำกับคดีแดงที่ 3425/2504.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1815/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การบรรยายฟ้องละเมิด: โจทก์ไม่ต้องระบุเจตนา หากแสดงการละเว้นหน้าที่ชัดเจนและเสียหาย
โจทก์บรรยายฟ้องครบถ้วนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งหรือไม่.แล้วแต่ฟ้องของโจทก์แต่ละกรณีว่าเป็นการแสดงโดยแจ้งชัดซึ่งสภาพแห่งข้อหาและข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาหรือไม่.
การบรรยายฟ้องว่าจำเลยละเมิดโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่ออาจขัดกัน.ไม่ชัดแจ้ง.ในกรณีที่ควรต้องบรรยายให้ชัดแจ้งในทางใดทางหนึ่ง แต่ในบางกรณีก็อาจเข้าใจสภาพแห่งข้อหาได้ชัดแจ้ง.โดยไม่ต้องบรรยายยืนยันโดยตรงมาเช่นนั้น.
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยมีหน้าที่อย่างไร. และจำเลยไม่ปฏิบัติตามหน้าที่นั้น.โดยโจทก์บรรยายว่า นอกจากจำเลยปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริตแล้ว. โจทก์เห็นว่า การกระทำของจำเลยในหน้าที่ยังเป็นการละเมิดให้โจทก์ได้รับความเสียหาย. กล่าวคือ จำเลยมิได้ปฏิบัติตามระเบียบแบบแผนและคำสั่ง ฯลฯ. จำเลยหาได้ปฏิบัติหน้าที่ของแต่ละคนตามข้อบังคับไม่ ฯลฯ. ซึ่งถ้าจำเลยมิได้ฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับและกฎหมายแล้ว. โจทก์จะไม่ได้รับความเสียหายฟ้องของโจทก์ดังนี้. เป็นการแสดงข้ออ้างที่โจทก์อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาว่า.จำเลยละเว้นไม่ปฏิบัติหน้าที่ตามระเบียบข้อบังคับและคำสั่งด้วยประการต่างๆ ตามที่โจทก์อ้างในฟ้อง. ในรูปคดีนี้โจทก์ไม่ต้องบรรยายฟ้องว่า. การละเว้นไม่ปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับและคำสั่งนี้. จำเลยได้กระทำโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ก็เป็นการชัดแจ้งพอแล้ว. เพราะข้อสำคัญอยู่ที่จำเลยได้ละเว้นกระทำตามที่ควรกระทำ. โจทก์ยืนยันต่อไปว่า การละเว้นกระทำนี้เป็นเหตุให้โจทก์ได้รับความเสียหาย เป็นมูลแห่งสิทธิเรียกร้องฐานละเมิด. อันเป็นสภาพแห่งข้อหาของโจทก์โดยชัดแจ้ง แม้โจทก์บรรยายว่าจำเลยจงใจทำละเมิดหรือร่วมกันยักยอกเงินของโจทก์ไปก็เป็นมูลความรับผิดฐานละเมิดอยู่เพียงพอ. และโดยสภาพการกระทำดังที่โจทก์บรรยายนี้แม้จะบรรยายทั้งจงใจหรือประมาทเลินเล่อ. ก็ไม่เคลือบคลุม.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1815/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การบรรยายฟ้องละเมิด: เน้นการละเว้นหน้าที่และความเสียหาย ไม่จำเป็นต้องระบุจงใจหรือประมาทเสมอไป
โจทก์บรรยายฟ้องครบถ้วนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งหรือไม่ แล้วแต่ฟ้องของโจทก์แต่ละกรณีว่าเป็นการแสดงโดยแจ้งชัดซึ่งสภาพแห่งข้อหาและข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาหรือไม่
การบรรยายฟ้องว่าจำเลยละเมิดโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่ออาจขัดกัน ไม่ชัดแจ้ง ในกรณีที่ควรต้องบรรยายให้ชัดแจ้งในทางใดทางหนึ่ง แต่ในบางกรณีก็อาจเข้าใจสภาพแห่งข้อหาได้ชัดแจ้งโดยไม่ต้องบรรยายยืนยันโดยตรงมาเช่นนั้น
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยมีหน้าที่อย่างไร และจำเลยไม่ปฏิบัติตามหน้าที่นั้น โดยโจทก์บรรยายว่า นอกจากจำเลยปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริตแล้ว โจทก์เห็นว่า การกระทำของจำเลยในหน้าที่ยังเป็นการละเมิดให้โจทก์ได้รับความเสียหาย กล่าวคือ จำเลยมิได้ปฏิบัติตามระเบียบแบบแผนและคำสั่ง ฯลฯ จำเลยหาได้ปฏิบัติหน้าที่ของแต่ละคนตามข้อบังคับไม่ ฯลฯ ซึ่งถ้าจำเลยมิได้ฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับและกฎหมายแล้ว โจทก์จะไม่ได้รับความเสียหายฟ้องของโจทก์ดังนี้ เป็นการแสดงข้ออ้างที่โจทก์อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาว่าจำเลยละเว้นไม่ปฏิบัติหน้าที่ตามระเบียบข้อบังคับและคำสั่งด้วยประการต่างๆ ตามที่โจทก์อ้างในฟ้อง ในรูปคดีนี้โจทก์ไม่ต้องบรรยายฟ้องว่า การละเว้นไม่ปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับและคำสั่งนี้ จำเลยได้กระทำโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ก็เป็นการชัดแจ้งพอแล้ว เพราะข้อสำคัญอยู่ที่จำเลยได้ละเว้นกระทำตามที่ควรกระทำ โจทก์ยืนยันต่อไปว่า การละเว้นกระทำนี้เป็นเหตุให้โจทก์ได้รับความเสียหาย เป็นมูลแห่งสิทธิเรียกร้องฐานละเมิด อันเป็นสภาพแห่งข้อหาของโจทก์โดยชัดแจ้ง แม้โจทก์บรรยายว่าจำเลยจงใจทำละเมิดหรือร่วมกันยักยอกเงินของโจทก์ไปก็เป็นมูลความรับผิดฐานละเมิดอยู่เพียงพอ และโดยสภาพการกระทำดังที่โจทก์บรรยายนี้แม้จะบรรยายทั้งจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ก็ไม่เคลือบคลุม

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1815/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การบรรยายฟ้องละเมิด ไม่ต้องระบุเจตนา หากแสดงการละเว้นหน้าที่และเสียหายชัดเจน
โจทก์บรรยายฟ้องครบถ้วนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งหรือไม่แล้วแต่ฟ้องของโจทก์แต่ละกรณีว่าเป็นการแสดงโดยแจ้งชัดซึ่งสภาพแห่งข้อหาและข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาหรือไม่
การบรรยายฟ้องว่าจำเลยละเมิดโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่ออาจขัดกันไม่ชัดแจ้งในกรณีที่ควรต้องบรรยายให้ชัดแจ้งในทางใดทางหนึ่ง แต่ในบางกรณีก็อาจเข้าใจสภาพแห่งข้อหาได้ชัดแจ้งโดยไม่ต้องบรรยายยืนยันโดยตรงมาเช่นนั้น
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยมีหน้าที่อย่างไร และจำเลยไม่ปฏิบัติตามหน้าที่นั้นโดยโจทก์บรรยายว่า นอกจากจำเลยปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริตแล้ว โจทก์เห็นว่า การกระทำของจำเลยในหน้าที่ยังเป็นการละเมิดให้โจทก์ได้รับความเสียหาย กล่าวคือ จำเลยมิได้ปฏิบัติตามระเบียบแบบแผนและคำสั่ง ฯลฯ จำเลยหาได้ปฏิบัติหน้าที่ของแต่ละคนตามข้อบังคับไม่ ฯลฯ ซึ่งถ้าจำเลยมิได้ฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับและกฎหมายแล้ว โจทก์จะไม่ได้รับความเสียหายฟ้องของโจทก์ดังนี้ เป็นการแสดงข้ออ้างที่โจทก์อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาว่าจำเลยละเว้นไม่ปฏิบัติหน้าที่ตามระเบียบข้อบังคับและคำสั่งด้วยประการต่างๆ ตามที่โจทก์อ้างในฟ้อง ในรูปคดีนี้โจทก์ไม่ต้องบรรยายฟ้องว่า การละเว้นไม่ปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับและคำสั่งนี้ จำเลยได้กระทำโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ก็เป็นการชัดแจ้งพอแล้ว เพราะข้อสำคัญอยู่ที่จำเลยได้ละเว้นกระทำตามที่ควรกระทำ โจทก์ยืนยันต่อไปว่า การละเว้นกระทำนี้เป็นเหตุให้โจทก์ได้รับความเสียหาย เป็นมูลแห่งสิทธิเรียกร้องฐานละเมิด อันเป็นสภาพแห่งข้อหาของโจทก์โดยชัดแจ้ง แม้โจทก์บรรยายว่าจำเลยจงใจทำละเมิดหรือร่วมกันยักยอกเงินของโจทก์ไปก็เป็นมูลความรับผิดฐานละเมิดอยู่เพียงพอ และโดยสภาพการกระทำดังที่โจทก์บรรยายนี้แม้จะบรรยายทั้งจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ก็ไม่เคลือบคลุม

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1748/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การบังคับคดีหลังจำเลยเสียชีวิต: ศาลต้องรอทายาทก่อนดำเนินการต่อ
กรณีโต้แย้งในตอนที่คดีถึงที่สุดแล้วอยู่ในระหว่างการบังคับคดี. ไม่ใช่เป็นเรื่องคดีค้างพิจารณา. ซึ่งถ้าหากคู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมรณะ ศาลจะต้องเลื่อนการนั่งพิจารณาไปจนกว่าจะมีผู้เข้ามาเป็นคู่ความแทนที่ผู้มรณะ (อ้างคำสั่งคำร้องฎีกาที่ 65/2492).
ในชั้นบังคับคดี จำเลยแต่งทนายไว้แล้วถึงแก่กรรมลง ในระยะที่เกี่ยวพันติดต่อกัน. เมื่อทนายจำเลยยื่นคำร้องขอให้งดการบังคับคดีไว้. ศาลก็ย่อมผ่อนให้ทนายจำเลยยังพึงมีทางกระทำเพื่อรักษาประโยชน์ให้แก่คู่ความได้ในระหว่างที่ยังไม่มีตัวความ. และเป็นการกระทำที่ไม่ใช่เป็นเรื่องการพิจารณาคดีค้าง.
คดีถึงที่สุดแล้ว หากมีการอุทธรณ์คัดค้านคำสั่งศาลในชั้นบังคับคดี. ก็มีกรณีที่จะต้องตั้งต้นพิจารณาชั้นอุทธรณ์ขึ้นใหม่ในระหว่างคู่ความ. เมื่อปรากฏว่าจำเลยมรณะ ทนายจำเลยย่อมสิ้นสภาพ. การพิจารณาคดีต่อไปจะต้องจัดการให้มีผู้มารับมรดกความเสียก่อน.
การที่ศาลล่างดำเนินกระบวนพิจารณาไปโดยไม่มีคู่ความทั้งสองฝ่ายพร้อมเมื่อคดีขึ้นมาสู่ศาลฎีกา. ศาลฎีกามีอำนาจสั่งให้ดำเนินกระบวนพิจารณาให้ถูกต้องได้.
of 112