พบผลลัพธ์ทั้งหมด 1,113 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1748/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบังคับคดีและการดำเนินกระบวนการเมื่อทนายจำเลยเสียชีวิต - การมีอยู่ของคู่ความ
กรณีโต้แย้งในตอนที่คดีถึงที่สุดแล้วอยู่ในระหว่างการบังคับคดี ไม่ใช่เป็นเรื่องคดีค้างพิจารณา ซึ่งถ้าหากคู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมรณะ ศาลจะต้องเลื่อนการนั่งพิจารณาไปจนกว่าจะมีผู้เข้ามาเป็นคู่ความแทนที่ผู้มรณะ (อ้างคำสั่งคำร้องฎีกาที่ 65/2492)
ในชั้นบังคับคดี จำเลยแต่งทนายไว้แล้วถึงแก่กรรมลง ในระยะที่เกี่ยวพันติดต่อกัน เมื่อทนายจำเลยยื่นคำร้องขอให้งดการบังคับคดีไว้ ศาลก็ย่อมผ่อนให้ทนายจำเลยยังพึงมีทางกระทำเพื่อรักษาประโยชน์ให้แก่คู่ความได้ในระหว่างที่ยังไม่มีตัวความ และเป็นการกระทำที่ไม่ใช่เป็นเรื่องการพิจารณาคดีค้าง
คดีถึงที่สุดแล้ว หากมีการอุทธรณ์คัดค้านคำสั่งศาลในชั้นบังคับคดี ก็มีกรณีที่จะต้องตั้งต้นพิจารณาชั้นอุทธรณ์ขึ้นใหม่ในระหว่างคู่ความเมื่อปรากฏว่าจำเลยมรณะ ทนายจำเลยย่อมสิ้นสภาพ การพิจารณาคดีต่อไปจะต้องจัดการให้มีผู้มารับมรดกความเสียก่อน
การที่ศาลล่างดำเนินกระบวนพิจารณาไปโดยไม่มีคู่ความทั้งสองฝ่ายพร้อมเมื่อคดีขึ้นมาสู่ศาลฎีกา ศาลฎีกามีอำนาจสั่งให้ดำเนินกระบวนพิจารณาให้ถูกต้องได้
ในชั้นบังคับคดี จำเลยแต่งทนายไว้แล้วถึงแก่กรรมลง ในระยะที่เกี่ยวพันติดต่อกัน เมื่อทนายจำเลยยื่นคำร้องขอให้งดการบังคับคดีไว้ ศาลก็ย่อมผ่อนให้ทนายจำเลยยังพึงมีทางกระทำเพื่อรักษาประโยชน์ให้แก่คู่ความได้ในระหว่างที่ยังไม่มีตัวความ และเป็นการกระทำที่ไม่ใช่เป็นเรื่องการพิจารณาคดีค้าง
คดีถึงที่สุดแล้ว หากมีการอุทธรณ์คัดค้านคำสั่งศาลในชั้นบังคับคดี ก็มีกรณีที่จะต้องตั้งต้นพิจารณาชั้นอุทธรณ์ขึ้นใหม่ในระหว่างคู่ความเมื่อปรากฏว่าจำเลยมรณะ ทนายจำเลยย่อมสิ้นสภาพ การพิจารณาคดีต่อไปจะต้องจัดการให้มีผู้มารับมรดกความเสียก่อน
การที่ศาลล่างดำเนินกระบวนพิจารณาไปโดยไม่มีคู่ความทั้งสองฝ่ายพร้อมเมื่อคดีขึ้นมาสู่ศาลฎีกา ศาลฎีกามีอำนาจสั่งให้ดำเนินกระบวนพิจารณาให้ถูกต้องได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1748/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบังคับคดีหลังจำเลยเสียชีวิต: ศาลต้องรอทายาทก่อนพิจารณาคดีต่อ
กรณีโต้แย้งในตอนที่คดีถึงที่สุดแล้วอยู่ในระหว่างการบังคับคดี ไม่ใช่เป็นเรื่องคดีค้างพิจารณา ซึ่งถ้าหากคู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมรณะ ศาลจะต้องเลื่อนการนั่งพิจารณาไปจนกว่าจะมีผู้เข้ามาเป็นคู่ความแทนที่ผู้มรณะ (อ้างคำสั่งคำร้องฎีกาที่ 65/2492)
ในชั้นบังคับคดี จำเลยแต่งทนายไว้แล้วถึงแก่กรรมลง ในระยะที่เกี่ยวพันติดต่อกัน เมื่อทนายจำเลยยื่นคำร้องขอให้งดการบังคับคดีไว้ ศาลก็ย่อมผ่อนให้ทนายจำเลยยังพึงมีทางกระทำเพื่อรักษาประโยชน์ให้แก่คู่ความได้ในระหว่างที่ยังไม่มีตัวความ และเป็นการกระทำที่ไม่ใช่เป็นเรื่องการพิจารณาคดีค้าง
คดีถึงที่สุดแล้ว หากมีการอุทธรณ์คัดค้านคำสั่งศาลในชั้นบังคับคดี ก็มีกรณีที่จะต้องตั้งต้นพิจารณาชั้นอุทธรณ์ขึ้นใหม่ในระหว่างคู่ความ เมื่อปรากฏว่าจำเลยมรณะ ทนายจำเลยย่อมสิ้นสภาพ การพิจารณาคดีต่อไปจะต้องจัดการให้มีผู้มารับมรดกความเสียก่อน
การที่ศาลล่างดำเนินกระบวนพิจารณาไปโดยไม่มีคู่ความทั้งสองฝ่ายพร้อมเมื่อคดีขึ้นมาสู่ศาลฎีกา ศาลฎีกามีอำนาจสั่งให้ดำเนินกระบวนพิจารณาให้ถูกต้องได้
ในชั้นบังคับคดี จำเลยแต่งทนายไว้แล้วถึงแก่กรรมลง ในระยะที่เกี่ยวพันติดต่อกัน เมื่อทนายจำเลยยื่นคำร้องขอให้งดการบังคับคดีไว้ ศาลก็ย่อมผ่อนให้ทนายจำเลยยังพึงมีทางกระทำเพื่อรักษาประโยชน์ให้แก่คู่ความได้ในระหว่างที่ยังไม่มีตัวความ และเป็นการกระทำที่ไม่ใช่เป็นเรื่องการพิจารณาคดีค้าง
คดีถึงที่สุดแล้ว หากมีการอุทธรณ์คัดค้านคำสั่งศาลในชั้นบังคับคดี ก็มีกรณีที่จะต้องตั้งต้นพิจารณาชั้นอุทธรณ์ขึ้นใหม่ในระหว่างคู่ความ เมื่อปรากฏว่าจำเลยมรณะ ทนายจำเลยย่อมสิ้นสภาพ การพิจารณาคดีต่อไปจะต้องจัดการให้มีผู้มารับมรดกความเสียก่อน
การที่ศาลล่างดำเนินกระบวนพิจารณาไปโดยไม่มีคู่ความทั้งสองฝ่ายพร้อมเมื่อคดีขึ้นมาสู่ศาลฎีกา ศาลฎีกามีอำนาจสั่งให้ดำเนินกระบวนพิจารณาให้ถูกต้องได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1740/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การทิ้งฟ้องในชั้นฎีกา ทำให้ศาลสั่งจำหน่ายคดี
จำเลยฎีกาคัดค้านคำพิพากษาศาลอุทธรณ์. แต่ไม่นำส่งสำเนาฎีกาให้แก่โจทก์ภายในกำหนดที่ศาลสั่ง. เป็นการทิ้งฟ้อง ศาลฎีกาจึงต้องสั่งจำหน่ายคดีเสียจากสารบบความ.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1740/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การทิ้งฟ้องคดีฎีกาเนื่องจากไม่นำส่งสำเนาฎีกาให้คู่ความ ทำให้ศาลฎีกาสั่งจำหน่ายคดี
จำเลยฎีกาคัดค้านคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ แต่ไม่นำส่งสำเนาฎีกาให้แก่โจทก์ภายในกำหนดที่ศาลสั่ง เป็นการทิ้งฟ้อง ศาลฎีกาจึงต้องสั่งจำหน่ายคดีเสียจากสารบบความ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1740/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การทิ้งฟ้องในคดีแพ่ง: การไม่ปฏิบัติตามขั้นตอนการส่งสำเนาฎีกาทำให้ศาลจำหน่ายคดี
จำเลยฎีกาคัดค้านคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ แต่ไม่นำส่งสำเนาฎีกาให้แก่โจทก์ภายในกำหนดที่ศาลสั่ง เป็นการทิ้งฟ้อง ศาลฎีกาจึงต้องสั่งจำหน่ายคดีเสียจากสารบบความ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1671/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเข้าเป็นหุ้นส่วนสืบแทนและการเลิกห้างหุ้นส่วนสามัญเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเจ้าของกิจการ
ห้างหุ้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียน ผู้เป็นหุ้นส่วนคนหนึ่งตายผู้เป็นหุ้นส่วนอื่นตกลงยินยอมให้จำเลยบุตรของหุ้นส่วนที่ตายนั้นเข้าเป็นหุ้นส่วนแทน ต่อมาหุ้นส่วนอีกคนหนึ่งตาย ไม่มีใครเข้าเป็นหุ้นส่วนแทน คงดำเนินกิจการของห้างหุ้นส่วนต่อมาระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วนอื่น จนมีเหตุที่จำเลยถือตนเป็นเจ้าของโรงสีของห้างหุ้นส่วนเสียคนเดียว ผู้เป็นหุ้นส่วนอื่นย่อมฟ้องจำเลยขอให้เลิกห้างหุ้นส่วนได้
เมื่อจำเลยเข้าเป็นตัวหุ้นส่วนสืบแทนบิดาแล้ว แม้บิดาจำเลยจะตายมาเกิน 1 ปี ก่อนที่จะมีการฟ้องร้องเลิกห้างหุ้นส่วนและขอแบ่งทรัพย์สิน จำเลยก็ยกอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754 ซึ่งเป็นเรื่องเจ้ามรดกเป็นลูกหนี้ขึ้นต่อสู้ผู้เป็นหุ้นส่วนอื่นไม่ได้
เมื่อจำเลยเข้าเป็นตัวหุ้นส่วนสืบแทนบิดาแล้ว แม้บิดาจำเลยจะตายมาเกิน 1 ปี ก่อนที่จะมีการฟ้องร้องเลิกห้างหุ้นส่วนและขอแบ่งทรัพย์สิน จำเลยก็ยกอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754 ซึ่งเป็นเรื่องเจ้ามรดกเป็นลูกหนี้ขึ้นต่อสู้ผู้เป็นหุ้นส่วนอื่นไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1671/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเข้าเป็นหุ้นส่วนสืบแทนและการเลิกห้างหุ้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียนเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการครอบครองทรัพย์สิน
ห้างหุ้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียน ผู้เป็นหุ้นส่วนคนหนึ่งตายผู้เป็นหุ้นส่วนอื่นตกลงยินยอมให้จำเลยบุตรของหุ้นส่วนที่ตายนั้นเข้าเป็นหุ้นส่วนแทน ต่อมาหุ้นส่วนอีกคนหนึ่งตาย ไม่มีใครเข้าเป็นหุ้นส่วนแทน คงดำเนินกิจการของห้างหุ้นส่วนต่อมาระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วนอื่น จนมีเหตุที่จำเลยถือตนเป็นเจ้าของโรงสีของห้างหุ้นส่วนเสียคนเดียว ผู้เป็นหุ้นส่วนอื่นย่อมฟ้องจำเลยขอให้เลิกห้างหุ้นส่วนได้
เมื่อจำเลยเข้าเป็นตัวหุ้นส่วนสืบแทนบิดาแล้ว แม้บิดาจำเลยจะตายมาเกิน 1 ปี ก่อนที่จะมีการฟ้องร้องเลิกห้างหุ้นส่วนและขอแบ่งทรัพย์สิน จำเลยก็ยกอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754 ซึ่งเป็นเรื่องเจ้ามรดกเป็นลูกหนี้ขึ้นต่อสู้ผู้เป็นหุ้นส่วนอื่นไม่ได้
เมื่อจำเลยเข้าเป็นตัวหุ้นส่วนสืบแทนบิดาแล้ว แม้บิดาจำเลยจะตายมาเกิน 1 ปี ก่อนที่จะมีการฟ้องร้องเลิกห้างหุ้นส่วนและขอแบ่งทรัพย์สิน จำเลยก็ยกอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754 ซึ่งเป็นเรื่องเจ้ามรดกเป็นลูกหนี้ขึ้นต่อสู้ผู้เป็นหุ้นส่วนอื่นไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1671/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเข้าเป็นหุ้นส่วนแทนและการฟ้องเลิกห้างหุ้นส่วน: จำเลยไม่อาจอ้างอายุความเมื่อเข้าเป็นหุ้นส่วนสืบแทน
ห้างหุ้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียน ผู้เป็นหุ้นส่วนคนหนึ่งตาย.ผู้เป็นหุ้นส่วนอื่นตกลงยินยอมให้จำเลยบุตรของหุ้นส่วนที่ตายนั้นเข้าเป็นหุ้นส่วนแทน. ต่อมาหุ้นส่วนอีกคนหนึ่งตาย ไม่มีใครเข้าเป็นหุ้นส่วนแทน. คงดำเนินกิจการของห้างหุ้นส่วนต่อมาระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วนอื่น. จนมีเหตุที่จำเลยถือตนเป็นเจ้าของโรงสีของห้างหุ้นส่วนเสียคนเดียว. ผู้เป็นหุ้นส่วนอื่นย่อมฟ้องจำเลยขอให้เลิกห้างหุ้นส่วนได้.
เมื่อจำเลยเข้าเป็นตัวหุ้นส่วนสืบแทนบิดาแล้ว. แม้บิดาจำเลยจะตายมาเกิน 1 ปี ก่อนที่จะมีการฟ้องร้องเลิกห้างหุ้นส่วนและขอแบ่งทรัพย์สิน. จำเลยก็ยกอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754. ซึ่งเป็นเรื่องเจ้ามรดกเป็นลูกหนี้ขึ้นต่อสู้ผู้เป็นหุ้นส่วนอื่นไม่ได้.
เมื่อจำเลยเข้าเป็นตัวหุ้นส่วนสืบแทนบิดาแล้ว. แม้บิดาจำเลยจะตายมาเกิน 1 ปี ก่อนที่จะมีการฟ้องร้องเลิกห้างหุ้นส่วนและขอแบ่งทรัพย์สิน. จำเลยก็ยกอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754. ซึ่งเป็นเรื่องเจ้ามรดกเป็นลูกหนี้ขึ้นต่อสู้ผู้เป็นหุ้นส่วนอื่นไม่ได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1624/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พินัยกรรมฉบับหลังมีผลเพิกถอนพินัยกรรมฉบับก่อน แม้ลงวันเดือนปีทำพินัยกรรมเดียวกัน หากมีการแก้ไขเพิ่มเติมชื่อผู้รับภายหลัง
พินัยกรรมทั้งฉบับของโจทก์และจำเลยต่างลงวันเดือนปีที่ทำตรงกันคือ วันที่ 12 มกราคม 2502 ของจำเลยนั้น ผู้ทำพินัยกรรมเขียนชื่อผู้รับไว้เรียบร้อยครบถ้วนแล้วแต่วันที่ลงในพินัยกรรม จึงถือเป็นอันสมบูรณ์แต่วันนั้นส่วนพินัยกรรมของโจทก์ปรากฏว่าชื่อผู้รับพินัยกรรมเว้นว่างไว้ เจ้ามรดกเพิ่งกรอกชื่อโจทก์เป็นผู้รับเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2506 จึงถือได้ว่าพินัยกรรมฉบับของโจทก์ได้ทำเสร็จเป็นพินัยกรรมเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2506 อันเป็นวันภายหลังจากพินัยกรรมจำเลย พินัยกรรมของโจทก์จึงเป็นพินัยกรรมฉบับหลังซึ่งมีผลเพิกถอนพินัยกรรมฉบับของจำเลยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1697
พินัยกรรมฉบับของโจทก์ได้เว้นชื่อผู้รับพินัยกรรมว่างไว้ เจ้ามรดกเพิ่งกรอกชื่อโจทก์เป็นผู้รับภายหลัง กรณีเช่นนี้ไม่ใช่เป็นการขูดลบตกเติมหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงพินัยกรรม จึงหาจำเป็นต้องเซ็นชื่อกำกับไว้ไม่
เพียงแต่ผู้เชี่ยวชาญฝ่ายจำเลยแสดงความเห็นไม่สมตามความประสงค์ของจำเลย ไม่เป็นเหตุพอที่จะให้ผู้อื่นตรวจเอกสารหรือเรียกตัวผู้เชี่ยวชาญของจำเลยมาเบิกความในข้อที่ได้แสดงความเห็นไว้ชัดเจนแล้วนั้นอีก
พินัยกรรมฉบับของโจทก์ได้เว้นชื่อผู้รับพินัยกรรมว่างไว้ เจ้ามรดกเพิ่งกรอกชื่อโจทก์เป็นผู้รับภายหลัง กรณีเช่นนี้ไม่ใช่เป็นการขูดลบตกเติมหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงพินัยกรรม จึงหาจำเป็นต้องเซ็นชื่อกำกับไว้ไม่
เพียงแต่ผู้เชี่ยวชาญฝ่ายจำเลยแสดงความเห็นไม่สมตามความประสงค์ของจำเลย ไม่เป็นเหตุพอที่จะให้ผู้อื่นตรวจเอกสารหรือเรียกตัวผู้เชี่ยวชาญของจำเลยมาเบิกความในข้อที่ได้แสดงความเห็นไว้ชัดเจนแล้วนั้นอีก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1624/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ลำดับเวลาพินัยกรรมสำคัญ: พินัยกรรมที่ลงวันเดือนปีเดียวกัน แต่มีการแก้ไขภายหลัง ทำให้พินัยกรรมฉบับหลังมีผลเพิกถอนพินัยกรรมเดิม
พินัยกรรมทั้งฉบับของโจทก์และจำเลยต่างลงวันเดือนปีที่ทำตรงกันคือ วันที่ 12 มกราคม 2502 ของจำเลยนั้น.ผู้ทำพินัยกรรมเขียนชื่อผู้รับไว้เรียบร้อยครบถ้วนแล้วแต่วันที่ลงในพินัยกรรม. จึงถือเป็นอันสมบูรณ์แต่วันนั้นส่วนพินัยกรรมของโจทก์ปรากฏว่าชื่อผู้รับพินัยกรรมเว้นว่างไว้. เจ้ามรดกเพิ่งกรอกชื่อโจทก์เป็นผู้รับเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2506. จึงถือได้ว่าพินัยกรรมฉบับของโจทก์ได้ทำเสร็จเป็นพินัยกรรมเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2506 อันเป็นวันภายหลังจากพินัยกรรมจำเลย. พินัยกรรมของโจทก์จึงเป็นพินัยกรรมฉบับหลังซึ่งมีผลเพิกถอนพินัยกรรมฉบับของจำเลยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1697.
พินัยกรรมฉบับของโจทก์ได้เว้นชื่อผู้รับพินัยกรรมว่างไว้. เจ้ามรดกเพิ่งกรอกชื่อโจทก์เป็นผู้รับภายหลัง. กรณีเช่นนี้ไม่ใช่เป็นการขูดลบตกเติมหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงพินัยกรรม. จึงหาจำเป็นต้องเซ็นชื่อกำกับไว้ไม่.
เพียงแต่ผู้เชี่ยวชาญฝ่ายจำเลยแสดงความเห็นไม่สมตามความประสงค์ของจำเลย. ไม่เป็นเหตุพอที่จะให้ผู้อื่นตรวจเอกสารหรือเรียกตัวผู้เชี่ยวชาญของจำเลยมาเบิกความในข้อที่ได้แสดงความเห็นไว้ชัดเจนแล้วนั้นอีก.
พินัยกรรมฉบับของโจทก์ได้เว้นชื่อผู้รับพินัยกรรมว่างไว้. เจ้ามรดกเพิ่งกรอกชื่อโจทก์เป็นผู้รับภายหลัง. กรณีเช่นนี้ไม่ใช่เป็นการขูดลบตกเติมหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงพินัยกรรม. จึงหาจำเป็นต้องเซ็นชื่อกำกับไว้ไม่.
เพียงแต่ผู้เชี่ยวชาญฝ่ายจำเลยแสดงความเห็นไม่สมตามความประสงค์ของจำเลย. ไม่เป็นเหตุพอที่จะให้ผู้อื่นตรวจเอกสารหรือเรียกตัวผู้เชี่ยวชาญของจำเลยมาเบิกความในข้อที่ได้แสดงความเห็นไว้ชัดเจนแล้วนั้นอีก.