พบผลลัพธ์ทั้งหมด 1,113 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1097/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในที่ดินแปลงเดียวกันที่เคยมีข้อพิพาทถึงที่สุดแล้วย่อมมีผลผูกพันในคดีต่อมา
ที่ดินตามสัญญาซื้อขายเป็นที่ดินแปลงเดียวกับที่ดินซึ่งโจทก์แพ้คดีจำเลยร่วมมาแล้ว แม้จำเลยในคดีนี้จะเป็นบุคคลนอกสัญญาซื้อขาย แต่ก็ปรากฏว่าจำเลยเป็นสามีผู้ซื้อ ผลของการที่ผู้ซื้อได้สิทธิในที่ดินแปลงนี้ย่อมทำให้จำเลยได้รับในฐานะสามีผู้ซื้อเป็นเจ้าของร่วมด้วย เมื่อจำเลยถูกโจทก์ฟ้องเป็นคดีนี้เกี่ยวกับที่ดินแปลงเดียวกัน เท่ากับเป็นการรบกวนสิทธิอย่างหนึ่ง จำเลยจึงขอให้ศาลเรียกจำเลยร่วมเข้ามาเป็นจำเลยร่วมได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 57(3) ซึ่งโจทก์มิได้คัดค้านประการใด กรณีทำให้มีผลเกิดขึ้นว่า จำเลยร่วมต้องรับผิดชอบผูกพันในผลแห่งคดีนี้ด้วยผู้หนึ่ง ดังนั้นจำเลยร่วมจึงชอบที่จะอ้างสิทธิต่างๆ ที่มีอยู่ก่อนเกี่ยวกับที่ดินแปลงนี้ เป็นข้อต่อสู้โจทก์คดีนี้ได้ไม่เป็นขัดต่อบทบัญญัติมาตรา 477 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
โจทก์จำเลยแถลงรับข้อเท็จจริงบางข้อแล้วต่างไม่ขอสืบพยานโดยจำเลยอ้างสำนวนคดีแพ่งคดีก่อนประกอบ ดังนั้น การฟังข้อเท็จจริงในเรื่องสิทธิในที่พิพาทก็ต้องฟังตามข้อวินิจฉัยในสำนวนคดีก่อนเป็นหลักการพิจารณาคดี เมื่อคดีก่อนศาลชี้ขาดว่าที่พิพาทไม่ใช่ที่ที่ ค. ครอบครองทำประโยชน์แล้ว จำเลยร่วม (ซึ่งต่อมาขายที่พิพาทให้ภริยาจำเลย) เข้าจับจองทับเอา คดีถึงที่สุดแล้ว เช่นนี้ ในการวินิจฉัยคดีนี้ก็ต้องยึดถือข้อเท็จจริงที่ศาลชี้ขาดมาแล้ว โจทก์จึงต้องแพ้คดีจำเลย
โจทก์จำเลยแถลงรับข้อเท็จจริงบางข้อแล้วต่างไม่ขอสืบพยานโดยจำเลยอ้างสำนวนคดีแพ่งคดีก่อนประกอบ ดังนั้น การฟังข้อเท็จจริงในเรื่องสิทธิในที่พิพาทก็ต้องฟังตามข้อวินิจฉัยในสำนวนคดีก่อนเป็นหลักการพิจารณาคดี เมื่อคดีก่อนศาลชี้ขาดว่าที่พิพาทไม่ใช่ที่ที่ ค. ครอบครองทำประโยชน์แล้ว จำเลยร่วม (ซึ่งต่อมาขายที่พิพาทให้ภริยาจำเลย) เข้าจับจองทับเอา คดีถึงที่สุดแล้ว เช่นนี้ ในการวินิจฉัยคดีนี้ก็ต้องยึดถือข้อเท็จจริงที่ศาลชี้ขาดมาแล้ว โจทก์จึงต้องแพ้คดีจำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1097/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในที่ดินแปลงเดียวกัน: ผลของคำพิพากษาคดีก่อนมีผลผูกพันคดีหลัง แม้ผู้ซื้อจะมิได้เป็นคู่ความเดิม
ที่ดินตามสัญญาซื้อขายเป็นที่ดินแปลงเดียวกับที่ดินซึ่งโจทก์แพ้คดีจำเลยร่วมมาแล้ว แม้จำเลยในคดีนี้จะเป็นบุคคลนอกสัญญาซื้อขาย แต่ก็ปรากฏว่าจำเลยเป็นสามีผู้ซื้อ ผลของการที่ผู้ซื้อได้สิทธิในที่ดินแปลงนี้ย่อมทำให้จำเลยได้รับในฐานะสามีผู้ซื้อเป็นเจ้าของร่วมด้วย เมื่อจำเลยถูกโจทก์ฟ้องเป็นคดีนี้เกี่ยวกับที่ดินแปลงเดียวกัน เท่ากับเป็นการรบกวนสิทธิอย่างหนึ่ง จำเลยจึงขอให้ศาลเรียกจำเลยร่วมเข้ามาเป็นจำเลยร่วมได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 57 (3) ซึ่งโจทก์มิได้คัดค้านประการใด กรณีทำให้มีผลเกิดขึ้นว่า จำเลยร่วมต้องรับผิดชอบผูกพันในผลแห่งคดีนี้ด้วยผู้หนึ่ง ดังนั้นจำเลยร่วมจึงชอบที่จะอ้างสิทธิต่างๆ ที่มีอยู่ก่อนเกี่ยวกับที่ดินแปลงนี้ เป็นข้อต่อสู้โจทก์คดีนี้ได้ ไม่เป็นขัดต่อบทบัญญัติมาตรา 477 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
โจทก์จำเลยแถลงรับข้อเท็จจริงบางข้อแล้วต่างไม่ขอสืบพยาน โดยจำเลยอ้างสำนวนคดีแพ่งคดีก่อนประกอบ ดังนั้น การฟังข้อเท็จจริงในเรื่องสิทธิในที่พิพาทก็ต้องฟังตามข้อวินิจฉัยในำสำนวนคดีก่อนเป็นหลักการพิจารณาคดี เมื่อคดีก่อนศาลชี้ขาดว่าที่พิพาทไม่ใช่ทีที่ ค. ครอบครองทำประโยชน์แล้วจำเลยร่วม (ซึ่งต่อมาขายที่พิพาทให้ภริยาจำเลย) เข้าขับจองทับเอา คดีถึงที่สุดแล้ว เช่นนี้ ในการวินิจฉัยคดีนี้ก็ต้องยึดถือข้อเท็จจริงที่ศาลชี้ขาดมาแล้ว โจทก์จึงต้องแพ้คดีจำเลย
โจทก์จำเลยแถลงรับข้อเท็จจริงบางข้อแล้วต่างไม่ขอสืบพยาน โดยจำเลยอ้างสำนวนคดีแพ่งคดีก่อนประกอบ ดังนั้น การฟังข้อเท็จจริงในเรื่องสิทธิในที่พิพาทก็ต้องฟังตามข้อวินิจฉัยในำสำนวนคดีก่อนเป็นหลักการพิจารณาคดี เมื่อคดีก่อนศาลชี้ขาดว่าที่พิพาทไม่ใช่ทีที่ ค. ครอบครองทำประโยชน์แล้วจำเลยร่วม (ซึ่งต่อมาขายที่พิพาทให้ภริยาจำเลย) เข้าขับจองทับเอา คดีถึงที่สุดแล้ว เช่นนี้ ในการวินิจฉัยคดีนี้ก็ต้องยึดถือข้อเท็จจริงที่ศาลชี้ขาดมาแล้ว โจทก์จึงต้องแพ้คดีจำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1097/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในที่ดิน: ผลของคำพิพากษาคดีก่อน, การอ้างสิทธิจากคู่สมรส, และการพิจารณาตามสำนวนคดีเก่า
ที่ดินตามสัญญาซื้อขายเป็นที่ดินแปลงเดียวกับที่ดินซึ่งโจทก์แพ้คดีจำเลยร่วมมาแล้ว. แม้จำเลยในคดีนี้จะเป็นบุคคลนอกสัญญาซื้อขาย. แต่ก็ปรากฏว่าจำเลยเป็นสามีผู้ซื้อ. ผลของการที่ผู้ซื้อได้สิทธิในที่ดินแปลงนี้ย่อมทำให้จำเลยได้รับในฐานะสามีผู้ซื้อเป็นเจ้าของร่วมด้วย. เมื่อจำเลยถูกโจทก์ฟ้องเป็นคดีนี้เกี่ยวกับที่ดินแปลงเดียวกัน เท่ากับเป็นการรบกวนสิทธิอย่างหนึ่ง. จำเลยจึงขอให้ศาลเรียกจำเลยร่วมเข้ามาเป็นจำเลยร่วมได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 57(3). ซึ่งโจทก์มิได้คัดค้านประการใด. กรณีทำให้มีผลเกิดขึ้นว่า.จำเลยร่วมต้องรับผิดชอบผูกพันในผลแห่งคดีนี้ด้วยผู้หนึ่ง.ดังนั้นจำเลยร่วมจึงชอบที่จะอ้างสิทธิต่างๆ ที่มีอยู่ก่อนเกี่ยวกับที่ดินแปลงนี้ เป็นข้อต่อสู้โจทก์คดีนี้ได้. ไม่เป็นขัดต่อบทบัญญัติมาตรา 477 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์.
โจทก์จำเลยแถลงรับข้อเท็จจริงบางข้อแล้วต่างไม่ขอสืบพยาน. โดยจำเลยอ้างสำนวนคดีแพ่งคดีก่อนประกอบ. ดังนั้น การฟังข้อเท็จจริงในเรื่องสิทธิในที่พิพาทก็ต้องฟังตามข้อวินิจฉัยในสำนวนคดีก่อนเป็นหลักการพิจารณาคดี. เมื่อคดีก่อนศาลชี้ขาดว่าที่พิพาทไม่ใช่ที่ที่ ค. ครอบครองทำประโยชน์แล้ว.จำเลยร่วม (ซึ่งต่อมาขายที่พิพาทให้ภริยาจำเลย)เข้าจับจองทับเอา คดีถึงที่สุดแล้ว. เช่นนี้ ในการวินิจฉัยคดีนี้ก็ต้องยึดถือข้อเท็จจริงที่ศาลชี้ขาดมาแล้ว. โจทก์จึงต้องแพ้คดีจำเลย.
โจทก์จำเลยแถลงรับข้อเท็จจริงบางข้อแล้วต่างไม่ขอสืบพยาน. โดยจำเลยอ้างสำนวนคดีแพ่งคดีก่อนประกอบ. ดังนั้น การฟังข้อเท็จจริงในเรื่องสิทธิในที่พิพาทก็ต้องฟังตามข้อวินิจฉัยในสำนวนคดีก่อนเป็นหลักการพิจารณาคดี. เมื่อคดีก่อนศาลชี้ขาดว่าที่พิพาทไม่ใช่ที่ที่ ค. ครอบครองทำประโยชน์แล้ว.จำเลยร่วม (ซึ่งต่อมาขายที่พิพาทให้ภริยาจำเลย)เข้าจับจองทับเอา คดีถึงที่สุดแล้ว. เช่นนี้ ในการวินิจฉัยคดีนี้ก็ต้องยึดถือข้อเท็จจริงที่ศาลชี้ขาดมาแล้ว. โจทก์จึงต้องแพ้คดีจำเลย.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1096/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องซ้ำ: ที่ดินพิพาทเคยมีคำพิพากษาถึงที่สุดแล้ว โจทก์ฟ้องซ้ำไม่ได้ แม้จำเลยเปลี่ยนไป
ที่ดินพิพาทเป็นที่ดินแปลงเดียวกับที่ดินของจำเลยร่วมชำระคดีโจทก์. คดีถึงที่สุดแล้ว ฉะนั้น การที่โจทก์นำเรื่องที่ดินรายเดียวกันนั้นมาฟ้องเป็นคดีนี้อีก แม้จะเป็นเพียงที่ส่วนหนึ่งและเปลี่ยนตัวจำเลยจากจำเลยร่วมมาเป็นจำเลยคดีนี้. ก็คงมีประเด็นเพียงว่าที่พิพาทในคดีนี้เป็นของใครเท่านั้น. กรณีเป็นเรื่องที่มีประเด็นซึ่งศาลได้วินิจฉัยมาแล้วโดยเหตุอย่างเดียวกัน. ซึ่งศาลชี้ขาดมาแล้วในสิทธิของที่พิพาทว่าเป็นของจำเลยร่วม. จึงไม่มีประเด็นจะต้องวินิจฉัยซ้ำในเรื่องสิทธิแห่งที่พิพาทอีก.เพราะเป็นฟ้องซ้ำ. และที่ดินรายนี้จำเลยขายให้ภริยาจำเลย. ฐานะของจำเลยแม้จะไม่ใช่คู่สัญญาซื้อขายที่แปลงนี้โดยตรงกับจำเลยร่วมก็จริง.แต่จำเลยเป็นสามีของ ฟ. ภริยาจำเลยคู่สัญญาซื้อขายกับจำเลยร่วม ก็มีสิทธิเป็นเจ้าของร่วมในที่แปลงนี้ด้วย. ในคดีนี้จำเลยร่วมได้ถูกเรียกเข้ามาเป็นจำเลยร่วม ทั้งจำเลยและจำเลยร่วมย่อมชอบที่จะอ้างสิทธิอันมีมาก่อนเป็นข้อต่อสู้ได้โดยชอบ.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1096/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องซ้ำในคดีพิพาทที่ดิน: ศาลยกฟ้องเมื่อประเด็นสิทธิในที่ดินเคยถูกวินิจฉัยเด็ดขาดแล้ว
ที่ดินพิพาทเป็นที่ดินแปลงเดียวกับที่ดินของจำเลยร่วมชำระคดีโจทก์ คดีถึงที่สุดแล้ว ฉะนั้น การที่โจทก์นำเรื่องที่ดินรายเดียวกันนั้นมาฟ้องเป็นคดีนี้อีก แม้จะเป็นเพียงที่ส่วนหนึ่งและเปลี่ยนตัวจำเลยจากจำเลยร่วมมาเป็นจำเลยคดีนี้ ก็คงมีประเด็นเพียงว่าที่พิพาทในคดีนี้เป็นของใครเท่านั้น กรณีเป็นเรื่องที่มีประเด็นซึ่งศาลได้วินิจฉัยมาแล้วโดยเหตุอย่างเดียวกัน ซึ่งศาลชี้ขาดมาแล้วในสิทธิของที่พิพาทว่าเป็นของจำเลยร่วม จึงไม่มีประเด็นจะต้องวินิจฉัยซ้ำในเรื่องสิทธิแห่งที่พิพาทอีกเพราะเป็นฟ้องซ้ำ และที่ดินรายนี้จำเลยขายให้ภริยาจำเลย ฐานะของจำเลยแม้จะไม่ใช่คู่สัญญาซื้อขายที่แปลงนี้โดยตรงกับจำเลยร่วมก็จริง แต่จำเลยเป็นสามีของ ฟ. ภริยาจำเลยคู่สัญญาซื้อขายกับจำเลยร่วม ก็มีสิทธิเป็นเจ้าของร่วมในที่แปลงนี้ด้วย ในคดีนี้จำเลยร่วมได้ถูกเรียกเข้ามาเป็นจำเลยร่วม ทั้งจำเลยและจำเลยร่วมย่อมชอบที่จะอ้างสิทธิอันมีมาก่อนเป็นข้อต่อสู้ได้โดยชอบ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1096/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องซ้ำ: ที่ดินพิพาทเคยมีคำพิพากษาถึงที่สุดแล้ว การฟ้องคดีซ้ำในประเด็นสิทธิเดิมย่อมเป็นฟ้องซ้ำที่ต้องห้าม
ที่ดินพิพาทเป็นที่ดินแปลงเดียวกับที่ดินของจำเลยร่วมชำระคดีโจทก์ คดีถึงที่สุดแล้ว ฉะนั้น การที่โจทก์นำเรื่องที่ดินรายเดียวกันนั้นมาฟ้องเป็นคดีนี้อีก แม้จะเป็นเพียงที่ส่วนหนึ่งและเปลี่ยนตัวจำเลยจากจำเลยร่วมมาเป็นจำเลยคดีนี้ ก็คงมีประเด็นเพียงว่าที่พิพาทในคดีนี้เป็นของใครเท่านั้น กรณีเป็นเรื่องที่มีประเด็นซึ่งศาลได้วินิจฉัยมาแล้วโดยเหตุอย่างเดียวกัน ซึ่งศาลชี้ขาดมาแล้วในสิทธิของที่พิพาทว่าเป็นของจำเลยร่วม จึงไม่มีประเด็นจะต้องวินิจฉัยซ้ำในเรื่องสิทธิแห่งที่พิพาทอีก เพราะเป็นฟ้องซ้ำ และที่ดินรายนี้จำเลยขายให้ภริยาจำเลย ฐานะของจำเลยไม่ใช่คู่สัญญาซื้อขายที่แปลงนี้โดยตรงกับจำเลยร่วมก็จริงแต่จำเลยเป็นสามีของ ฟ. ภริยาจำเลยคู่สัญญาซื้อขายกับจำเลยร่วม ก็มีสิทธิเป็นเจ้าของร่วมในที่ดินแปลงนี้ด้วย ในคดีนี้จำเลยร่วมได้ถูกเรียกเข้ามาเป็นจำเลยร่วม ทั้งจำเลยและจำเลยร่วมย่อมชอบที่จะอ้างสิทธิอันมีมาก่อนเป็นข้อต่อสู้ได้โดยชอบ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1029-1030/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิจารณาคดีมรดกของอิสลาม: การมีส่วนร่วมของดะโต๊ะยุติธรรม และการระงับข้อพิพาท
ข้อที่โจทก์ฟ้องว่าได้ครอบครองที่พิพาทเป็นส่วนสัดเมื่อศาลมิได้ยกขึ้นเป็นประเด็นข้อพิพาท และคู่ความมิได้โต้แย้งย่อมเป็นอันระงับไม่มีข้อพิพาท.
คดีแพ่งระหว่างอิสลามศาสนิกในเขตจังหวัดนราธิวาส. ใช้กฎหมายอิสลามบังคับเฉพาะแต่กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดกซึ่งใช้บังคับแทนบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์.
การพิจารณาคดีในศาลชั้นต้นซึ่งต้องให้ดะโต๊ะยุติธรรมหนึ่งนายนั่งพิจารณาพร้อมด้วยผู้พิพากษา และดะโต๊ะยุติธรรมมีอำนาจหน้าที่ในการวินิจฉัยชี้ขาดข้อกฎหมายอิสลามและลงลายมือชื่อในคำพิพากษาด้วยนั้น. หมายถึงเฉพาะลงลายมือชื่อในคำพิพากษาที่พิพากษาตามคำวินิจฉัยชี้ขาดข้อกฎหมายอิสลาม.
คดีมีประเด็นข้อพิพาททั้งที่เกี่ยวกับข้อกฎหมายอิสลามและไม่เกี่ยวปะปนกัน. เมื่อศาลชั้นต้นพิจารณาพิพากษามาโดยไม่มีดะโต๊ะยุติธรรมร่วม. ย่อมไม่ชอบเฉพาะแต่ข้อพิพาทที่ต้องใช้กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดกเท่านั้น. ศาลอุทธรณ์ชอบที่จะวินิจฉัยประเด็นข้อพิพาทอื่น. ซึ่งมิใช่ข้อกฎหมายอิสลาม. เพราะกระบวนพิจารณาและคำพิพากษาของศาลชั้นต้นในประเด็นข้ออื่นหาเสื่อมเสียไม่. ต่อเมื่อศาลอุทธรณ์วินิจฉัยประเด็นข้ออื่นแล้วคดียังไม่ยุติ. ยังมีประเด็นที่จะต้องวินิจฉัยตามกฎหมายอิสลามต่อไป. จึงจำเป็นที่การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลชั้นต้นในประเด็นดังกล่าวต้องดำเนินตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการใช้กฎหมายอิสลามฯ.
เมื่อศาลอุทธรณ์ด่วนยกคำพิพากษาศาลชั้นต้นโดยไม่วินิจฉัยประเด็นข้ออื่นซึ่งไม่เกี่ยวกับกฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดก. ศาลฎีกาย่อมพิพากษายกคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ ให้ศาลอุทธรณ์พิจารณาพิพากษาคดีใหม่ตามแนวข้อวินิจฉัยของศาลฎีกา.
คดีแพ่งระหว่างอิสลามศาสนิกในเขตจังหวัดนราธิวาส. ใช้กฎหมายอิสลามบังคับเฉพาะแต่กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดกซึ่งใช้บังคับแทนบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์.
การพิจารณาคดีในศาลชั้นต้นซึ่งต้องให้ดะโต๊ะยุติธรรมหนึ่งนายนั่งพิจารณาพร้อมด้วยผู้พิพากษา และดะโต๊ะยุติธรรมมีอำนาจหน้าที่ในการวินิจฉัยชี้ขาดข้อกฎหมายอิสลามและลงลายมือชื่อในคำพิพากษาด้วยนั้น. หมายถึงเฉพาะลงลายมือชื่อในคำพิพากษาที่พิพากษาตามคำวินิจฉัยชี้ขาดข้อกฎหมายอิสลาม.
คดีมีประเด็นข้อพิพาททั้งที่เกี่ยวกับข้อกฎหมายอิสลามและไม่เกี่ยวปะปนกัน. เมื่อศาลชั้นต้นพิจารณาพิพากษามาโดยไม่มีดะโต๊ะยุติธรรมร่วม. ย่อมไม่ชอบเฉพาะแต่ข้อพิพาทที่ต้องใช้กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดกเท่านั้น. ศาลอุทธรณ์ชอบที่จะวินิจฉัยประเด็นข้อพิพาทอื่น. ซึ่งมิใช่ข้อกฎหมายอิสลาม. เพราะกระบวนพิจารณาและคำพิพากษาของศาลชั้นต้นในประเด็นข้ออื่นหาเสื่อมเสียไม่. ต่อเมื่อศาลอุทธรณ์วินิจฉัยประเด็นข้ออื่นแล้วคดียังไม่ยุติ. ยังมีประเด็นที่จะต้องวินิจฉัยตามกฎหมายอิสลามต่อไป. จึงจำเป็นที่การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลชั้นต้นในประเด็นดังกล่าวต้องดำเนินตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการใช้กฎหมายอิสลามฯ.
เมื่อศาลอุทธรณ์ด่วนยกคำพิพากษาศาลชั้นต้นโดยไม่วินิจฉัยประเด็นข้ออื่นซึ่งไม่เกี่ยวกับกฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดก. ศาลฎีกาย่อมพิพากษายกคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ ให้ศาลอุทธรณ์พิจารณาพิพากษาคดีใหม่ตามแนวข้อวินิจฉัยของศาลฎีกา.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1029-1030/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิจารณาคดีมรดกของอิสลาม: การมีส่วนร่วมของดะโต๊ะยุติธรรม, ขอบเขตการบังคับใช้กฎหมายอิสลาม, และประเด็นข้อพิพาทที่ระงับ
ข้อที่โจทก์ฟ้องว่าได้ครอบครองที่พิพาทเป็นส่วนสัดเมื่อศาลมิได้ยกขึ้นเป็นประเด็นข้อพิพาท และคู่ความมิได้โต้แย้งย่อมเป็นอันระงับไม่มีข้อพิพาท
คดีแพ่งระหว่างอิสลามศาสนิกในเขตจังหวัดนราธิวาส ใช้กฎหมายอิสลามบังคับเฉพาะแต่กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดกซึ่งใช้บังคับแทนบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
การพิจารณาคดีในศาลชั้นต้นซึ่งต้องให้ดะโต๊ะยุติธรรมหนึ่งนายนั่งพิจารณาพร้อมด้วยผู้พิพากษา และดะโต๊ะยุติธรรมมีอำนาจหน้าที่ในการวินิจฉัยชี้ขาดข้อกฎหมายอิสลามและลงลายมือชื่อในคำพิพากษาด้วยนั้น หมายถึงเฉพาะลงลายมือชื่อในคำพิพากษาที่พิพากษาตามคำวินิจฉัยชี้ขาดข้อกฎหมายอิสลาม
คดีมีประเด็นข้อพิพาททั้งที่เกี่ยวกับข้อกฎหมายอิสลามและไม่เกี่ยวปะปนกัน เมื่อศาลชั้นต้นพิจารณาพิพากษามาโดยไม่มีดะโต๊ะยุติธรรมร่วม ย่อมไม่ชอบเฉพาะแต่ข้อพิพาทที่ต้องใช้กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดกเท่านั้น ศาลอุทธรณ์ชอบที่จะวินิจฉัยประเด็นข้อพิพาทอื่น ซึ่งมิใช่ข้อกฎหมายอิสลาม เพราะกระบวนพิจารณาและคำพิพากษาของศาลชั้นต้นในประเด็นข้ออื่นหาเสื่อมเสียไม่ ต่อเมื่อศาลอุทธรณ์วินิจฉัยประเด็นข้ออื่นแล้วคดียังไม่ยุติ ยังมีประเด็นที่จะต้องวินิจฉัยตามกฎหมายอิสลามต่อไป จึงจำเป็นที่การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลชั้นต้นในประเด็นดังกล่าวต้องดำเนินตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการใช้กฎหมายอิสลามฯ
เมื่อศาลอุทธรณ์ด่วนยกคำพิพากษาศาลชั้นต้นโดยไม่วินิจฉัยประเด็นข้ออื่นซึ่งไม่เกี่ยวกับกฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดก ศาลฎีกาย่อมพิพากษายกคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ ให้ศาลอุทธรณ์พิจารณาพิพากษาคดีใหม่ตามแนวข้อวินิจฉัยของศาลฎีกา
คดีแพ่งระหว่างอิสลามศาสนิกในเขตจังหวัดนราธิวาส ใช้กฎหมายอิสลามบังคับเฉพาะแต่กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดกซึ่งใช้บังคับแทนบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
การพิจารณาคดีในศาลชั้นต้นซึ่งต้องให้ดะโต๊ะยุติธรรมหนึ่งนายนั่งพิจารณาพร้อมด้วยผู้พิพากษา และดะโต๊ะยุติธรรมมีอำนาจหน้าที่ในการวินิจฉัยชี้ขาดข้อกฎหมายอิสลามและลงลายมือชื่อในคำพิพากษาด้วยนั้น หมายถึงเฉพาะลงลายมือชื่อในคำพิพากษาที่พิพากษาตามคำวินิจฉัยชี้ขาดข้อกฎหมายอิสลาม
คดีมีประเด็นข้อพิพาททั้งที่เกี่ยวกับข้อกฎหมายอิสลามและไม่เกี่ยวปะปนกัน เมื่อศาลชั้นต้นพิจารณาพิพากษามาโดยไม่มีดะโต๊ะยุติธรรมร่วม ย่อมไม่ชอบเฉพาะแต่ข้อพิพาทที่ต้องใช้กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดกเท่านั้น ศาลอุทธรณ์ชอบที่จะวินิจฉัยประเด็นข้อพิพาทอื่น ซึ่งมิใช่ข้อกฎหมายอิสลาม เพราะกระบวนพิจารณาและคำพิพากษาของศาลชั้นต้นในประเด็นข้ออื่นหาเสื่อมเสียไม่ ต่อเมื่อศาลอุทธรณ์วินิจฉัยประเด็นข้ออื่นแล้วคดียังไม่ยุติ ยังมีประเด็นที่จะต้องวินิจฉัยตามกฎหมายอิสลามต่อไป จึงจำเป็นที่การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลชั้นต้นในประเด็นดังกล่าวต้องดำเนินตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการใช้กฎหมายอิสลามฯ
เมื่อศาลอุทธรณ์ด่วนยกคำพิพากษาศาลชั้นต้นโดยไม่วินิจฉัยประเด็นข้ออื่นซึ่งไม่เกี่ยวกับกฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดก ศาลฎีกาย่อมพิพากษายกคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ ให้ศาลอุทธรณ์พิจารณาพิพากษาคดีใหม่ตามแนวข้อวินิจฉัยของศาลฎีกา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1029-1030/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิจารณาคดีมรดกของอิสลาม: ดะโต๊ะยุติธรรมร่วมพิจารณาเฉพาะข้อกฎหมายอิสลาม, ประเด็นอื่นวินิจฉัยได้แม้ไม่มีดะโต๊ะฯ
ข้อที่โจทก์ฟ้องว่าได้ครอบครองที่พิพาทเป็นส่วนสัด เมื่อศาลมิได้ยกขึ้นเป็นประเด็นข้อพิพาท และคู่ความมิได้โต้แย้งย่อมเป็นอันระงับไม่มีข้อพิพาท
คดีแพ่งระหว่างอิสลามศาสนิกในเขตจังหวัดนราธิวาส ใช้กฎหมายอิสลามบังคับเฉพาะแต่กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดกซึ่งใช้บังคับแทนบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
การพิจารณาคดีในศาลชั้นต้นซึ่งต้องให้ดะโต๊ะยุติธรรมหนึ่งนายนั่งพิจารณาพร้อมด้วยผู้พิพากษา และดะโต๊ะยุติธรรมมีอำนาจหน้าที่ในการวินิจฉัยชี้ขาดข้อกฎหมายอิสลามและลงลายมือชื่อในคำพิพากษาด้วยนั้น หมายถึงเฉพาะลงลายมือชื่อในคำพิพากษาที่พิพากษาตามคำวินิจฉัยชี้ขาดข้อกฎหมายอิสลาม
คดีมีประเด็นข้อพิพาททั้งที่เกี่ยวกับข้อกฎหมายอิสลามและไม่เกี่ยวปะปนกัน เมื่อศาลชั้นต้นพิจารณาพิพากษามาโดยไม่มีดะโต๊ะยุติธรรมร่วม ย่อมไม่ชอบเฉพาะแต่ข้อพิพาทที่ต้องใช้กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดกเท่านั้น ศาลอุทธรณ์ชอบที่จะวินิจฉัยประเด็นข้อพิพาทอื่น ซึ่งมิใช่ข้อกฎหมายอิสลาม เพราะกระบวนพิจารณาและคำพิพากษาของศาลชั้นต้นในประเด็นข้ออื่นหาเสื่อมเสียไม่ ต่อเมื่อศาลอุทธรณ์วินิจฉัยประเด็จข้ออื่นแล้วคดียังไม่ยุติ ยังมีประเด็นที่จะต้องวินิจฉัยตามกฎหมายอิสลามต่อไป จึงจำเป็นที่การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลชั้นต้นในประเด็นดังกล่าวต้องดำเนินตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการใช้กฎหมายอิสลามฯ
เมื่อศาลอุทธรณ์ด่วนยกคำพิพากษาศาลชั้นต้นโดยไม่วินิจฉัยประเด็นข้ออื่น ซึ่งไม่เกี่ยวกับกฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดก ศาลฎีกาย่อมพิพากษายกคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ ให้ศาลอุทธรณ์พิจารณาพิพากษาคดีใหม่ตามแนวข้อวินิจฉัยของศาลฎีกา
คดีแพ่งระหว่างอิสลามศาสนิกในเขตจังหวัดนราธิวาส ใช้กฎหมายอิสลามบังคับเฉพาะแต่กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดกซึ่งใช้บังคับแทนบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
การพิจารณาคดีในศาลชั้นต้นซึ่งต้องให้ดะโต๊ะยุติธรรมหนึ่งนายนั่งพิจารณาพร้อมด้วยผู้พิพากษา และดะโต๊ะยุติธรรมมีอำนาจหน้าที่ในการวินิจฉัยชี้ขาดข้อกฎหมายอิสลามและลงลายมือชื่อในคำพิพากษาด้วยนั้น หมายถึงเฉพาะลงลายมือชื่อในคำพิพากษาที่พิพากษาตามคำวินิจฉัยชี้ขาดข้อกฎหมายอิสลาม
คดีมีประเด็นข้อพิพาททั้งที่เกี่ยวกับข้อกฎหมายอิสลามและไม่เกี่ยวปะปนกัน เมื่อศาลชั้นต้นพิจารณาพิพากษามาโดยไม่มีดะโต๊ะยุติธรรมร่วม ย่อมไม่ชอบเฉพาะแต่ข้อพิพาทที่ต้องใช้กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดกเท่านั้น ศาลอุทธรณ์ชอบที่จะวินิจฉัยประเด็นข้อพิพาทอื่น ซึ่งมิใช่ข้อกฎหมายอิสลาม เพราะกระบวนพิจารณาและคำพิพากษาของศาลชั้นต้นในประเด็นข้ออื่นหาเสื่อมเสียไม่ ต่อเมื่อศาลอุทธรณ์วินิจฉัยประเด็จข้ออื่นแล้วคดียังไม่ยุติ ยังมีประเด็นที่จะต้องวินิจฉัยตามกฎหมายอิสลามต่อไป จึงจำเป็นที่การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลชั้นต้นในประเด็นดังกล่าวต้องดำเนินตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการใช้กฎหมายอิสลามฯ
เมื่อศาลอุทธรณ์ด่วนยกคำพิพากษาศาลชั้นต้นโดยไม่วินิจฉัยประเด็นข้ออื่น ซึ่งไม่เกี่ยวกับกฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดก ศาลฎีกาย่อมพิพากษายกคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ ให้ศาลอุทธรณ์พิจารณาพิพากษาคดีใหม่ตามแนวข้อวินิจฉัยของศาลฎีกา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1002/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเช่าทรัพย์หลังถูกยึด: สิทธิเช่าไม่ผูกพันผู้ซื้อจากการบังคับคดี
จำเลยเช่าห้องพิพาทภายหลังที่ห้องพิพาทถูกยึดในการบังคับคดีในคดีก่อนจากลูกหนี้ตามคำพิพากษาในคดีนั้น แม้โจทก์รับโอนห้องพิพาทจากผู้ซื้อในการบังคับคดีภายหลังที่จำเลยได้เช่าห้องพิพาทแล้วดังนี้ ห้องพิพาทได้ถูกยึดและขายโดยไม่มีการเช่าติดไปด้วย จำเลยไม่สามารถอ้างการเช่าขึ้นยันโจทก์และเจ้าพนักงานบังคับคดีผู้ขายห้องพิพาทได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 305 เพราะการเช่าของจำเลยเป็นสิทธิที่ลูกหนี้ตามคำพิพากษาได้ก่อให้เกิดขึ้นในทรัพย์สินภายหลังที่ถูกยึดแล้ว ผู้ซื้อและรับโอนต่อไปจึงได้ทรัพย์สินที่ซื้อไปโดยปลอดจากการเช่าจำเลยจะอ้างประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 569 มาใช้ในกรณีนี้ไม่ได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 305 ไม่ต้องคำนึงว่าจำเลยได้ทำสัญญาเช่าโดยสุจริตหรือไม่