พบผลลัพธ์ทั้งหมด 37 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2016/2500
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบุกรุกที่ดิน: การร้องทุกข์ การงดรอการดำเนินคดี และการนำสืบพฤติการณ์ใหม่เพื่อพิสูจน์การผิดสัญญา
นาแปลงที่จำเลยบุกรุก โจทก์ร่วมได้โอนไปให้บุตรและบุตรไปแจ้ง ส.ค.1 แล้ว โจทก์ร่วมจึงไม่ใช่เจ้าของที่นาดังกล่าว ดังนั้นการร้องทุกข์ของโจทก์ร่วมจึงไม่เป็นการร้องทุกข์ตามกฎหมาย
วันที่ 16 มี.ค. 99 จำเลยเข้าไปบุกรุกยกคันนา นายเชิดผู้เสียหาย (โจทก์ร่วมอีกคนหนึ่ง) ไปแจ้งผู้ใหญ่บ้านผู้ใหญ่บ้านห้ามจำเลยจำเลยว่า "เป็นนาของนายเชิด ผมก็ไม่ทำ" ผู้ใหญ่บ้านถามนายเชิด โจทก์ร่วมว่าจะให้ทำอย่างไรต่อไป นายเชิดว่า" ถ้าเขาหยุดแล้วก็ไม่เอาเรื่อง" ต่อมาวันที่ 3 พ.ค. 99 จำเลยกลับเข้าไปหว่านข้าวในนานั้นอีก นายเชิดจึงไปแจ้งผู้ใหญ่บ้านและอำเภอได้ดำเนินการสอบสวนคดีนี้ แสดงให้เห็นว่าถ้าจำเลยเชื่อฟังนายเชิดก็ไม่เอาเรื่อง ถ้าไม่ฟังก็ต้องเอาเรื่องกันต่อไป ซึ่งเท่ากับให้งดรอการดำเนินคดีของเจ้าพนักงานไว้ชั่วขณะหนึ่งเท่านั้น เมื่อจำเลยกลับเข้าไปทำอีก ผู้เสียหายจึงเอาเรื่องคือให้เจ้าพนักงานดำเนินคดีที่งดรอไว้นั้นเอง ไม่มีทางที่จะให้รับฟังว่าความผิดฐานบุกรุกตอนแรกในวันที่ 16 มี.ค. 99 นั้นเป็นอันสูญสิ้นไปแล้ว
คดีนี้ได้ความว่าจำเลยกระทำผิด 2 คราวคือในวันที่ 16 มี.ค. 99 กับในวันที่ 3 พ.ค. 99 และผู้เสียหายได้ร้องทุกข์ไว้ทั้ง 2 คราว แต่ฟ้องโจทก์ระบุชัดเจนว่าผู้เสียหายร้องทุกข์สำหรับความผิดในตอนแรก (16 มี.ค. 99) เท่านั้น โจทก์จึงไม่ได้กล่าวฟ้องถึงความผิดในตอนหลัง (3 พฤษภาคม 2499) เลย จึงถือว่าโจทก์ไม่ได้ฟ้อง จึงลงโทษจำเลยสำหรับความผิดตอนหลังนี้ไม่ได้ แต่โจทก์มีสิทธิ์ที่จะนำสืบถึงพฤติการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ในตอนหลังคือในวันที่ 3 พฤษภาคม 2499 เพื่อแสดงให้เห็นว่าจำเลยทำผิดคำรับรองในตอนต้น(16 มีนาคม 2499) ซึ่งเป็นข้อความที่เกี่ยวกับประเด็นโดยตรง หาเป็นนอกฟ้องนอกประเด็นไม่ (ประชุมใหญ่ ครั้งที่2/2501)
วันที่ 16 มี.ค. 99 จำเลยเข้าไปบุกรุกยกคันนา นายเชิดผู้เสียหาย (โจทก์ร่วมอีกคนหนึ่ง) ไปแจ้งผู้ใหญ่บ้านผู้ใหญ่บ้านห้ามจำเลยจำเลยว่า "เป็นนาของนายเชิด ผมก็ไม่ทำ" ผู้ใหญ่บ้านถามนายเชิด โจทก์ร่วมว่าจะให้ทำอย่างไรต่อไป นายเชิดว่า" ถ้าเขาหยุดแล้วก็ไม่เอาเรื่อง" ต่อมาวันที่ 3 พ.ค. 99 จำเลยกลับเข้าไปหว่านข้าวในนานั้นอีก นายเชิดจึงไปแจ้งผู้ใหญ่บ้านและอำเภอได้ดำเนินการสอบสวนคดีนี้ แสดงให้เห็นว่าถ้าจำเลยเชื่อฟังนายเชิดก็ไม่เอาเรื่อง ถ้าไม่ฟังก็ต้องเอาเรื่องกันต่อไป ซึ่งเท่ากับให้งดรอการดำเนินคดีของเจ้าพนักงานไว้ชั่วขณะหนึ่งเท่านั้น เมื่อจำเลยกลับเข้าไปทำอีก ผู้เสียหายจึงเอาเรื่องคือให้เจ้าพนักงานดำเนินคดีที่งดรอไว้นั้นเอง ไม่มีทางที่จะให้รับฟังว่าความผิดฐานบุกรุกตอนแรกในวันที่ 16 มี.ค. 99 นั้นเป็นอันสูญสิ้นไปแล้ว
คดีนี้ได้ความว่าจำเลยกระทำผิด 2 คราวคือในวันที่ 16 มี.ค. 99 กับในวันที่ 3 พ.ค. 99 และผู้เสียหายได้ร้องทุกข์ไว้ทั้ง 2 คราว แต่ฟ้องโจทก์ระบุชัดเจนว่าผู้เสียหายร้องทุกข์สำหรับความผิดในตอนแรก (16 มี.ค. 99) เท่านั้น โจทก์จึงไม่ได้กล่าวฟ้องถึงความผิดในตอนหลัง (3 พฤษภาคม 2499) เลย จึงถือว่าโจทก์ไม่ได้ฟ้อง จึงลงโทษจำเลยสำหรับความผิดตอนหลังนี้ไม่ได้ แต่โจทก์มีสิทธิ์ที่จะนำสืบถึงพฤติการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ในตอนหลังคือในวันที่ 3 พฤษภาคม 2499 เพื่อแสดงให้เห็นว่าจำเลยทำผิดคำรับรองในตอนต้น(16 มีนาคม 2499) ซึ่งเป็นข้อความที่เกี่ยวกับประเด็นโดยตรง หาเป็นนอกฟ้องนอกประเด็นไม่ (ประชุมใหญ่ ครั้งที่2/2501)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2016/2500 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบุกรุกที่ดินและการงดรอการดำเนินคดี ความผิดฐานบุกรุกยังคงอยู่แม้จะมีการตกลงไม่ดำเนินคดี
นาแปลงที่จำเลยบุกรุก โจทก์ร่วมได้โอนไปให้บุตรและบุตรไปแจ้ง ส.ค.1 แล้ว โจทก์ร่วมจึงไม่ใช่เจ้าของที่นาดังกล่าว ดังนั้นการร้องทุกข์ของโจทก์ร่วมจึงไม่เป็นการร้องทุกข์ตามกฎหมาย
วันที่ 16 มี.ค.99 จำเลยเข้าไปบุกรุกยกคันนา นายเชิดผู้เสียหาย(โจทก์ร่วมอีกคนหนึ่ง) ไปแจ้งผู้ใหญ่บ้าน ๆ ห้ามจำเลย ๆ ว่า"เป็นนาของนายเชิด ผมก็ไม่ทำ" ผู้ใหญ่บ้านถามนายเชิด โจทก์ร่วมว่าจะให้ทำอย่างไรต่อไป นายเชิดว่า "ถ้าเขาหยุดแล้วก็ไม่เอาเรื่อง" ต่อมาวันที่ 3 พ.ค.99 จำเลยกลับเข้าไปหว่านข้าวในนานั้นอีก นายเชิดจึงไปแจ้งผู้ใหญ่บ้านและนายอำเภอได้ดำเนินการสอบสวนคดีนี้ แสดงให้เห็นว่าถ้าจำเลยเชื่อฟังนายเชิดก็ไม่เอาเรื่อง ถ้าไม่ฟังก็ต้องเอาเรื่องกันต่อไป ซึ่งเท่ากับให้งดรอการดำเนินคดีของเจ้าพนักงานไว้ชั่วขณะหนึ่งเท่านั้น เมื่อจำเลยกลับเข้าไปทำงานอีก ผู้เสียหายจึงเอาเรื่องคือให้เจ้าพนักงานดำเนินคดีที่งดรอไว้นั้นเอง ไม่มีทางที่จะให้รับฟังว่าความผิดฐานบุกรุกตอนแรกในวันที่ 16 มี.ค.99 นั้นเป็นอันสูญสิ้นไปแล้ว
คดีนี้ได้ความว่าจำเลยกระทำผิด 2 คราวคือในวันที่ 16 มี.ค.99 กับในวันที่ 3 พ.ค.99 และผู้เสียหายได้ร้องทุกข์ไว้ทั้ง 2 คราว แต่ฟ้องโจทย์ระบุชัดเจนว่าผู้เสียหายร้องทุกข์สำหรับความผิดในตอนแรก (16 มี.ค.99)เท่านั้น โจทก์จึงไม่ได้กล่าวฟ้องถึงความผิดในตอนหลัง (3 พ.ค.99) เลย จึงถือว่าโจทก์ไม่ได้ฟ้อง จึงลงโทษจำเลยสำหรับความผิดตอนหลังนี้ไม่ได้ แต่โจทก์มีสิทธ์ที่จะนำสืบถึงพฤติการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ในตอนหลังคือ ในวันที่ 3 พ.ค.99 เพื่อแสดงให้เห็นว่าจำเลยทำผิดคำรับรองในตอนต้น ( 16 มี.ค.99 ) ซึ่งเป็นข้อความที่เกี่ยวกับประเด็นโดยตรง หาเป็นนอกฟ้องนอกประเด็นไม่.
( ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 2/2501 )
วันที่ 16 มี.ค.99 จำเลยเข้าไปบุกรุกยกคันนา นายเชิดผู้เสียหาย(โจทก์ร่วมอีกคนหนึ่ง) ไปแจ้งผู้ใหญ่บ้าน ๆ ห้ามจำเลย ๆ ว่า"เป็นนาของนายเชิด ผมก็ไม่ทำ" ผู้ใหญ่บ้านถามนายเชิด โจทก์ร่วมว่าจะให้ทำอย่างไรต่อไป นายเชิดว่า "ถ้าเขาหยุดแล้วก็ไม่เอาเรื่อง" ต่อมาวันที่ 3 พ.ค.99 จำเลยกลับเข้าไปหว่านข้าวในนานั้นอีก นายเชิดจึงไปแจ้งผู้ใหญ่บ้านและนายอำเภอได้ดำเนินการสอบสวนคดีนี้ แสดงให้เห็นว่าถ้าจำเลยเชื่อฟังนายเชิดก็ไม่เอาเรื่อง ถ้าไม่ฟังก็ต้องเอาเรื่องกันต่อไป ซึ่งเท่ากับให้งดรอการดำเนินคดีของเจ้าพนักงานไว้ชั่วขณะหนึ่งเท่านั้น เมื่อจำเลยกลับเข้าไปทำงานอีก ผู้เสียหายจึงเอาเรื่องคือให้เจ้าพนักงานดำเนินคดีที่งดรอไว้นั้นเอง ไม่มีทางที่จะให้รับฟังว่าความผิดฐานบุกรุกตอนแรกในวันที่ 16 มี.ค.99 นั้นเป็นอันสูญสิ้นไปแล้ว
คดีนี้ได้ความว่าจำเลยกระทำผิด 2 คราวคือในวันที่ 16 มี.ค.99 กับในวันที่ 3 พ.ค.99 และผู้เสียหายได้ร้องทุกข์ไว้ทั้ง 2 คราว แต่ฟ้องโจทย์ระบุชัดเจนว่าผู้เสียหายร้องทุกข์สำหรับความผิดในตอนแรก (16 มี.ค.99)เท่านั้น โจทก์จึงไม่ได้กล่าวฟ้องถึงความผิดในตอนหลัง (3 พ.ค.99) เลย จึงถือว่าโจทก์ไม่ได้ฟ้อง จึงลงโทษจำเลยสำหรับความผิดตอนหลังนี้ไม่ได้ แต่โจทก์มีสิทธ์ที่จะนำสืบถึงพฤติการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ในตอนหลังคือ ในวันที่ 3 พ.ค.99 เพื่อแสดงให้เห็นว่าจำเลยทำผิดคำรับรองในตอนต้น ( 16 มี.ค.99 ) ซึ่งเป็นข้อความที่เกี่ยวกับประเด็นโดยตรง หาเป็นนอกฟ้องนอกประเด็นไม่.
( ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 2/2501 )
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 948/2500
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องบุกรุกต้องระบุเจตนาชัดเจน หากขาดรายละเอียดฟ้องไม่ชอบ
คำบรรยายฟ้องหาว่าทำผิดฐานบุกรุกตามกฎหมายลักษณะอาญาม.327 นั้น โจทก์ต้องกล่าวด้วยว่าจำเลยเจตนาจะมิให้ผู้อื่นได้ปกครองทรัพย์หรือเพื่อจะเข้าครอบครองทรัพย์มิฉะนั้นเป็นฟ้องที่ขาดรายละเอียดทำให้จำเลยไม่เข้าใจข้อหาได้ดีพอ(เทียบเคียงฎีกาที่ 912/2492,1549/2493)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 577/2499
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อจำกัดการฟ้องเรียกค่าเสียหายในคดีอาญา: ศาลแพ่งต้องใช้ข้อเท็จจริงจากคำพิพากษาอาญา
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยบุกรุกและทำลายทรัพย์ให้เสียหายรวมเป็นเงิน2,400 บาท ขอให้ลงโทษและเรียกค่าเสียหาย เมื่อศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ฟังว่าที่พิพาทเป็นของฝ่ายจำเลยพิพากษายกฟ้องดังนี้แม้โจทก์จะฎีกาเฉพาะที่เกี่ยวกับส่วนแพ่งอ้างว่าทุนทรัพย์ของโจทก์ที่เรียกร้องมีถึง 2,400 บาทก็ตาม คดีของโจทก์ในส่วนแพ่งก็ไม่มีทางชนะ ได้เพราะในการพิพากษาคดีส่วนแพ่งศาลจำต้องถือข้อเท็จจริงตามที่ปรากฏในคำพิพากษาคดีส่วนอาญาตาม มาตรา46
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2019/2497
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิพากษาคดีอาญาที่ต้องยกฟ้องเนื่องจากข้อเท็จจริงไม่ตรงตามที่กล่าวอ้างในฟ้อง
โจทก์กล่าวในฟ้องว่าจำเลยบุกรุกเข้าไปในเคหสถานของผู้เสียหาย แต่ทางพิจารณาได้ความว่าเคหสถานที่เกิดเหตุนั้นไม่ใช่ของผู้เสียหายศาลก็ต้องยกฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1483-1484/2497
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบุกรุกที่ดินเช่า: เจตนาเข้ายึดครองโดยไม่ได้รับอนุญาต ถือเป็นความผิดฐานบุกรุกตามกฎหมายอาญา
จำเลยรับว่าผู้มีชื่อเช่าที่พิพาทจากวัดและจำเลยได้เข้าไปขุดหลุมตอกหลักในที่พิพาทโดยไม่ได้ขออนุญาตจากผู้เช่าผู้เช่าทักท้วงจำเลยกับพวกก็ไม่ฟัง ดังนี้แม้จำเลยจะเข้าไปทำด้วยความศรัทธาเพื่อปลูกสร้างศาลาธรรมสังเวช เมื่อจำเลยบังอาจยึดถือเอาที่พิพาทปลูกศาลาโดยไม่มีอำนาจตามกฎหมายแต่ประการใด เช่นนี้เรียกว่าเจตนากระทำให้วัดและผู้เช่าครอบครองที่พิพาทโดยไม่ปกติสุข ตามมาตรา 327 และไม่ใช่เป็นการแย่งกรรมสิทธิทางแพ่ง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1483-1484/2497 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบุกรุกที่ดินเช่า แม้มีเจตนาสร้างศาลา แต่กระทำโดยไม่มีอำนาจตามกฎหมาย ถือเป็นการขัดขวางการครอบครอง
จำเลยรับว่าผู้มีชื่อเช่าที่พิพาทจากวัดและจำเลยได้เข้าไปขุดหลุมตอกหลักในที่พิพาทโดยไม่ได้ของอนุญาตจากผู้เช่า ๆ ทักท้วงจำเลยกับพวกก็ไม่ฟัง ดังนี้แม้จำเลยจะเข้าไปทำด้วยความศรัทธาเพื่อปลูกสร้างศาลาธรรมสังเวช เมื่อจำเลยบังอาจยึดถือเอาที่พิพาทปลูกศาลาโดยไม่มีอำนาจตามกฎหมายแต่ประการใด เช่นนี้เรียกว่าเจตนากระทำให้วัดและผู้เช่าครอบครองที่พิพาทโดยไม่ปกติสุข ตามมาตรา 327 และไม่ใช่เป็นการแย่งกรรมสิทธิทางแพ่ง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1166/2496
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในบ่อปลาที่สร้างบนที่สาธารณะ แม้ไม่มีสิทธิในที่ดิน ก็ไม่สามารถรื้อทำลายได้
มีผู้ไปทำบ่อปลาไว้ในที่แปลงหนึ่ง ซึ่งเป็นที่สาธารณะ ดังนี้ แม้ผู้ที่ไปทำบ่อปลาไว้จะไม่มีอำนาจฟ้องผู้ใดหาว่าบุกรุกเข้าไปในที่แปลงนั้นก็ดีแต่ผู้อื่นก็หามีอำนาจอันใดที่จะไปรื้อถอนทำลายบ่อปลาของเขาเสียโดยพลการได้ไม่ ถ้าขืนทำลายอาจเป็นผิดตามกฎหมายลักษณะอาญามาตรา 324 ฐานทำให้เสียทรัพย์ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1486/2495 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบุกรุกที่พิพากษายกฟ้องเนื่องจากเป็นข้อพิพาทเรื่องสัญญาเช่าและสิทธิในทางแพ่ง
โจทก์ฟ้องหาว่า จำเลยบุกรุกห้องเช่าที่ผู้เสียหายเช่ามา ขอให้ลงโทษฐานบุกรุกทางอาญา เมื่อผู้เสียหายแถลงรับว่าจำเลยเป็นภรรยาผู้ให้เช่าและเป็นผู้ดูแลสถานที่ ที่ผู้เสียหายเช่าอยู่ ผู้เสียหายว่าได้เช่าหนึ่งคูหาครึ่ง จำเลยว่าเช่าเพียงหนึ่งคูหา ดังนี้ แม้จะให้สืบพยานต่อไปและได้ความว่า ผู้เสียหายได้เช่าหนึ่งคูหาครึ่ง มิใช่หนึ่งคูหา ดังที่จำเลยกล่าวก็เป็นเรื่องฝ่ายจำเลยมิได้ปฏิบัติตามสัญญาเช่า อันเป็นกรณีแพ่งนั่นเอง ศาลจึงพิพากษายกฟ้องเสียได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1486/2495
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตการเช่าพื้นที่และการฟ้องบุกรุก: กรณีขัดแย้งเรื่องพื้นที่เช่าที่แท้จริงเป็นประเด็นแพ่ง
โจทก์ฟ้องหาว่า จำเลยบุกรุกห้องเช่าที่ผู้เสียหายเช่ามา ขอให้ลงโทษฐานบุกรุกทางอาญา เมื่อผู้เสียหายแถลงรับว่าจำเลยเป็นภรรยาผู้ให้เช่าและเป็นผู้ดูแลสถานที่ที่ผู้เสียหายเช่าอยู่ ผู้เสียหายว่าเช่าเพียงหนึ่งคูหาครึ่ง จำเลยว่าเช่าเพียงหนึ่งคูหา ดังนี้ แม้จะให้สืบพยานต่อไปและได้ความว่า ผู้เสียหายได้เช่าหนึ่งคูหาครึ่งมิใช่หนึ่งคูหาดังที่จำเลยกล่าวก็เป็นเรื่องฝ่ายจำเลยมิได้ปฏิบัติตามสัญญาเช่า อันเป็นกรณีแพ่งนั่นเอง ศาลจึงพิพากษายกฟ้องเสียได้