พบผลลัพธ์ทั้งหมด 12 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 225/2501
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อตกลงเลิกสัญญาเช่าที่ดินโบราณสถานเพื่อสาธารณประโยชน์ ย่อมไม่ขัดต่อกฎหมายควบคุมค่าเช่า หากทำโดยสมัครใจและทราบวัตถุประสงค์
ข้อสัญญาในสัญญาเช่าที่ว่าคู่สัญญาจะยอมเลิกการเช่ากันเมื่อผู้ให้เช่ามีความประสงค์จะใช้ที่เช่านั้นถ้าข้อสัญญานี้ทำขึ้นด้วยความสมัครใจ โดยฝ่ายผู้เช่าได้เห็นสภาพที่เช่าและรู้ความประสงค์ของผู้ให้เช่าดีแล้วจึงยอมตกลงด้วย และข้อตกลงนั้นเกี่ยวกับสาธารณประโยชน์ข้อตกลงเช่นนี้ย่อมไม่ขัดต่อพระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯลฯ ผู้ให้เช่ามีสิทธิบอกเลิกการเช่าตามข้อตกลงนั้นได้
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 7/2501)
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 7/2501)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 225/2501 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อตกลงเลิกสัญญาเช่าที่ดินเพื่อสาธารณประโยชน์ ไม่ขัดต่อ พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่า หากทำด้วยความสมัครใจและทราบถึงวัตถุประสงค์
ข้อสัญญาในสัญญาเช่าที่ว่าคู่สัญญาจะยอมเลิกการเช่ากันเมื่อผู้ให้เช่ามีความประสงค์จะใช้ที่เช่านั้น ถ้าข้อสัญญานี้ทำขึ้นด้วยความสมัครใจ โดยฝ่ายผู้เช่าได้เห็นสภาพที่เช่าและรู้ความประสงค์ของผู้ให้เช่าดีแล้วจึงยอมตกลงด้วย และข้อตกลงนั้นเกี่ยวกับ สาธารณประโยชน์ ข้อตกลงเช่นนี้ย่อมไม่ขัดต่อ พ.ร.บ. ควบคุมค่าเช่า ฯลฯ ผู้ให้เช่ามีสิทธิ์บอกเลิกการเช่าตามข้อตกลงนั้นได้ (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 7/2501)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 86/2501 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การส่งมอบทรัพย์ที่ยกให้ และผลของการรับค่าขนย้ายต่อสิทธิการเช่าภายใต้ พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่า
พฤติการณ์ที่ถือได้ว่าเป็นการส่งมอบทรัพย์ที่ยกให้แก่กัน
การที่ผู้เช่าได้รับค่าขนย้ายไปจากห้องเช่า เป็นการแสดงว่าตกลงยินยอมออกจากห้องเช่า จะอ้างว่าการเช่ายังได้รับความคุ้มครองจาก พ.ร.บ. ควบคุมค่าเช่า ฯ หาได้ไม่
การที่ผู้เช่าได้รับค่าขนย้ายไปจากห้องเช่า เป็นการแสดงว่าตกลงยินยอมออกจากห้องเช่า จะอ้างว่าการเช่ายังได้รับความคุ้มครองจาก พ.ร.บ. ควบคุมค่าเช่า ฯ หาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 33/2501 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเช่าเคหะตามพ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าฯ สัญญาเช่าเดิมใช้ไม่ได้ ผู้ให้เช่าฟ้องขับไล่ไม่ได้
การเช่าโรงเก็บรถนั้น เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ตามคำพยานและสภาพของสถานที่ว่าเช่าเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยก็ถือว่าเป็นการเช่า "เคหะ" ตามความหมายของกฎหมายว่าด้วยการควบคุมค่าเช่าในภาวะคับขัน
แม้สัญญาจะมีถ้อยคำว่า "เช่าโรงรถ"ก็ตาม คู่ความก็ยังนำสืบได้ว่าเมื่อเช่ามาแล้วมิได้ใช้เก็บรถ หากใช้เป็นที่อยู่อาศัยตลอดมาไม่เป็นการสืบแก้ไขเปลี่ยนแปลงเอกสาร
การให้เช่า "เคหะ" ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมค่าเช่านั้น ผู้ให้เช่าจะถือเอาเหตุที่สัญญาสิ้นอายุมาฟ้องขับไล่ผู้เช่าไม่ได้ และผู้ให้เช่าจะได้บอกกล่าวเลิกสัญญาหรือไม่ก็ไม่สำคัญ
ในเรื่องเช่า "เคหะ" ข้อสัญญาที่ว่าเมื่อครบกำหนดสัญญาเช่า ผู้เช่ายอมให้ถือว่าผู้เช่ายินยอมออกจากที่เช่าตาม พ.ร.บ. ควบคุมค่าเช่า ฯลฯ นั้นความยินยอมเช่นว่านี้ใช้บังคับไม่ได้ (เทียบฎีกาที่ 1963 - 1965/2494 ฏีกาที่ 769/2494)
แม้สัญญาจะมีถ้อยคำว่า "เช่าโรงรถ"ก็ตาม คู่ความก็ยังนำสืบได้ว่าเมื่อเช่ามาแล้วมิได้ใช้เก็บรถ หากใช้เป็นที่อยู่อาศัยตลอดมาไม่เป็นการสืบแก้ไขเปลี่ยนแปลงเอกสาร
การให้เช่า "เคหะ" ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมค่าเช่านั้น ผู้ให้เช่าจะถือเอาเหตุที่สัญญาสิ้นอายุมาฟ้องขับไล่ผู้เช่าไม่ได้ และผู้ให้เช่าจะได้บอกกล่าวเลิกสัญญาหรือไม่ก็ไม่สำคัญ
ในเรื่องเช่า "เคหะ" ข้อสัญญาที่ว่าเมื่อครบกำหนดสัญญาเช่า ผู้เช่ายอมให้ถือว่าผู้เช่ายินยอมออกจากที่เช่าตาม พ.ร.บ. ควบคุมค่าเช่า ฯลฯ นั้นความยินยอมเช่นว่านี้ใช้บังคับไม่ได้ (เทียบฎีกาที่ 1963 - 1965/2494 ฏีกาที่ 769/2494)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 33/2501
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเช่าเคหะ: สัญญาเช่าโรงรถใช้เป็นที่อยู่อาศัย ผู้ให้เช่าฟ้องขับไล่ไม่ได้
การเช่าโรงเก็บรถนั้น เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ตามคำพยานและสภาพของสถานที่ว่าเช่าเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยก็ถือว่าเป็นการเช่า 'เคหะ' ตามความหมายของกฎหมายว่าด้วยการควบคุมค่าเช่าในภาวะคับขัน
แม้สัญญาจะมีถ้อยคำว่า 'เช่าโรงรถ' ก็ตามคู่ความก็ยังนำสืบได้ว่าเมื่อเช่ามาแล้วมิได้ใช้เก็บรถหากใช้เป็นที่อยู่อาศัยตลอดมาไม่เป็นการสืบแก้ไขเปลี่ยนแปลงเอกสาร
การให้เช่า 'เคหะ' ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมค่าเช่านั้นผู้ให้เช่าจะถือเอาเหตุที่สัญญาสิ้นอายุมาฟ้องขับไล่ผู้เช่าไม่ได้และผู้ให้เช่าจะได้บอกกล่าวเลิกสัญญาหรือไม่ก็ไม่สำคัญ
ในเรื่องเช่า 'เคหะ' ข้อสัญญาที่ว่าเมื่อครบกำหนดสัญญาเช่า ผู้เช่ายอมให้ถือว่าผู้เช่ายินยอมออกจากที่เช่าตามพระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าในภาวะคับขันนั้น ความยินยอมเช่นว่านี้ใช้บังคับไม่ได้(เทียบฎีกาที่ 1963-1965/2494, ฎีกาที่ 769/2494)
แม้สัญญาจะมีถ้อยคำว่า 'เช่าโรงรถ' ก็ตามคู่ความก็ยังนำสืบได้ว่าเมื่อเช่ามาแล้วมิได้ใช้เก็บรถหากใช้เป็นที่อยู่อาศัยตลอดมาไม่เป็นการสืบแก้ไขเปลี่ยนแปลงเอกสาร
การให้เช่า 'เคหะ' ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมค่าเช่านั้นผู้ให้เช่าจะถือเอาเหตุที่สัญญาสิ้นอายุมาฟ้องขับไล่ผู้เช่าไม่ได้และผู้ให้เช่าจะได้บอกกล่าวเลิกสัญญาหรือไม่ก็ไม่สำคัญ
ในเรื่องเช่า 'เคหะ' ข้อสัญญาที่ว่าเมื่อครบกำหนดสัญญาเช่า ผู้เช่ายอมให้ถือว่าผู้เช่ายินยอมออกจากที่เช่าตามพระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าในภาวะคับขันนั้น ความยินยอมเช่นว่านี้ใช้บังคับไม่ได้(เทียบฎีกาที่ 1963-1965/2494, ฎีกาที่ 769/2494)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 569/2500 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าเพื่อการค้าที่ถูกอ้างว่าเป็นที่อยู่อาศัยเพื่อเลี่ยง พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่า ศาลต้องพิจารณาสภาพที่แท้จริง
การเช่าอสังหาริมทรัพย์ธรรมดาโดยหลักกฎหมายธรรมดา ศาลต้องวินิจฉัยข้อความตามที่ปรากฎในสัญญาเช่า แต่เมื่อการเช่านั้นจำเลยอ้างว่าเช่าอยู่อาศัยได้รับความคุ้มครองตาม พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าในภาวะคับขันฯ ซึ่งเป็นกฎหมายพิเศษคุ้มครองการเช่าเคหะเพื่ออยู่อาศัย ศาลจึงไม่ต้องแปลข้อความในเอกสารการเช่าเพราะกฎหมายไม่ประสงค์ที่จะให้เลี่ยง พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าฯ ศาลต้องวินิจฉัยตามสภาพที่เป็นจริงแห่งการเช่าว่าเป็นการเช่าเพื่ออยู่อาศัยตาม พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าหรือไม่เท่านั้น
เมื่อโจทก์รับว่าจำเลยอยู่อาศัยดังนี้ศาลก็ต้องพิพากษายกฟ้องโจทก์เสียได้แล้ว ไม่ต้องสืบพยานต่อไป การที่ศาลชั้นต้นสั่งอนุญาตให้จำเลยสืบพยานต่อไปได้ คำสั่งเช่นนี้จะเป็นการขัดต่อ ป.วิ. แพ่งมาตรา 87 - 88 หรือไม่นั้น ก็ไม่ทำให้โจทก์ชนะคดีได้ ฎีกาโจทก์ข้อนี้จึงเป็นข้ออ้างที่ไม่เป็นสาระแก่คดีอันควรต้องวินิจฉัยตาม ป.วิ.แพ่งมาตรา 242 (1) และ 147 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติม ป.วิ.แพ่ง (ฉบับที่ 5) มาตรา 22 และ 24
การที่ผู้ให้เช่าพิมพ์ข้อความกล่าวอ้างความยินยอมของผู้เช่าที่จะออกจากห้องเช่าของโจทก์ไว้ล่วงหน้าในสัญญาเช่า เป็นการผูกมัดผู้เช่าเพื่อเลี่ยง พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าฯ จึงไม่ใช่ความยินยอมของผู้เช่าตาม พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าฯ 2489 ม.16 (5)
เมื่อจำเลยดำเนินคดีเองจึงไม่มีค่าทนายที่โจทก์ควรจะต้องใช้แทนจำเลย.
เมื่อโจทก์รับว่าจำเลยอยู่อาศัยดังนี้ศาลก็ต้องพิพากษายกฟ้องโจทก์เสียได้แล้ว ไม่ต้องสืบพยานต่อไป การที่ศาลชั้นต้นสั่งอนุญาตให้จำเลยสืบพยานต่อไปได้ คำสั่งเช่นนี้จะเป็นการขัดต่อ ป.วิ. แพ่งมาตรา 87 - 88 หรือไม่นั้น ก็ไม่ทำให้โจทก์ชนะคดีได้ ฎีกาโจทก์ข้อนี้จึงเป็นข้ออ้างที่ไม่เป็นสาระแก่คดีอันควรต้องวินิจฉัยตาม ป.วิ.แพ่งมาตรา 242 (1) และ 147 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติม ป.วิ.แพ่ง (ฉบับที่ 5) มาตรา 22 และ 24
การที่ผู้ให้เช่าพิมพ์ข้อความกล่าวอ้างความยินยอมของผู้เช่าที่จะออกจากห้องเช่าของโจทก์ไว้ล่วงหน้าในสัญญาเช่า เป็นการผูกมัดผู้เช่าเพื่อเลี่ยง พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าฯ จึงไม่ใช่ความยินยอมของผู้เช่าตาม พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าฯ 2489 ม.16 (5)
เมื่อจำเลยดำเนินคดีเองจึงไม่มีค่าทนายที่โจทก์ควรจะต้องใช้แทนจำเลย.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 569/2500
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเช่าเพื่ออยู่อาศัย พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าฯ และผลของการระบุเงื่อนไขในสัญญาเช่าเพื่อหลีกเลี่ยงกฎหมาย
การเช่าอสังหาริมทรัพย์ธรรมดาโดยหลักกฎหมายธรรมดาศาลต้องวินิจฉัยข้อความตามที่ปรากฏในสัญญาเช่าแต่เมื่อการเช่านั้นจำเลยอ้างว่าเช่าอยู่อาศัยได้รับความคุ้มครองตาม พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าในภาวะคับขันฯ ซึ่งเป็นกฎหมายพิเศษคุ้มครองการเช่าเคหะเพื่ออยู่อาศัยศาลจึงไม่ต้องแปลข้อความในเอกสารการเช่าเพราะกฎหมายไม่ประสงค์ที่จะให้เลี่ยงพ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าฯ ศาลต้องวินิจฉัยตามสภาพที่เป็นจริงแห่งการเช่าว่าเป็นการเช่าเพื่ออยู่อาศัยตามพ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าฯหรือไม่เท่านั้น
เมื่อโจทก์รับว่าจำเลยอยู่อาศัยดังนี้ศาลก็ต้องพิพากษายกฟ้องโจทก์เสียได้แล้ว ไม่ต้องสืบพยานต่อไป การที่ศาลชั้นต้นสั่งอนุญาตให้จำเลยสืบพยานต่อไปได้คำสั่งเช่นนี้จะเป็นการขัดต่อ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 87-88 หรือไม่นั้น ก็ไม่ทำให้โจทก์ชนะคดีได้ ฎีกาโจทก์ข้อนี้ จึงเป็นข้ออ้างที่ไม่เป็นสาระแก่คดีอันควรต้องวินิจฉัยตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 242(1) และ 147 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ 5) มาตรา 22 และ 24
การที่ผู้ให้เช่าพิมพ์ข้อความกล่าวอ้างความยินยอมของผู้เช่าที่จะออกจากห้องเช่าของโจทก์ไว้ล่วงหน้าในสัญญาเช่า เป็นการผูกมัดผู้เช่าเพื่อเลี่ยง พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าฯจึงไม่ใช่ความยินยอมของผู้เช่าตาม พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าฯ 2489 มาตรา16(5)
เมื่อจำเลยดำเนินคดีเองจึงไม่มีค่าทนายที่โจทก์ควรจะต้องใช้แทนจำเลย
เมื่อโจทก์รับว่าจำเลยอยู่อาศัยดังนี้ศาลก็ต้องพิพากษายกฟ้องโจทก์เสียได้แล้ว ไม่ต้องสืบพยานต่อไป การที่ศาลชั้นต้นสั่งอนุญาตให้จำเลยสืบพยานต่อไปได้คำสั่งเช่นนี้จะเป็นการขัดต่อ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 87-88 หรือไม่นั้น ก็ไม่ทำให้โจทก์ชนะคดีได้ ฎีกาโจทก์ข้อนี้ จึงเป็นข้ออ้างที่ไม่เป็นสาระแก่คดีอันควรต้องวินิจฉัยตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 242(1) และ 147 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ 5) มาตรา 22 และ 24
การที่ผู้ให้เช่าพิมพ์ข้อความกล่าวอ้างความยินยอมของผู้เช่าที่จะออกจากห้องเช่าของโจทก์ไว้ล่วงหน้าในสัญญาเช่า เป็นการผูกมัดผู้เช่าเพื่อเลี่ยง พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าฯจึงไม่ใช่ความยินยอมของผู้เช่าตาม พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าฯ 2489 มาตรา16(5)
เมื่อจำเลยดำเนินคดีเองจึงไม่มีค่าทนายที่โจทก์ควรจะต้องใช้แทนจำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1058/2498 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความยินยอมของผู้เช่าตาม พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าฯ และผลกระทบต่อการงดใช้กฎหมาย
โจทก์ฟ้องผู้เช่าโดยอาศัยความยินยอมของจำเลยท้ายสัญญาเช่าว่าครบกำหนดเวลาเช่าแล้วจะออกไปภายใน 6 เดือนและภายในระยะ 6 เดือนนี้จำเลยอยู่ในฐานะผู้อาศัยไม่ใช่ผู้เช่า
เมื่อคดีนี้ได้ความว่าได้เช่ากันมา 10 ปี แล้วไม่ใช่เพียงเข้าไปอยู่และไม่ใช่ทำสัญญาฉบับที่โจทก์ฟ้องนี้เป็นครั้งแรก และได้มีการเปลี่ยนตัวผู้ให้เช่า เหตุส่วนตัวของผู้ให้เช่าคนเก่ากับคนใหม่อาจไม่เหมือนกันทั้งคำว่า "ได้รับความยินยอม" ใน พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่า ฯม. 16(5) นั้นเป็นคำกว้างรวมทั้งความยินยอมที่ให้ใช้เป็นสัญญาด้วย ฉนั้นความยินยอมแก่ผู้ให้เช่าใหม่คดีนี้อาจเป็นความประสงค์เพื่องดใช้พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่า ฯ ดังคำพิพากษาฎีกาที่ 769/2494 ก็ได้ หรืออาจเป็นความยินยอมตาม ม.16 (5) ดังคำพิพากษาฎีกาที่ 1779/2493,803/96 และ 1046-52/2496 ก็ได้ และถ้าผู้เช่าได้ให้ความยินยอมตาม ม. 16(5) แล้วภายหลังกลับใจจะชำระค่าเช่าให้แต่ฝ่ายผู้ให้เช่าไม่ยอมรับก็หาเป็นเหตุให้ความยินยอมที่ผู้เช่าให้ไว้นั้นกลายเป็นความประสงค์จะงดใช้ พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่า ฯไปได้ไม่
เมื่อข้อเท็จจริงในคดียังไม่ได้ความชัดแจ้งพอที่จะฟังว่าเป็นไปในทางใดทางหนึ่งเพราะศาลชั้นต้นสั่งงดพิจารณาเสียดังนี้ ศาลฎีกามีอำนาจให้ศาลชั้นต้นดำเนินการพิจารณาต่อไปแล้วพิพากษาใหม่ตามรูปคดีความ
ฎีกาที่ 1779/2493
ฎีกาที่ 802/2496
ฎีกาที่ 1046-52/2496
เมื่อคดีนี้ได้ความว่าได้เช่ากันมา 10 ปี แล้วไม่ใช่เพียงเข้าไปอยู่และไม่ใช่ทำสัญญาฉบับที่โจทก์ฟ้องนี้เป็นครั้งแรก และได้มีการเปลี่ยนตัวผู้ให้เช่า เหตุส่วนตัวของผู้ให้เช่าคนเก่ากับคนใหม่อาจไม่เหมือนกันทั้งคำว่า "ได้รับความยินยอม" ใน พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่า ฯม. 16(5) นั้นเป็นคำกว้างรวมทั้งความยินยอมที่ให้ใช้เป็นสัญญาด้วย ฉนั้นความยินยอมแก่ผู้ให้เช่าใหม่คดีนี้อาจเป็นความประสงค์เพื่องดใช้พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่า ฯ ดังคำพิพากษาฎีกาที่ 769/2494 ก็ได้ หรืออาจเป็นความยินยอมตาม ม.16 (5) ดังคำพิพากษาฎีกาที่ 1779/2493,803/96 และ 1046-52/2496 ก็ได้ และถ้าผู้เช่าได้ให้ความยินยอมตาม ม. 16(5) แล้วภายหลังกลับใจจะชำระค่าเช่าให้แต่ฝ่ายผู้ให้เช่าไม่ยอมรับก็หาเป็นเหตุให้ความยินยอมที่ผู้เช่าให้ไว้นั้นกลายเป็นความประสงค์จะงดใช้ พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่า ฯไปได้ไม่
เมื่อข้อเท็จจริงในคดียังไม่ได้ความชัดแจ้งพอที่จะฟังว่าเป็นไปในทางใดทางหนึ่งเพราะศาลชั้นต้นสั่งงดพิจารณาเสียดังนี้ ศาลฎีกามีอำนาจให้ศาลชั้นต้นดำเนินการพิจารณาต่อไปแล้วพิพากษาใหม่ตามรูปคดีความ
ฎีกาที่ 1779/2493
ฎีกาที่ 802/2496
ฎีกาที่ 1046-52/2496
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1058/2498 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความยินยอมให้เช่าใหม่และการงดใช้ พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่า สัญญาเช่าเดิมมีผลหรือไม่
โจทก์ฟ้องผู้เช่าโดยอาศัยความยินยอมของจำเลยท้ายสัญญาเช่าว่าครบกำหนดเวลาเช่าแล้วออกไปภายใน 6 เดือน และภายในระยะ 6 เดือนนี้จำเลยอยู่ในฐานะผู้อาศัยไม่ใช่ผู้เช่า
เมื่อคดีนี้ได้ความว่าได้เช่ากันมา 10 ปีแล้วไม่ใช่เพียงเข้าไปอยู่ และไม่ใช่ทำสัญญาฉบับที่โจทก์ฟ้องนี้เป็นครั้งแรก และได้มีการเปลี่ยนตัวผู้ให้เช่าเหตุส่วนตัวของผู้ให้เช่าคนเก่ากับคนใหม่อาจไม่เหมือนกันทั้งคำว่า "ได้รับความยินยอม" ในพระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯมาตรา 16(5)นั้นเป็นคำกว้างรวมทั้งความยินยอมที่ให้ใช้เป็นสัญญาด้วย ฉะนั้นความยินยอมแก่ผู้ให้เช่าใหม่เช่นคดีนี้อาจเป็นความประสงค์เพื่องดใช้ พระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯดังคำพิพากษาฎีกาที่ 769/2494 ก็ได้ หรืออาจเป็นความยินยอมตาม มาตรา 16(5) ดังคำพิพากษาฎีกาที่ 1779/2492,802/96 และ 1046-52/2496ก็ได้ และถ้าผู้เช่าได้ให้ความยินยอมตามมาตรา 16(5) แล้วภายหลังกลับใจจะชำระค่าเช่าให้แต่ฝ่ายผู้ให้เช่าไม่ยอมรับ ก็หาเป็นเหตุให้ความยินยอมที่ผู้เช่าให้ไว้นั้นกลายเป็นความประสงค์จะชดใช้ พระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯ ไปได้ไม่
เมื่อคดีนี้ได้ความว่าได้เช่ากันมา 10 ปีแล้วไม่ใช่เพียงเข้าไปอยู่ และไม่ใช่ทำสัญญาฉบับที่โจทก์ฟ้องนี้เป็นครั้งแรก และได้มีการเปลี่ยนตัวผู้ให้เช่าเหตุส่วนตัวของผู้ให้เช่าคนเก่ากับคนใหม่อาจไม่เหมือนกันทั้งคำว่า "ได้รับความยินยอม" ในพระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯมาตรา 16(5)นั้นเป็นคำกว้างรวมทั้งความยินยอมที่ให้ใช้เป็นสัญญาด้วย ฉะนั้นความยินยอมแก่ผู้ให้เช่าใหม่เช่นคดีนี้อาจเป็นความประสงค์เพื่องดใช้ พระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯดังคำพิพากษาฎีกาที่ 769/2494 ก็ได้ หรืออาจเป็นความยินยอมตาม มาตรา 16(5) ดังคำพิพากษาฎีกาที่ 1779/2492,802/96 และ 1046-52/2496ก็ได้ และถ้าผู้เช่าได้ให้ความยินยอมตามมาตรา 16(5) แล้วภายหลังกลับใจจะชำระค่าเช่าให้แต่ฝ่ายผู้ให้เช่าไม่ยอมรับ ก็หาเป็นเหตุให้ความยินยอมที่ผู้เช่าให้ไว้นั้นกลายเป็นความประสงค์จะชดใช้ พระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯ ไปได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1058/2498
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความยินยอมเลิกสัญญาเช่าและการงดใช้ พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่า การเปลี่ยนแปลงผู้ให้เช่ามีผลต่อความยินยอมหรือไม่
โจทก์ฟ้องผู้เช่าโดยอาศัยความยินยอมของจำเลยท้ายสัญญาเช่าว่าครบกำหนดเวลาเช่าแล้วออกไปภายใน 6 เดือน และภายในระยะ 6 เดือนนี้จำเลยอยู่ในฐานะผู้อาศัยไม่ใช่ผู้เช่า
เมื่อคดีนี้ได้ความว่าได้เช่ากันมา 10 ปีแล้วไม่ใช่เพียงเข้าไปอยู่ และไม่ใช่ทำสัญญาฉบับที่โจทก์ฟ้องนี้เป็นครั้งแรก และได้มีการเปลี่ยนตัวผู้ให้เช่าเหตุส่วนตัวของผู้ให้เช่าคนเก่ากับคนใหม่อาจไม่เหมือนกันทั้งคำว่า "ได้รับความยินยอม" ในพระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯมาตรา 16(5)นั้นเป็นคำกว้างรวมทั้งความยินยอมที่ให้ใช้เป็นสัญญาด้วย ฉะนั้นความยินยอมแก่ผู้ให้เช่าใหม่เช่นคดีนี้อาจเป็นความประสงค์เพื่องดใช้ พระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯดังคำพิพากษาฎีกาที่ 769/2494 ก็ได้ หรืออาจเป็นความยินยอมตาม มาตรา 16(5) ดังคำพิพากษาฎีกาที่ 1779/2492,802/96 และ 1046-52/2496ก็ได้ และถ้าผู้เช่าได้ให้ความยินยอมตามมาตรา 16(5) แล้วภายหลังกลับใจจะชำระค่าเช่าให้แต่ฝ่ายผู้ให้เช่าไม่ยอมรับ ก็หาเป็นเหตุให้ความยินยอมที่ผู้เช่าให้ไว้นั้นกลายเป็นความประสงค์จะชดใช้ พระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯ ไปได้ไม่
เมื่อคดีนี้ได้ความว่าได้เช่ากันมา 10 ปีแล้วไม่ใช่เพียงเข้าไปอยู่ และไม่ใช่ทำสัญญาฉบับที่โจทก์ฟ้องนี้เป็นครั้งแรก และได้มีการเปลี่ยนตัวผู้ให้เช่าเหตุส่วนตัวของผู้ให้เช่าคนเก่ากับคนใหม่อาจไม่เหมือนกันทั้งคำว่า "ได้รับความยินยอม" ในพระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯมาตรา 16(5)นั้นเป็นคำกว้างรวมทั้งความยินยอมที่ให้ใช้เป็นสัญญาด้วย ฉะนั้นความยินยอมแก่ผู้ให้เช่าใหม่เช่นคดีนี้อาจเป็นความประสงค์เพื่องดใช้ พระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯดังคำพิพากษาฎีกาที่ 769/2494 ก็ได้ หรืออาจเป็นความยินยอมตาม มาตรา 16(5) ดังคำพิพากษาฎีกาที่ 1779/2492,802/96 และ 1046-52/2496ก็ได้ และถ้าผู้เช่าได้ให้ความยินยอมตามมาตรา 16(5) แล้วภายหลังกลับใจจะชำระค่าเช่าให้แต่ฝ่ายผู้ให้เช่าไม่ยอมรับ ก็หาเป็นเหตุให้ความยินยอมที่ผู้เช่าให้ไว้นั้นกลายเป็นความประสงค์จะชดใช้ พระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯ ไปได้ไม่